SlideShare a Scribd company logo
1 of 115
การประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
ประจาปี 2562
เทศบาลเมืองลาพูน www.lamphuncity.go.th
เทศบาลเมืองลาพูน
วิสัยทัศน์ ลาพูนเป็ นเมืองเก่าที่มีเสน่ห์มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดี
บนวิถีความพอเพียง
เทศบาลเมืองลาพูน www.lamphuncity.go.th
เทศบาลเมืองลาพูน ตั้งอยู่ในท้องที่อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน อยู่ห่างจาก
กรุงเทพมหานคร ทางรถยนต์ 685 กิโลเมตร ทางรถไฟ 726 กิโลเมตร ลักษณะพื้นที่ของ
เทศบาล ตั้งอยู่บนที่ราบด้านตะวันตกของแม่น้ากวง ซึ่งเป็ นแม่น้าสายสาคัญของลาพูน ใน
อดีตเคยเป็ นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน โดยใช้ชื่อเมือง “หริภุญชัย” โดยมีคูเมือง
ล้อมรอบถึง 15 คูเมือง
โครงสร้างในปัจจุบัน
ของเมือง
เทศบาลเมืองลาพูน www.lamphuncity.go.th
จานวนประชากรและครัวเรือนในเขตเทศบาล ในปี
พ.ศ.2561
• มีจานวนประชากรรวม 12,196 คน
• จานวนครัวเรือน 6,960 ครัวเรือน
• มีชุมชน จานวน 17 ชุมชน
(ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2561)
ข้อมูลประชากรในเขตเทศบาล
เขตพื้นที่เทศบาลเมืองลาพูน
เทศบาลเมืองลาพูนประกอบด้วย
ชุมชน ทั้งหมด 17 ชุมชน
1. ชุมชนประตูลี้
2. ชุมชนสันป่ายางหน่อม
3. ชุมชนมหาวัน
4. ชุมชนจามเทวี
5. ชุมชนสันป่ายางหลวง
6. ชุมชนช่างฆ้อง
7. ชุมชนสันดอนรอม
8. ชุมชุนไก่แก้ว
9. ชุมชนสวนดอก
10. ชุมชนหน้าสถานีรถไ
11. ชุมชนหนองเส้ง
12. ชุมชนพระคงฤาษี
13. ชุมชนบ้านท่า-ท่านาง
14. ชุมชนชัยมงคล
15 ชุมชนศรีบุญเรือง
16. ชุ่มชนท่าขาม-บ้าน่่อม
17. ชุมชนบ้านหลวย
เทศบาลเมืองลาพูน
LAMPHUN MUNICIPALITY
คณะผู้บริหารเทศบาลเมืองลาพูน
นายประภัสร ์ ภู่เจริญ
นายกเทศมนตรีเมืองลาพูน
นางสาวสุทธินี สุริยกุล ณ อยุธยา
รองนายกเทศมนตรี
นายสิริวุฒิ คาธิตา
รองนายกเทศมนตรี
นายอานนท์ ยาวิคา
รองนายกเทศมนตรี
คณะผู้บริหารในส่วนของข้าราชการประจา
นางทานตะวัน อินทร ์จันทร ์
รองปลัดเทศบาลเมืองลาพูน
นายฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
ปลัดเทศบาลเมืองลาพูน
องค์ประกอบของเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
เทศบาลเมืองลาพูน
นวัตกรรมการพัฒนาเมือง โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
องค์ประกอบของ “เมืองอยู่ดี”
กำหนดกำรใช้
ที่ดินตำมบริบท
ของเมือง
การกาหนด
ขอบเขต
พื้นที่เมือง
เก่าลาพูน
กำรพัฒนำเมือง/
ชุมชนตำมผัง
เมือง
รวม
การใช้
กฎหมาย/
การขอ
ความ
ร่วมมือ/การ
ออกแบบ
ก ำ ร พั ฒ น ำ
โ ค ร ง ส ร้ ำ ง
พื้ น ฐ ำ น
ค ร อ บ ค ลุ ม /
เหมำะสม
โครงการ
สาธารณูปโ
ภคใต้ดินฯ
ก ำ ร ย ก ร ะ ดับ
คุณภำพชีวิตผู้มี
ร ำ ย ไ ด้น้อ ย /
ผู้ด้อยโอกำส
โครงการ
สวัสดิการ
สงเคราะห์
และ
ช่วยเหลือ
ประชาชน
ก ำ ร น ำ ห ลั ก
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
พอเพียงใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
ส่งเสริม/
สนับสนุนให้
ประชาชน
สร้างรายได้
กำรจัดกำรภัย
พิ บั ติ แ ล ะ ส ำ
ธำรณภัย
การรองรับ
ภาวะฉุกเฉิน
และภัยพิบัติ
กำรป้องกันและ
ดู แ ล ค ว ำ ม
ปลอดภัยในชีวิต
และทรัพย์สิน
ติดตั้งไฟฟ
้ า
สาธารณะ
บนถนนสาย
หลักและจุด
เสี่ยง
1 4
3
2 7
6
5
องค์ประกอบของ “คนมีสุข”
การ
เสริมสร้าง
สุขภาพที่ดี
ของคนใน
เมือง
8
การ
ส่งเสริม
การศึกษา
อย่าง
หลากหลา
ยและเท่า
เทียม
10
การ
คุ้มครอง
สุขภาพ
อนามัย
9
การป้ องกัน
และแก้ไข
ปัญหาสุรา
บุหรี่ ยา
เสพติด
และ
อบายมุข
12
การจัด
สวัสดิการ
ที่
ตอบสนอง
ความ
ต้องการ
ของชุมชน
1
1
การ
อนุรักษ์
ประเพณี
วัฒนธรรม
และภูมิ
ปัญญา
ท้องถิ่น
16
การพิทักษ์
สิทธิของ
เยาวชน
สตรี
ผู้สูงอายุ ผู้
พิการและ
ผู้ด้อยโอกา
ส
15
การส่งเสริม
กิจกรรมทาง
สังคมเพื่อให้
ประชาชนมี
ส่วนร่วม
14
การส่งเสริม
ความสัมพันธ ์ของ
สมาชิกใน
ครอบครัว ความ
สามัคคีและเอื้อ
อาทรระหว่างคน
ในชุมชน
1
3
องค์ประกอบของ “สิ่งแวดล้อมยั่งยืน”
