SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
Download to read offline
เทศบาลเมืองลาพูน www.lamphuncity.go.th
นวัตกรรมการพัฒนาเมือง
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
ประกาศเขตเมืองเก่า
เมืองเก่าลาพูน
ความเข้าใจเกี่ยวกับเมืองเก่าของประเทศไทย
กาแพงเมือง-
คูเมือง
ป้อม
โครงข่าย
คมนาคม
ในเมืองเก่า
ที่หมายตา
ในบริเวณ
เมืองเก่า
ธรรมชาติ
ในเมืองเก่า
องค์ประกอบของเมืองเก่า
วิสัยทัศน์ เมืองเก่าลาพูน
“ เมืองน่าอยู่ มีองค์การบริหารจัดการที่สามารถประสาน
การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนดาเนินการพัฒนาเชิงอนุรักษ์อย่าง
มีประสิทธิภาพเพื่อให้เมืองเก่าลาพูนดารงคุณค่าความเป็น
เมืองประวัติศาสตร์ เมืองศิลปวัฒนธรรม รักษาเอกลักษณ์
มรดกทางวัฒนธรรมหริภุญไชยและดารงความสมดุลของ
ระบบนิเวศน์เมืองไว้ได้อย่างยั่งยืน”
เทศบาลเมืองลาพูน มีการพัฒนาเมืองตาม
แผนปฏิบัติการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
ดาเนินการผ่านทางโครงการต่างๆดังต่อไปนี้
การพัฒนาตามแผนและผังแม่บทการอนุรักษ์เมืองเก่าลาพูนในยุทธศาสตร์ 3 ด้าน
1.ยุทธศาสตร์การพัฒนากลไกและ
กระบวนการบริหารจัดการเมืองเก่า
2.การฟื้นฟูดูแลรักษาแหล่งมรดกทาง
วัฒนธรรมและภูมิทัศน์เมืองเก่า
ลาพูน
3.ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และ
รักษาเมืองเก่าให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
2.การอนุรักษ์บ้าน
เก่า เรือนพื้นถิ่น
สถาปัตยกรรม วัด
หอศิลป์ ร่วมสมัย
1.การสร้าง
จิตสานึกในการ
อนุรักษ์เมืองเก่า
ลาพูน
3.การปรับปรุง
ภูมิทัศน์ทาง
วัฒนธรรม
4.พัฒนาโครงข่าย
การเดินทางในเขต
เมือง
6.การฟื้นฟู
ช่างฝีมือท้องถิ่น
และการเพิ่มมูลค่า
สินค้า
7.การนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ใน
การเผยแพร่องค์
ความรู้
5.การจัดการการ
ท่องเที่ยวเมืองเก่าให้
เหมาะสมกับพื้นที่
การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
นวัตกรรมการพัฒนาเมือง
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
ดาเนินการภายใต้แผนแม่บทและผังแม่บท การพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
 โครงการนี้ มุ่งเน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม
ในเขตพื้นที่เมืองเก่าลาพูน ที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์
มีแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมอันเป็น
เอกลักษณ์ โดยการนาสายไฟฟ้า และ สายสื่อสารต่างๆ ลง
ใต้ดิน ใช้เสาไฟฟ้าแสงสว่าง แบบไร้สาย ส่งผลให้เกิดมุมมองใหม่
บริเวณถนนสายหลักของเมือง ทาให้ประชาชนและผู้มาเยือน
สามารถเข้าถึงความสวยงามของสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของเมือง
ลาพูน ที่ตั้งอยู่บริเวณถนนสายหลักในเขตเมืองเก่า โดยโครงการ
นี้ดาเนินการโดยอาศัยความร่วมมือกับหลายภาคส่วน
ภาพการประชุมระหว่างเทศบาลเมืองลาพูนร่วมกับ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและภาคส่วนต่างๆ
24 มกราคม 2555
แถลงข่าวเปิ ดตัวโครงการ และลงนามความร่วมมือ (MOU)
เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555
สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
และประชาชนในเขตเทศบาล
โครงการพัฒนา
ระบบ
สาธารณูปโภคใต้ดิน
เพื่อการท่องเที่ยวใน
เขตเมืองอนุรักษ์
1. ชุมชนทั้ง 17
ชุมชน
2. สภาเด็กและ
เยาวชน
3. เทศบาลเมือง
ลาพูน
4. การไฟฟ้าส่วน
ภูมิภาคจังหวัด
ลาพูน
5. ผู้ประกอบกิจการ
สื่อสารและ
โทรคมนาคม
6. หน่วยงาน
ภาครัฐ
7.หน่วยงาน
เอกชน/
รัฐวิสาหกิจ
เสนอความค้องการ
ร่
ว
มด
าเนิ
น
โครงการ
ให้ความร่วมมือ
การสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
สมาชิกเครือข่าย ความรับผิดชอบ
ชุมชนทั้ง 17 ชุมชน เป็นผู้เสนอความต้องการให้ดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
สภาเด็กและเยาวชน เป็นผู้เสนอความต้องการให้ดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
เทศบาลเมืองลาพูน เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ และเสนอโครงการเพื่อบรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเพื่อความสะดวกในการขอ
งบประมาณสนับสนุนจากแหล่งเงินทุนต่างๆ จัดหางบประมาณเพื่อดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการ
แล้วเสร็จ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดลาพูน เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ ออกแบบ/จัดวางระบบ รื้อถอนระบบจาหน่ายพื้นที่ในเมืองลาพูน ก่อสร้างระบบจาหน่ายเป็น
เคเบิ้ลใต้ดิน และปรับปรุงระบบจาหน่ายในถนนหรือซอยข้างเคียงทดแทนระบบจาหน่ายที่รื้อถอนออกไป จัดหางบประมาณ
เพื่อดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
โทรศัพท์จังหวัดลาพูน เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ ออกแบบ การวางท่อร้อยสายของผู้ประกอบการการสื่อสารโทรคมนาคม จัดวางท่อร้อยสายของ
การสื่อสารทั้งหมดในเขตเมืองลาพูน จัดหางบประมาณเพื่อดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ
ผู้ประกอบกิจการสื่อสารและ
โทรคมนาคมในจังหวัดลาพูน
เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ และเป็นผู้ร่วมดูแลรักษาอุปกรณ์ของหน่วยงานตนเอง เมื่อโครงการแล้วเสร็จ
การสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
การประปาส่วนภูมิภาค เป็นผู้ร่วมดาเนินโครงการ ออกแบบจัดวางระบบท่อประปาตามขนาดอย่างเหมาะสม
จังหวัดลาพูน เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ
อาเภอเมืองลาพูน เป็นผู้ร่วมเสนอโครงการ
ตารวจภูธรจังหวัดลาพูน เป็นผู้อานวยความสะดวกด้านการจราจร
สหกรณ์จังหวัดลาพูน อานวยความสะดวกด้านสถานที่ในการวางเสาแรงสูงในพื้นที่
สานักงานที่ดินจังหวัดลาพูน ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกสานักงานระหว่างการ
ขุดเจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
สมาชิกเครือข่าย ความรับผิดชอบ
ธนาคารกรุงไทย ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
ธนาคารออมสิน ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
การสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
สมาชิกเครือข่าย ความรับผิดชอบ
ธนาคารกรุงเทพ ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
ธนาคารอิสลาม ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
ผู้ประกอบการ
ร้านค้า
ให้ความร่วมมือระหว่างดาเนินโครงการหากต้องได้รับความไม่สะดวกบริเวณพื้นที่หน้าทางเข้าออกอาคารระหว่างการขุด
เจาะนาสายไฟลงใต้ดิน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วิทยาเขต ภาคพายัพ
ร่วมกับกองช่างของเทศบาลในการออกแบบเสาไฟฟ้าเป็นระบบไฟฟ้าแสงสว่างไร้สายแบบประหยัดพลังงาน ที่ติดตั้งตาม
แนวถนน
วัตถุประสงค์ของนวัตกรรม
วัตถุประสงค์ที่สาคัญของโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูนคือ
• เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม เปิดมุมมองใหม่ของเมือง
• เพื่อจัดระเบียบเมืองและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมือง
• เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ประชาชนในเขตเทศบาล
• เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองลาพูน สร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มา