การดูแล
รักษาและใช้
ประโยชน์
ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ให้คงไว้ซึ่ง
ระบบนิเวศที่
ดี
โครงการ
กาจัด
ผักตบชวา
และวัชพืช
ในแหล่งน้า
การจัดการ
ขยะมูลฝอย
ชุมชนอย่าง
ครบวงจร
และ
เหมาะสม
การ
ดาเนินการ
ตามนโยบาย
“จังหวัด
สะอาด”
การจัดการ
น้าเสียหรือ
มลพิษทาง
อากาศอย่าง
เหมาะสม
การจัดการ
น้าเสีย/เทศ
บัญญัติ
ติดตั้งบ่อดัก
ไขมันใน
อาคาร ฯลฯ
การอนุรักษ์
และพัฒนา
พื้นที่สีเขียว
ให้เกิด
ประโยชน์ต่อ
การ
ดารงชีวิต
จัดทาบัญชี
พื้นที่สีเขียว/
ดูแล
ปรับปรุงภูมิ
ทัศน์ สวน คู
เมือง ร่วมกับ
เรือนจา
การปรับภูมิ
ทัศน์เมืองให้
มีความ
สวยงามและ
สอดคล้อง
กับสภาพ
เมือง
โครงการ
ปรับปรุงภูมิ
ทัศน์ /
สาธารณูปโ
ภคใต้ดิน ฯ
การส่งเสริม
การผลิต
การบริการ
และการ
บริโภคที่เป็ น
มิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
โครงการ
สานักงานสี
เขียว /Q
Market Q
Restaurant
การส่งเสริม
การใช้
พลังงานและ
น้าอย่างมี
ประสิทธิภา
พ
จัดทาบัญชี
ข้อมูลก๊าซ
เรือนกระจก
ระดับองค์กร/
ระดับเมือง
1
7
2
0
1
9
1
8
2
3
2
2
2
1
การกาหนด
วิสัยทัศน์และ
ยุทธศาสตร ์
พร้อม
เปลี่ยนแปลง
ไปสู่การ
ปฏิบัติอย่าง
เป็ นรูปธรรม
2
4
การจัดทา
แผนพัฒนา
ท้องถิ่นสี่ปี
(พ.ศ.2561 –
2564)
การพัฒนา
ศักยภาพ
บุคลากรให้มี
ความรอบรู ้
และ
เชี่ยวชาญใน
งานที่
รับผิดชอบ
2
5
โครงการ
อบรมสัมมนา
พนักงาน
เทศบาล
พนักงานครู
เทศบาล และ
การสร้าง
องค์กรเป็ น
องค์กรแห่ง
การเรียนรู ้
2
6
จัดให้มีการ
ประชุม
แลกเปลี่ยน
แนวคิดในการ
ปฏิบัติงาน
ของแต่ละกอง
โดยผ่านการ
การสนับสนุน
ให้เกิด
สภาพแวดล้อ
มและ
บรรยากาศใน
การทางานที่
เอื้อต่อ
คุณภาพชีวิต
ที่ดี
2
7
เข้าร่วม
โครงการ
สานักงานสี
เขียว กับกรม
ส่งเสริม
คุณภาพ
การส่งเสริมให้
ผู้บริหารและ
บุคลากรมี
คุณธรรม
จริยธรรมใน
การบริหารและ
ทางานตาม
มาตรฐาน
คุณธรรม
จริยธรรมของ
องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
2
8
คู่มือการ
ปฏิบัติงานเพื่อ
ป้ องกัน
ผลประโยชน์
ทับซ้อน
การมี
กระบวนการ
ตอบสนองต่อ
การให้บริการ
ขอรับบริการ
และจัดการข้อ
ร้องเรียนของ
ประชาชน
อย่างครบถ้วน
เป็ นระบบ
2
9
คู่มือสาหรับ
ประชาชน
เทศบาลเมือง
ลาพูน
องค์ประกอบของ “เมืองแห่งการเรียนรู ้และการ
บริหารจัดการที่ดี”
การเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสาร
และผลงาน
ของเทศบาล
3
0
 การจัดตั้ง
ศูนย์ข้อมูล
ข่าวสาร
 การจัดให้มี
ช่องทาง
ประจา
สาหรับ
เผยแพร่
ข้อมูล
ข่าวสาร
ขององค์กร
ความร่วมมือ
ในการ
ดาเนินงานกับ
หน่วยงานอื่น
3
1
เทศบาลเมือง
ลาพูนมีการ
ดาเนินงานโดย
ได้รับความ
ร่วมมือจาก
ภาคีเครือข่าย
ครบทั้ง 4 กลุ่ม
ได้แก่ องค์กร
ปกครองส่วน
ท้องถิ่นต่างๆ
หน่วยงาน
การจัดเก็บ
รายได้ให้ได้
ตาม
เป้ าหมาย
การลด
รายจ่าย หรือ
ความ
พยายามใน
การหารายได้
อื่น
3
2
การ
ประชาสัมพันธ ์
หลักเกณฑ์การ
จัดเก็บภาษีให้
ประชาชน
ทราบผ่านทาง
ความ
พยายามใน
การใช้
งบประมาณ
ให้เป็ นไป
ตามที่
คาดการณ์
และมีเหตุผล
อันควรใน
การโอน
งบประมาณ
3
3
มีการวางแผน
และกาหนด
งบประมาณ
นวัตกรรมการ
พัฒนาเมือง
3
4
โครงการ
พัฒนาและ
ปรับปรุงภูมิ
ทัศน์พื้นที่
มรดกทาง
วัฒนธรรม
เมืองลาพูน
(สาธารณูปโภค
ใต้ดินเพื่อการ
่
องค์ประกอบของ “เมืองแห่งการเรียนรู ้และการ
บริหารจัดการที่ดี”
เทศบาลเมืองลาพูน www.lamphuncity.go.th
นวัตกรรมการพัฒนาเมือง
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
เมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
เมืองลาพูนถือเป็นเมืองที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
อย่างยาวนาน ทั้งในปัจจุบันยังคงหลงเหลือร่องรอยของมรดกทาง
วัฒนธรรมทั้งในด้านกายภาพ ชุมชน ภูมิปัญญา ที่ยังคงมีชีวิต
นาไปสู่การบูรณาการผลลัพธ์ของโครงการในพื้นที่ โดยมุ่งเน้นการ
สร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ด้วยแนวทางที่
เหมาะสมร่วมสมัยบนพื้นฐานของการอนุรักษ์เมืองที่เต็มไปด้วย
มรดกทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นแนวทางในการ
อนุรักษ์เมืองเก่าให้สามารถคงคุณค่าอยู่ได้ภายใต้กระแสการ
พัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป
ประกาศเขต
เมืองเก่า
“เมืองเก่า” หมายถึง เมืองหรือบริเวณของ
เมืองที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะแห่งสืบต่อมาแต่กาลก่อน
หรือมีลักษณะเป็ นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น
หรือมีลักษณะจาเพาะของสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร ์ มี
คุณค่าทางศิลปะ โบราณคดีหรือประวัติศาสตร ์เป็ นมรดก
ทางวัฒนธรรมอันล้าค่าของชาติ และการรักษาคุณค่า
และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเมืองเก่าไว้ เอื้อ
ต่อการพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มี
ความโดดเด่นของประเทศ สิ่งก่อสร้างและองค์ประกอบ
เมืองที่สะท้อนความเป็ นเอกลักษณ์ของเมืองเก่ามี
ศักยภาพสูงในการส่งเสริมให้เป็ นแหล่งเรียนรู ้ที่น่ า
ภาคภูมิใจของชุมชน สามารถเสริมสร้างคุณค่าทาง
ความเข้าใจเกี่ยวกับเมืองเก่าของประเทศไทย
กาแพง
เมือง-คู
เมือง
ป้อม
โครงข่าย
คมนาคม
ในเมืองเก่า
ที่หมายตา
ในบริเวณ
เมืองเก่า
ธรรมชาติ
ในเมืองเก่า
องค์ประกอบของเมืองเก่า
องค์ประกอบของเมืองเก่า
ขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าลาพูน
1. พื้นที่หลัก
วิสัยทัศน์ เมืองเก่าลาพูน
“ เมืองน่าอยู่ มีองค์การบริหารจัดการที่สามารถประสาน
การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนดาเนินการพัฒนาเชิงอนุรักษ์อย่างมี
ประสิทธิภาพเพื่อให้เมืองเก่าลาพูนดารงคุณค่าความเป็นเมือง
ประวัติศาสตร์ เมืองศิลปวัฒนธรรม รักษาเอกลักษณ์มรดกทาง
วัฒนธรรมหริภุญไชยและดารงความสมดุลของ
ระบบนิเวศน์เมืองไว้ได้อย่างยั่งยืน”
เมืองเก่าลาพูน
เมืองเก่าลาพูน
แผนที่ตัวเมืองลำพูนในอดีต ปี พ.ศ.2442 ภำพถ่ำยทำงอำกำศเมืองลำพูน ปี พ.ศ.2492
กาแพงเมืองลาพูนในอดีต
คูเมืองลาพูน
วัดพระธาตุหริภุญชัยในอดีต
อาคารเก่า/บ้านเก่า
เทศบาลเมืองลาพูน มีการพัฒนาเมืองตาม
แผนปฏิบัติการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
ดาเนินการผ่านทางโครงการต่างๆ
ดังต่อไปนี้
การพัฒนาตามแผนและผังแม่บทการอนุรักษ์เมืองเก่าลาพูนใน
ยุทธศาสตร ์3 ด้าน
1.ยุทธศาสตร ์การพัฒนา
กลไกและกระบวนการ
บริหารจัดการเมืองเก่า
2.การฟื้นฟู ดูแลรักษาแหล่ง
มรดกทางวัฒนธรรมและ
ภูมิทัศน์เมืองเก่าลาพูน
3.ส่งเสริมกระบวนการ
เรียนรู ้ และรักษาเมืองเก่า
ให้เป็ นแหล่งเรียนรู ้
ยุทธศาสตร ์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
2.กำรอนุรักษ์บ้ำน
เก่ำ เรือนพื้นถิ่น
สถำปัตยกรรมวัด
หอศิลป์ ร่วมสมัย
1.กำรสร้ำง
จิตสำนึกในกำร
อนุรักษ์เมืองเก่ำ
ลำพูน
3.กำรปรับปรุง
ภูมิทัศน์ทำง
วัฒนธรรม
4.พัฒนำโครงข่ำย
กำรเดินทำงในเขต
เมือง
6.กำรฟื้นฟู
ช่ำงฝีมือท้องถิ่น
และกำรเพิ่มมูลค่ำ
สินค้ำ
7.กำรนำเทคโนโลยี
สำรสนเทศมำใช้ใน
กำรเผยแพร่องค์
ควำมรู้
5.กำรจัดกำรกำร
ท่องเที่ยวเมืองเก่ำให้
เหมำะสมกับพื้นที่
การเป็ นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
แผนแม่บทและผังแม่บทการพัฒนาเมืองเก่า
ลาพูน
1. พัฒนากลไกและ
กระบวนการบริหาร
จัดการเมืองเก่าลาพูน
2. ฟื้นฟู ดูแลรักษามรดกทาง
วัฒนธรรมและภูมิทัศน์เมือง
เก่าลาพูน
3. ส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู ้
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(โครงการสาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
นวัตกรรมการพัฒนาเมือง
ดาเนินการภายใต้แผนแม่บทและผังแม่บท การ
พัฒนาเมืองเก่าลาพูน
 โดยการดาเนินการภายใต้แผนและผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
ของเทศบาลเมืองลาพูนได้สอดคล้องกับองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบของการ
ดาเนินการเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน คือ 1.เมืองอยู่ดี 2.คนมีสุข 3.