เที่ยวชม และมีการหมุนเวียนเม็ดเงินพัฒนาระบบเศรษฐกิจท้องถิ่นจากการท่องเที่ยว
• เพื่อสนองตอบต่อแนวนโยบายการสร้างเมืองลาพูนให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนา
ของเทศบาลเมืองลาพูนและจังหวัดลาพูน และเพื่อพัฒนาเมืองลาพูนโดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการท่องเที่ยวในเชิง
อนุรักษ์ตามโครงการเมืองแฝดเชียงใหม่-ลาพูน
• เพื่อสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
เมืองเก่าลาพูน
การปรับปรุงภูมิ
ทัศน์มรดกทาง
วัฒนธรรม
1.โครงการปรับปรุงสถาปัตยกรรม
ถนนสายหลักของเมือง
2. โครงการปรับปรุง
กาแพงเมืองเก่า
3.การปรับปรุงภูมิทัศน์
คูเมืองเก่า
4. การสร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อการ
อนุรักษ์เมืองลาพูน
5.การพัฒนาหลักสูตร
ท้องถิ่นศึกษา
6.การจัดการการท่องเที่ยวเมืองเก่า
ลาพูนให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่
กรอบแนวคิด โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
สู่การเป็นเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
เมืองคาร์บอนต่า/ เมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน/
การเป็น 1 ใน12เมืองต้องห้ามพลาดพลัส / การเพิ่มรายได้/ การมีงานทา/ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
สลากภัตร/ครัวทาน/สรงน้าพระธาตุ/น้าทิพย์ดอยขะม้อ/ 1 ใน เบญจภาคี(พระรอดวัดมหาวัน)/กาเนิดนักบุญล้านนา/
กาเนิดพระนางจามเทวี/ สรงน้าครูบาสังฆะ
ภาพรวมการดาเนินงานโครงการ
ปี 2556 บริเวณถนนอินทยงยศ ตั้งแต่หน้าจวนผู้ว่าราชการจังหวัดลาพูนถึงแยกประตูลี้
ปี 2557บริเวณถนนในเขตเมืองเก่า(ตามมติ ครม. ต่อเนื่องจากโครงการเดิม)
ปี 2558 บริเวณถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันออก
ปี 2559 บริเวณถนนเจริญราษฎร์ ฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ ประตูช้างสี
ถึงสุดเขตเทศบาลบริเวณวัดศรีสองเมือง
ถนนในเขตเมืองเก่า
ถนนอินทยงยศ
ถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันออก
ถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันตก
งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินโครงการ
โครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคใต้
ดินเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองลาพูน
ปีงบประมาณ จานวนเงิน แหล่งงบประมาณ
ระยะที่ 1 2556 81,077,497 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (7,800,000 บาท)
- งบเทศบาล (7,000,000 บาท)
- งบไฟฟ้าฯ (22,277,497บาท)
- งบสื่อสารฯ (44,000,000 บาท)
ระยะที่ 2 2557 6,350,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (5,600,000 บาท)
- งบเทศบาล (750,000 บาท)
ระยะที่ 3 2558 6,000,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
ระยะที่ 4 2559 10,000,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และ
สถาปัตยกรรม พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
เมืองลาพูน
2560-2561 20,000,000 งบกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนบน 1
2563 141,741,700 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (10,000,000 บาท)
- งบเทศบาล (6,000,000 บาท)
- งบไฟฟ้าฯ (125,741,700 บาท)
ภาพเปรียบเทียบก่อนและหลังดาเนินโครงการ
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การวางระบบ
สายเคเบิ้ลใต้ดิน บริเวณ จุด
ประตูช้างสี
ก่อน
หลังดาเนินการ
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การติดตั้งสายเคเบิ้ล