สิ่งแวดล้อมยั่งยืน 4.เทศบาลแห่งการเรียนรู ้และการบริหาร
จัดการที่ดี นาไปสู่การเติบโต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการอนุรักษ์
ประเพณี วัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน ส่งเสริมการประกอบอาชีพเพื่อสร้างฐานเศรษฐกิจ
ดูแลด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ดาเนินงานทางด้านสาธารณสุขทั้งเชิงรับ
และเชิงรุก ด้วยพหุลักษณ์ทางการแพทย์ ดูแลสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ เพื่อให้
ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
นวัตกรรม : โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทาง
วัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
นวัตกรรม มีความสอดคล้อง
กับองค์ประกอบ 4 ด้านของเกณฑ์ประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
• ตัวชี้วัดที่ 21 กำรปรับภูมิทัศน์เมืองให้
มีควำมสวยงำมและสอดคล้องกับ
สภำพเมือง
• ตัวชี้วัดที่ 31 ควำมร่วมมือในกำร
ดำเนินงำนกับหน่วยงำนอื่น
• ตัวชี้วัดที่ 34 นวัตกรรมกำรพัฒนำเมือง
• ตัวชี้วัดที่ 14 กำรส่งเสริมกิจกรรมทำง
สังคมเพื่อให้ประชำชนมีส่วนร่วม
• ตัวชี้วัดที่ 16 กำรอนุรักษ์ประเพณี
วัฒนธรรม และภูมิปัญญำท้องถิ่น
• ตัวชี้วัดที่ 2 กำรพัฒนำเมืองเก่ำอย่ำงมี
ส่วนร่วม
• ตัวชี้วัดที่ 3 กำรพัฒนำโครงสร้ำง
พื้นฐำนให้ครอบคลุมและเหมำะสมกับ
ผู้ใช้ประโยชน์ เมืองอยู่
ดี
คนมี
สุข
สิ่งแวดล้
อมยั่งยืน
เมืองแห่ง
การเรียนรู ้
และบริหาร
จัดการที่ดี
วัตถุประสงค์ของนวัตกรรม
วัตถุประสงค์ที่สาคัญของโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูนคือ
• เพื่อสนองตอบต่อแนวนโยบายการสร้างเมืองลาพูนให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาของ
เทศบาลเมืองลาพูนและจังหวัดลาพูน และเพื่อพัฒนาเมืองลาพูนโดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการท่องเที่ยวในเชิงอนุรักษ์ตาม
โครงการเมืองแฝดเชียงใหม่-ลาพูน
• เพื่อเปิดมุมมองภูมิทัศน์วัฒนธรรมให้สามารถเข้าถึงมรดกทางวัฒนธรรม
• เพื่อจัดระเบียบเมืองและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมือง
• เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในเขต
เทศบาล
• เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองลาพูน สร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่
มาเที่ยวชม และมีการหมุนเวียนเม็ดเงินพัฒนาระบบเศรษฐกิจท้องถิ่นจากการท่องเที่ยว
• เพื่อสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
ลักษณะความโดดเด่นของโครงการ
จากการที่ลาพูนเป็นเมืองเก่ามีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ในเขตเทศบาลจึงมีมรดกทางวัฒนธรรม โบราณสถาน
โบราณวัตถุ และสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นหลายแห่งตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ใจกลางเมืองลาพูน อาทิ วัดพระธาตุหริภุญไชย
อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี อาคารศาลากลางจังหวัดลาพูน คุ้มเจ้า และบ้านเก่าอีกหลายหลัง ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ เพื่อ
พัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของเมืองลาพูน
ความโดดเด่นของโครงการ ดังกล่าว คือจะสามารถพัฒนาและปรับสภาพภูมิทัศน์ภายใน
บริเวณเขตเมืองเก่าให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประชาชนมี
คุณภาพขีวิตที่ดี รองรับและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของเมืองลาพูน โดยยังคงรักษาเอกลักษณ์
และปรับปรุงพื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมของเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิตให้คงอยู่อย่างมีคุณค่า
ข้อจากัดหรือข้อยุ่งยากในการดาเนิน
โครงการ
 โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์
พื้น ที่ ม ร ด ก ท า ง วัฒ น ธ ร ร ม เ มื อ ง ล า พู น
(สาธารณู ปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์)เป็นโครงการที่ต้องทาความตกลงกับหลายหน่วยงานในพื้นที่
และต้องมีการทาประชาคม ขอความร่วมมือจากประชาชน หน่วยงานที่อยู่ใน
พื้นที่ดาเนินโครงการ อีกทั้งต้องบริหารโครงการภายใต้ข้อจากัดด้าน
งบประมาณ
ความภาคภูมิใจที่มีโครงการ
 โครงการดังกล่าวนี้จะเป็นการอนุรักษ์และต่อยอดทุนทางวัฒนธรรม ที่ดีของเมืองลาพูน เป็น
การเปิดมุมมองใหม่ของเมือง ทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความสวยงามของสถาปัตยกรรมดั้งเดิม
ของเมืองลาพูน บริเวณถนนสายหลักในเขตเมืองเก่าได้อย่างชัดเจน และดื่มด่ากับความงดงามของ
วัฒนธรรมอย่างเต็มที่ อีกทั้งมีความโดดเด่น ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายฯ ตรงกับความต้องการ
ของประชาชนส่วนใหญ่ของเมืองลาพูน และมีความสอดคล้องสนับสนุนยุทธศาสตร์ของท้องถิ่น ถือ
เป็นโครงการใหญ่ที่น่าภาคภูมิใจ ได้รับการบรรจุในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และได้รับ
งบประมาณสนับสนุนตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองลาพูนมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังได้รับเกียรติ
บัตรจากวัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหารและสภาวัฒนธรรมจังหวัดลาพูนว่าเป็นโครงการที่
สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูนอีกด้วย
ภาพรวมการดาเนินงานโครงการ
งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินโครงการ
โครงการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคใต้ดิน
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์
เมืองลาพูน
ปี งบประมาณ จานวนเงิน แหล่งงบประมาณ
ระยะที่ 1 2556 81,077,497 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (7,800,000 บาท)
- งบเทศบาล (7,000,000 บาท)
- งบไ ้าฯ (22,277,497บาท)
- งบสื่อสารฯ (44,000,000 บาท)
ระยะที่ 2 2557 6,350,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (5,600,000 บาท)
- งบเทศบาล (750,000 บาท)
ระยะที่ 3 2558 6,000,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
ระยะที่ 4 2559 10,000,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์
และสถาปัตยกรรม พื้นที่
2560-2561 20,000,000 งบกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนบน 1
สรุปการดาเนินโครงการตั้งแต่ปี
พ.ศ.2555 - ปัจจุบัน
ภาพการประชุมระหว่างเทศบาลเมืองลาพูนร่วมกับ
การไฟฟ
้ าส่วนภูมิภาคและภาคส่วนต่างๆ
24 มกราคม 2555
สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน
และประชาชนในเขตเทศบาล
โครงกำรพัฒนำ
ระบบ
สำธำรณูปโภคใต้ดิน
เพื่อกำรท่องเที่ยวใน
เขตเมืองอนุรักษ์
1. ชุมชนทั้ง 17
ชุมชน
2. สภำเด็กและ
เยำวชน
3. เทศบำลเมือง
ลำพูน
4. กำรไฟฟ้ำส่วน
ภูมิภำคจังหวัด
ลำพูน
5. ผู้ประกอบกิจกำร
สื่อสำรและ
โทรคมนำคม
6. หน่วยงำน
ภำครัฐ
7.หน่วยงำน
เอกชน/
รัฐวิสำหกิจ
เสนอความค้องการ
ร่
ว
มด
ำเนิ
น
โครงกำร
ให้ควำมร่วมมือ
การสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาแบบมี
ส่วนร่วม
สมำชิกเครือข่ำย ควำมรับผิดชอบ
ชุมชนทั้ง 17 ชุมชน เป็นผู้เสนอความต้องการให้ดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
สภำเด็กและเยำวชน เป็นผู้เสนอความต้องการให้ดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
เทศบำลเมืองลำพูน เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ และเสนอโครงการเพื่อบรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเพื่อความสะดวกในการขอ
งบประมาณสนับสนุนจากแหล่งเงินทุนต่างๆจัดหางบประมาณเพื่อดาเนินโครงการและเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการ
แล้วเสร็จ
กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค จังหวัดลำพูน เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ ออกแบบ/จัดวางระบบรื้อถอนระบบจาหน่ายพื้นที่ในเมืองลาพูน ก่อสร้างระบบจาหน่ายเป็น
เคเบิ้ลใต้ดิน และปรับปรุงระบบจาหน่ายในถนนหรือซอยข้างเคียงทดแทนระบบจาหน่ายที่รื้อถอนออกไปจัดหางบประมาณ
เพื่อดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
โทรศัพท์จังหวัดลำพูน เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ ออกแบบ การวางท่อร้อยสายของผู้ประกอบการการสื่อสารโทรคมนาคม จัดวางท่อร้อยสายของ
การสื่อสารทั้งหมดในเขตเมืองลาพูนจัดหางบประมาณเพื่อดาเนินโครงการและเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
ผู้ประกอบกิจกำรสื่อสำรและ
โทรคมนำคมในจังหวัดลำพูน
เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาอุปกรณ์ของหน่วยงานตนเองเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
การสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
กำรประปำส่วนภูมิภำค เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ ออกแบบจัดวางระบบท่อประปาตามขนาดอย่างเหมาะสม
จังหวัดลำพูน เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ
อำเภอเมืองลำพูน เป็นผู้ร่วมเสนอโครงการ
ตำรวจภูธรจังหวัดลำพูน เป็นผู้อานวยความสะดวกด้านการจราจร
สหกรณ์จังหวัดลำพูน อานวยความสะดวกด้านสถานที่ในการวางเสาแรงสูงในพื้นที่
สำนักงำนที่ดินจังหวัดลำพูน ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกสานักงานระหว่างการ
ขุดเจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
สมำชิกเครือข่ำย ควำมรับผิดชอบ
ธนำคำรกรุงไทย ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
ธนำคำรออมสิน ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
การสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาแบบมีส่วน
ร่วม
สมำชิกเครือข่ำย ควำมรับผิดชอบ
ธนำคำรกรุงเทพ ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
ธนำคำรอิสลำม ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
ผู้ประกอบกำร
ร้ำนค้ำ
ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ
วิทยำเขต ภำคพำยัพ
ร่วมกับกองช่างของเทศบาลในการออกแบบเสาไฟฟ้าเป็นระบบไฟฟ้าแสงสว่างไร้สายแบบประหยัดพลังงานที่ติดตั้งตาม
แนวถนน
แถลงข่าวเปิ ดตัวโครงการ และลงนามความร่วมมือ
(MOU)
เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2556
(รื้อสายไฟฟ
้ า)
ถ่ายภาพกับเสาไฟฟ
้ าก่อนถอนเสาเมื่อ 28
พฤศจิกายน 2556
ภาพแสดงการ
ดาเนินงานใน
ปี 2556
 การก่อสร้างและปรับปรุงระบบ
จาหน่ายแรงสูง รื้อถอนเสาไ ้าพร้อม
ติดตั้งระบบเคเบิลใต้ดิน บริเวณถนน
อินทยงยศ หน้าศาลากลาง จ.ลาพูน และ
ถนนรอบเมืองในรอบเมืองนอกบางส่วน
ภาพแสดงการดาเนินงาน ปี 2556
 การก่อสร้ างและปรับปรุง
ระบบจาหน่ายแรงสูง รื้อสายไ ้า
พร้อมติดตั้งระบบเคเบิลใต้ดิน บริเวณ
ถนนอินทยงยศ รอบเมืองในและรอบ
เมืองนอกบางส่วน
ปี 2556 บริเวณถนนอินทยงยศ
ตั้งแต่หน้าจวนผู้ว่าราชการจังหวัด
ลาพูนถึงแยกประตูลี้
ถนนอินทยง
ยศ
ปี งบประมาณ พ.ศ.2557
(ลงนามความร่วมมือระยะที่ 2
และเริ่มถอนเสาไฟฟ
้ า)
ลงนามบันทึกความร่วมมือขับเคลื่อน
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ทางวัฒนธรรม (ระยะที่
สอง)
ระหว่างเทศบาลเมืองลาพูน การไฟฟ
้ าและการสื่อสาร
ภาพแสดงการดาเนินงาน
ปี 2557
ภาพแสดงการดาเนินงาน ปี 2557
บริเวณวัดช้างสี ถึงถนน
อินทยงยศ ซอย 2
ภาพแสดงการ
ดาเนินงาน
ปี 2557
 ภาพการติดตั้งไฟฟ
้ า
แสงสว่างบนถนน
อินทยงยศ จานวน 34
จุด
 เปลี่ยนหลอดไฟฟ
้ าเป็ น
หลอด LED
ปี 2557บริเวณถนนในเขตเมืองเก่า
(ตามมติ ครม. ต่อเนื่องจากโครงการเด
ถนนในเขต
เมืองเก่า
การดาเนินงานใน ปี 2558
ปี 2558
ดาเนินการของบประมาณต่อเนื่อง จากจังหวัดลาพูนเพื่อดาเนิน
โครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองลาพูน ระยะที่
3
ในวงเงิน 6,000,000 บาท ดังนี้
- ดาเนินการรื้อถอนเสาไ ้าระบบจาหน่ายพื้นที่ในเมืองลาพูน บริเวณถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันออก
- ปรับปรุงระบบแรงสูงใต้ดิน ระบบ 22 กิโลโวลต์ 3 เ ส ขนาดสาย 50 ตร.มม.บริเวณถนนเจริญราษฎร์
- ปรับปรุงระบบแรงต่าใต้ดิน และปรับปรุงมิเตอร์ บริเวณถนนเจริญราษฎร์ตลอดสาย
- ออกแบบ/ปรับระบบไ ้าแสงสว่างไร้สายบริเวณถนนอินทยงยศ รอบเมืองในและถนนเจริญราษฎร์บางส่วน
การดาเนินงานใน ปี 2559
ปี 2559
ดาเนินการของบประมาณต่อเนื่อง จากจังหวัดลาพูน เพื่อดาเนิน
โครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองลาพูน
ระยะที่ 4
ในวงเงิน 10,000,000 บาท ดังนี้
- ดาเนินการรื้อถอนเสาไ ้าระบบจาหน่ายพื้นที่ในเมืองลาพูน บริเวณถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันตก
ตั้งแต่แยกประตูช้างสีถึงวัดศรีสองเมือง ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร
สรุปการดาเนินโครงการปี 2556-2559
ปี 2556 บริเวณถนนอินทยงยศ ตั้งแต่หน้าจวนผู้ว่า
ราชการจังหวัดลาพูนถึงแยกประตูลี้
ปี 2557บริเวณถนนในเขตเมืองเก่า(ตามมติ ครม. ต่อเนื่องจา
ปี 2558 บริเวณถนนเจริญราษฎร ์ฝั่งตะวันออก
ปี 2559 บริเวณถนนเจริญราษฎร ์ฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ ประตูช้า
ถึงสุดเขตเทศบาลบริเวณวัดศรีสองเมือง
ถนนในเขต
เมืองเก่า
ถนนอินทยง
ยศ
ถนนเจริญราษฎร ์ฝั่ง
ตะวันออก
ถนนเจริญราษฎร ์
ฝั่งตะวันตก
ภำพเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงกำร
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การวาง
ระบบสายเคเบิ้ลใต้ดิน
บริเวณ จุดประตูช้าง
สี
ก่อน
หลังดาเนินการ
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การติดตั้ง
สายเคเบิ้ลใต้ดิน บริเวณ
จุดแยกศาลากลาง
ก่อน
หลังดำเนินกำร
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การติดตั้ง
สายเคเบิ้ลใต้ดิน
บริเวณจุดสามแยกร้าน
ทองเยาวราช
ก่อน
หลังดำเนินกำร
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การติดตั้งสายเคเบิ้ลใต้
ดิน บริเวณถนนอินทยงยศ
ก่อน
หลังดำเนินกำร
1. งานปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง บริเวณถนนรอบเมืองในและถนนรอบเมืองนอก
1.1 งานระบบไฟฟ
้ าแสงสว่างถนน
1.2 งานปรับปรุงทางเท้ารอบเมืองเก่าตามแนวคูเมือง
1.3 งานปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณคูเมือง 9 – 10
1.4 งานปรับปรุงผิวจราจรแอส ัลท์ติกคอนกรีต
1.5 งานทาสีตีเส้นจราจร
2. งานปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง บริเวณถนนอินทยงยศ
2.1 งานปรับปรุงทางเท้าถนนอินทยงยศ และถนนไชยมงคล
2.2 งานติดตั้งระบบไ ้าแสงสว่างถนน
2.3 งานปรับปรุงผิวจราจรแอส ัลท์ติกคอนกรีต
2.4 งานทาสีตีเส้นจราจร
งบประมาณ 19,528,800.- บาท
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และสถาปัตยกรรม
พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน 2560-2561
กิจกรรมตามโครงการ
แผนที่เขตเมืองเก่าลาพูน
ถนนอินทยงยศ
ถนนไชยมงคล
ทางเท้ารอบเมืองเก่า
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และสถาปัตยกรรม
พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน 2560-2561
ลักษณะแบบโคมไ
แนวเส้นทางถนนอินทยงยศ
แนวเส้นทางถนนรอบเมืองใน รอบเมืองนอก
“การดาเนินการพัฒนาเมืองเก่าให้
เหมาะสมกับบริบทพื้นที่”
โดยเน้นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรม และการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ
การท่องเที่ยว
อาทิ การรื้อ ื้นประเพณีวัฒนธรรม การใช้รถบุษบกในงานประเพณี ขบวนแห่
น้าทิพย์ดอยขะม้อ รื้อ ื้นงานตานก๋วยสลาก
การต่อยอดนวัตกรรมการ
พัฒนาเมือง
ขบวนตานก๋วยสลาก
ภาพหลังการดาเนินโครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทาง
วัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
ประเพณี วัฒนธรรมดั้งเดิมที่โดดเด่น
กลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง
ขบวนแห่น้าทิพย์ดอยขะม้อ
ภาพหลังการดาเนินโครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทาง
วัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
วัดพระธาตุหริภุญชัยได้จัดทารถบุษบก ขนาดสูงประมาณ 7 เมตร เพื่อใช้ในงานประเพณีสาคัญต่างๆ อาทิ ประเพณี
สรงน้าพระบรมธาตุหริภุณชัย (งานวันแปดเป็ง)
ภาพหลังการดาเนินโครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทาง
วัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
การใช้รถบุษบกในงานประเพณี
“พัฒนำโครงข่ำยกำรเดินทำงในเขตเมือง”
พัฒนาโครงข่ายการเดินทางใน
เขตเมือง
การต่อยอดนวัตกรรมการ
พัฒนาเมือง
โครงกำรของเทศบำลเมืองลำพูน
 โครงกำรรถรำงนำเที่ยวลำพูน
สถิติผู้ใช้บริการและรายรับของรถรางนาเที่ยวลาพูน
ประจาปี พ.ศ. 2558-2561
-
100,000
200,000
300,000
400,000
500,000
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2559
390,380 370,830
405,310 429,450
9,469 9,414 10,245 11,356
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2559
รายรับ(บาท) 390,380 370,830 405,310 429,450
ผู้ใช้บริการ(ราย) 9,469 9,414 10,245 11,356
สถิติกำรใช้บริกำรรถรำงนำเที่ยว
รายรับ(บาท) ผู้ใช้บริการ(ราย)
สถิติจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าชมพิพิธภัณฑ์
ชุมชนเมือง
-
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
ปี
2553
ปี
2556
ปี
2557
ปี
2558
ปี
2559
ปี
2560
ปี
2561
จำนวน (คน) 771 1,064 5,155 13,194 7,494 21,507 25,047
จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ำชมพิพิธภัณฑ์ (คน)
สถิติจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าชม
คุ้มเจ้ายอดเรือน
2,000
2,500
3,000
ปี 2556 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561
จานวน (คน) 2,500 2,662 2,759 2,809
จำนวน (คน)
กำรพัฒนำเส้นทำงจักรยำนเพื่อกำรท่องเที่ยว
การปั่นจักรยานตามเส้นทางเชื่อมการท่องเที่ยวใน
เขตเมืองเก่าลาพูน
สถิติจานวนนักปั่น
ที่เข้าร่วมกิจกรรมกับเทศบาลเมืองลาพูน
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560
จานวน (คน) 150 400 450
150
400
450
สถิตินักปั่น
จานวน
(คน)
ความต่อเนื่องและความยั่งยืนในการพัฒนา
เมืองเก่า
นาไปสู่การเป็ นเมืองแห่งการเรียนรู ้และการ
บริหารจัดการที่ดี
ปลัดเทศบาลได้รับเชิญไปเป็ นวิทยากรบรรยายวิชาการ
บริหารจัดการเมือง
หลักสูตร MPA ที่ คณะรัฐศาสตร ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์
การเป็ นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็ นเมืองวัฒนธรรม
ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะนักศึกษา ปปร. 19 สถาบันพระปกเกล้า ดูงานลาพูน
อำทิ เช่น คณะนักศึกษำ ปปร. 19 ดูงำนลำพูน
การเป็ นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็ นเมืองวัฒนธรรม
ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะการพัฒนาผู้นาท้องถิ่นในบริบทโลก รุ่นที่ 1(L2G)
สถาบันพระปกเกล้า ดูงานลาพูน
การเป็ นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็ นเมืองวัฒนธรรม
ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะจากเทศบาลเมืองชะอา
การเป็ นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็ นเมืองวัฒนธรรม
ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะจากกรุงเทพมหานคร
การเป็ นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็ นเมืองวัฒนธรรม
ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การเป็ นสถานที่จัดนิทรรศการ “ท้องถิ่นสยามในเขตคาม
ประชาธิปก
ร่วมกับสถาบันพระปกเกล้า
การเป็ นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็ นเมืองวัฒนธรรม
ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การทาความร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
พะเยาและ สกว.ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ
การได้รับการจัดสรรงบกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนในการดาเนิน
โครงการพัฒนาพื้นที่ทางวัฒนธรรม
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทาง
วัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวใน
เขตเมืองอนุรักษ์)
เมืองเก่ากลุ่มที่ 1 ตาม
มติ ครม.
เมืองเก่า
กลุ่มที่ 1
เมือง
เก่า
เชียงให
ม่
เมืองเก่า
ลาปาง
เมืองเก่า
กาแพงเพ
ชร
เมืองเก่า
พิษณุโลก
เมืองเก่า
ลพบุรี
เมืองเก่า
พิมาย
เมืองเก่า
นครศรี
ธรรมราช
เมืองเก่า
สงขลา
เมืองเก่า
ลาพูน
เมือง
เก่า
น่าน
การลงนามความร่วมมือ (MOU) เรื่องการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่
มรดกทางวัฒนธรรมกับ เมืองเก่ากลุ่มที่ 1 โดยมีอธิบดีกรมส่งเสริม
การปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมเป็ นประธาน
ในการลงนาม ที่ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก จังหวัด
ขอนแก่น
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2559
การหารือเพื่อกาหนดแนวทางการขอรับการสนับสนุน
งบประมาณ
ระหว่าง ผู้บริหารเมืองเก่า, นายจรินทร ์ จักกะพาก อธิบดีกรม
ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น และ รศ.วุฒิสาร ตันไชย
เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
ในงานเวทีท้องถิ่นไทย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนน
แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559
เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
เมืองเก่า กลุ่มที่ 1 แก่คณะอนุกรรมการ
กลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559
เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
เมืองเก่า กลุ่มที่ 1 แก่คณะอนุกรรมการ
กลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า
ครั้งที่ 2 เมื่อ 28 เมษายน 2560
เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม เมืองเก่า
กลุ่มที่ 1 แก่คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุง
รัตนโกสินทร ์และเมืองเก่า ที่มี
พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีฯ เป็ นประธาน ใน
วันที่ 16 มีนาคม 2561
ที่ประชุมคณะกรรมการฯ มีมติให้ความเห็นชอบโครงการ
(http://www.onep.go.th/topics/44761)
ภาพการประชุมโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่
มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า วันที่ 3
กันยายน 2561
ณ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช
ตัวแทนจากสานักงบประมาณ มาดูพื้นที่
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทาง
วัฒนธรรม 10 เมืองเก่า ของเมืองลาพูน วันที่ 6
กันยายน 2561
บริเวณถนนชัยมงคลและถนนมุกดา
บริเวณถนนรอบเมืองใน (ต่อเนื่องจากโครงการเดิม)
บริเวณถนนรอบเมืองนอก
ถนนชัยมงคลและ
ถนนมุกดา บริเวณถนนรอบ
เมืองใน (ต่อเนื่อง
จากโครงการเดิม)
บริเวณถนนรอบ
เมืองนอก
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ความคุ้มค่า
1 ความคุ้มค่าในเรื่องของความเหมาะสมของสภาพพื้นที่
จากการที่ ลาพูน เป็นเมืองเมืองเก่า มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน และยังเป็นเมือง
ประวัติศาสตร์ ที่มีมรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ที่ยังคงสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เ ท ศ บ า ล ไ ด้
ตระหนักถึงความสาคัญของการอนุรักษ์เมืองเก่าลาพูน จึงได้ผลักดันให้เกิดโครงการพัฒนาและปรับปรุง
ภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์) ขึ้นโดย
การนาสายไ ้า สายโทรศัพท์และ สายสื่อสารต่างๆ ลงใต้ดิน พร้อมออกแบบเสาไ ้าแสงสว่างแบบไร้
สาย บริเวณถนน อินทยงยศ ซึ่งเป็นถนนสายหลักในเขตเมืองเก่า
ซึ่งเทศบาลได้ดาเนินโครงการมาจนถึงระยะที่ 4 ในปัจจุบัน
พบว่าเมื่อนาสายไฟฟ
้ าและสายสื่อสารลงใต้ดิน ทาให้ความสวยงาม
ของสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของเมืองลาพูนบริเวณถนนอินทยงยศ ซึ่ง
เป็ นถนนสายหลักในเขตเมืองเก่าปรากฏแก่สายตาของผู้มาเยือน ซึ่ง
ถือเป็ นการบริหารจัดการมรดกศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น อย่าง
้ ่
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ความคุ้มค่า
2 ความคุ้มค่ากับงบประมาณ
ผู้บริหารได้กาหนดนโยบายในการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และให้บรรจุโครงการในเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีของเทศบาล เนื่องจากโครงการมีความสอดคล้องกับแนวนโยบายของผู้บริหารใน
การดาเนินงานด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว และการพัฒนาเมืองเก่าลาพูน อีกทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ
เทศบาลเมืองลาพูน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านระบบโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
รวมทั้งก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชา
สังคม ในการร่วมกันพัฒนาเมืองลาพูนให้เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต
จากการดาเนินโครงการมาจนถึงระยะที่ 4 เทศบาลเมืองลาพูน
ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากงบยุทธศาสตร ์จังหวัดอย่างต่อเนื่องมาทุก
ปี โดยมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามโครงการและได้ผลงานตาม
เป้ าหมายที่วางไว้ทุกประการ
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดกับองค์กร
1 ประโยชน์ที่องค์กรได้รับจากโครงการ
สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และประชาชนในเขตเทศบาล อีกทั้งสามารถพัฒนาและปรับสภาพภูมิทัศน์เมือง สถานที่ท่องเที่ยว
ภายในบริเวณเขตเมืองเก่าให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม รองรับการท่องเที่ยวและส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของเมืองลาพูน ให้คงความเป็นเอกลักษณ์ของเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต และทาให้การส่ง
และจ่ายกระแสไ ้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะระบบสายเคเบิลใต้ดิน จะลดอุปสรรคของ ้าผ่า พายุลมแรง
หรือแม้กระทั่งฝนตก จึงทาให้การจ่ายกระแสไ ้าเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ค่าบารุงรักษาน้อยและสายเคเบิลใต้ดินก็
มีอายุการใช้งานยาวนานกว่า
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นกับท้องถิ่น
1 ประโยชน์ที่ท้องถิ่นได้รับจากโครงการ
สร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชม และมีการหมุนเวียนเม็ดเงินพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
ท้องถิ่นจากการท่องเที่ยวมากขึ้น ส่งเสริมอาชีพ กระจายรายได้ให้แก่คนในท้องถิ่นจากการเดินทางมาเที่ยวชม
เมืองลาพูนของนักท่องเที่ยว
ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพบ้านเมืองมีความน่าอยู่อาศัย ประชาชนภาคภูมิใจใน
ท้องถิ่นของตนเอง
สรุปความสอดคล้องของนวัตกรรม
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมือง
ลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
กับองค์ประกอบเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
• ตัวชี้วัดที่ 21 กำรปรับภูมิทัศน์เมืองให้
มีควำมสวยงำมและสอดคล้องกับ
สภำพเมือง
• ตัวชี้วัดที่ 31 ควำมร่วมมือในกำร
ดำเนินงำนกับหน่วยงำนอื่น
• ตัวชี้วัดที่ 34 นวัตกรรมกำรพัฒนำเมือง
• ตัวชี้วัดที่ 14 กำรส่งเสริมกิจกรรมทำง
สังคมเพื่อให้ประชำชนมีส่วนร่วม
• ตัวชี้วัดที่ 16 กำรอนุรักษ์ประเพณี
วัฒนธรรม และภูมิปัญญำท้องถิ่น
• ตัวชี้วัดที่ 2 กำรพัฒนำเมืองเก่ำอย่ำงมี
ส่วนร่วม
• ตัวชี้วัดที่ 3 กำรพัฒนำโครงสร้ำง
พื้นฐำนให้ครอบคลุมและเหมำะสมกับ
ผู้ใช้ประโยชน์ เมืองอยู่
ดี
คนมี
สุข
สิ่งแวดล้
อมยั่งยืน
เมืองแห่ง
การเรียนรู ้
และบริหาร
จัดการที่ดี
การเป็ นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
เทศบาลมีการวางแผนการดาเนินงานเพื่อพัฒนาเมืองร่วมกับ
เครือข่ายต่างๆในระยะยาว
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61

Editor's Notes

  1. ปัจจุบันเทศบาลเมืองลำพูนประกอบด้วยชุมชนทั้งสิ้น 17 ชุมชน