ใต้ดิน บริเวณ
จุดแยกศาลากลาง
ก่อน
หลังดำเนินกำร
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การติดตั้งสาย
เคเบิ้ลใต้ดิน บริเวณจุดสามแยก
ร้านทองเยาวราช
ก่อน
หลังดำเนินกำร
ภาพเปรียบเทียบ
ก่อน – หลัง การติดตั้งสายเคเบิ้ลใต้
ดิน บริเวณถนนอินทยงยศ
ก่อน
หลังดำเนินกำร
โครงการที่ดาเนินการควบคู่กับนวัตกรรม
ชื่อโครงกำร ภำพประกอบ รำยละเอียด
โครงกำรปรับปรุงสถำปัตยกรรม
บริเวณถนนสำยหลักของเมือง
กำรปรับปรุงสถำปัตยกรรมบริเวณถนนสำยหลักของเมือง
ตั้งแต่ต้นปี 2558 เป็นต้นมาเทศบาลได้เน้นการพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่
ปัจจุบันเป็นรากฐานสู่อนาคต โดยดึงศักยภาพจากพื้นที่ในเขตเมืองเก่าใน
อดีต มาทาให้ดีขึ้น ส่งเสริมความเป็นอัตลักษณ์ มีความโดดเด่น สวยงาม
และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
โครงกำรปรับปรุงกำแพงเมืองเก่ำ
ลำพูน
กำรปรับปรุงภูมิทัศน์กำแพงเมืองเก่ำ เกิดจากความต้องการของ
ประชาชนให้ภาพการเป็นเมืองเก่าลาพูนปรากฏเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน
เทศบาลเมืองลาพูนจึงได้จัดทาโครงการก่อสร้างปรับปรุงกาแพงเมืองเก่า
ลาพูน โดยจะปรับปรุงแนวกาแพงเมืองเก่า พร้อมปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์
โดยรอบ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและเพื่อเป็นการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวของจังหวัดลาพูน
โครงการที่ดาเนินการควบคู่กับนวัตกรรม
ชื่อโครงกำร ภำพประกอบ รำยละเอียด
โครงกำรปรับปรุงภูมิทัศน์คู
เมืองเก่ำ
เน้นการพัฒนาปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพของ คูเมืองเก่าทั้ง 15 คู ที่ล้อมรอบ
ตัวเมืองลาพูน ซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี ให้มีความเป็นระเบียบ เรียบร้อย
และสวยงาม เพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการให้
ครบถ้วน ทั้งนี้เพื่อสร้างเมืองลาพูนให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
โครงกำรสร้ำงเครือข่ำยชุมชน
เพื่อกำรอนุรักษ์เมืองลำพูน
ชุมชนนับเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมภายในพื้นที่ การ
สร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อการอนุรักษ์เมืองลาพูนจึงเป็นการเปิดโอกาสในการมี
ส่วนร่วมให้ชุมชนสามารถรับรู้ข้อมูล ถ่ายทอดองค์ความรู้ และร่วมกันวาง
ทิศทางในการจัดการขับเคลื่อนกระบวนการร่วมกับภาครัฐ ตามแนวทางความ
ต้องการและศักยภาพของชุมชน เพื่อให้การขับเคลื่อนเมืองลาพูนไปสู่ความเป็น
เมืองอนุรักษ์ที่มีความจริงแท้และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อันเกิดมาจาก
รากฐานของความเข้าใจ ความต้องการ ความเหมาะสม และการมีส่วนร่วมใน
การตรวจสอบของชุมชน
โครงการที่ดาเนินการควบคู่กับนวัตกรรม
ชื่อโครงกำร ภำพประกอบ รำยละเอียด
โครงกำรพัฒนำหลักสูตรท้องถิ่น เป็นโครงการในการต่อยอดองค์ความรู้ในการถ่ายทอดสู่เยาวชน เพื่ อให้
เยาวชนได้เรียนรู้ สร้างความหวงแหน และให้เยาวชนเป็นกลไกขับเคลื่อน
ในการถ่ายทอดคุณค่าความน่าสนใจของเมืองลาพูนสู่สายตานักท่องเที่ยว
ภายใต้ระบบของการท่องเที่ยวเชิงเคารพ ถือเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ที่
เยาวชนได้รับการถ่ายทอดมาให้สามารถใช้ได้จริง มีการสร้างสรรค์การ
นาเสนอ สร้างเสริมทักษะ และสามารถสร้างรายได้จากฐานองค์ความรู้
แก่เยาวชน
กำรจัดกำรกำรท่องเที่ยวเมืองเก่ำ
ลำพูนให้เหมำะสมกับบริบทพื้นที่
โดยเน้นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการ
ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่ อการท่องเที่ยว อาทิ การรื้ อฟื้ นประเพณี
วัฒนธรรม การใช้รถบุษบกในงานประเพณี ขบวนแห่น้าทิพย์ดอยขะม้อ
รื้อฟื้นงานตานก๋วยสลาก
ความภาคภูมิใจที่มีต่อโครงการ
 โครงการดังกล่าวนี้ จะเป็นการอนุรักษ์และต่อยอดทุนทางวัฒนธรรม ที่ดีของเมืองลาพูน
เป็นการเปิดมุมมองใหม่ของเมือง ทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความสวยงามของสถาปัตยกรรม
ดั้งเดิมของเมืองลาพูน บริเวณถนนสายหลักในเขตเมืองเก่าได้อย่างชัดเจน และดื่มด่ากับความ
งดงามของวัฒนธรรมอย่างเต็มที่ อีกทั้งมีความโดดเด่น ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายฯ ตรงกับ
ความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ของเมืองลาพูน และมีความสอดคล้องสนับสนุนยุทธศาสตร์
ของท้องถิ่น ถือเป็นโครงการใหญ่ที่น่าภาคภูมิใจ ได้รับการบรรจุในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
จังหวัด และได้รับงบประมาณสนับสนุนตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองลาพูนมาอย่างต่อเนื่อง อีก
ทั้งยังได้รับเกียรติบัตรจากวัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหารและสภาวัฒนธรรมจังหวัดลาพูนว่า
เป็นโครงการที่สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูนอีกด้วย
“การดาเนินการพัฒนาเมืองเก่าให้เหมาะสมกับบริบท
พื้นที่”
โดยเน้นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการ
ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการท่องเที่ยว
อาทิ การรื้อฟื้นประเพณีวัฒนธรรม การใช้รถบุษบกในงานประเพณี ขบวน
แห่น้าทิพย์ดอยขะม้อ รื้อฟื้นงานตานก๋วยสลาก
การต่อยอดนวัตกรรมการพัฒนาเมือง
ขบวนตานก๋วยสลาก
ภาพหลังการดาเนินโครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
ประเพณี วัฒนธรรมดั้งเดิมที่โดดเด่นกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง
ขบวนแห่น้าทิพย์ดอยขะม้อ
ภาพหลังการดาเนินโครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
วัดพระธาตุหริภุญชัยได้จัดทารถบุษบก ขนาดสูงประมาณ 7 เมตร เพื่อใช้ในงานประเพณีสาคัญต่างๆ อาทิ ประเพณี
สรงน้าพระบรมธาตุหริภุณชัย (งานวันแปดเป็ง)
ภาพหลังการดาเนินโครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
การใช้รถบุษบกในงานประเพณี
“พัฒนาโครงข่ายการเดินทางในเขตเมือง”
พัฒนาโครงข่ายการเดินทางในเขตเมืองและ
การต่อยอดการท่องเที่ยวในเขตเมืองเก่า
การต่อยอดนวัตกรรมการพัฒนาเมือง
โครงการของเทศบาลเมืองลาพูน
➢ โครงการรถรางนาเที่ยวลาพูน
วัดพระธาตุหริภุญชัย
1.พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลาพูน
2.คุ้มเจ้ายอดเรือน
3.อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี
4.วัดจามเทวี
7.วัดสันป่ายางหลวง
8.กู่ช้าง กู่ม้า
9.วัดพระยืน
10.วัดต้นแก้ว
6.วัดพระคงฤาษี
5.วัดมหาวัน
วัดพระธาตุหริภุญชัยฯ ที่เป็นจุดตั้งต้นและสิ้นสุด
สถิติ การใช้รถบริการนาเที่ยว สถิติการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง
เดือน ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561
มกราคม 2,699 2,950 2,615
กุมภาพันธ์ 1,901 2,552 2,091
มีนาคม 2,162 2,860 1,614
เมษายน 1,254 1,958 1,091
พฤษภาคม 1,416 688 1,055
มิถุนายน 2,497 713 1,131
กรกฎาคม 1,471 1,221 1,379
สิงหาคม 2,711 2,277 1,620
กันยายน 2,368 1,958 1,955
ตุลาคม 1,947 2,988 1,796
พฤศจิกายน 1,780 3,190 3,956
ธันวาคม 2,841 3,314 4,997
รวม 25,047 26,669 25,300
เดือน ปี 2560 (คน) ปี 2561 (คน)
มกราคม 1,021 1,154
กุมภาพันธ์ 923 899
มีนาคม 1,046 982
เมษายน 623 669
พฤษภาคม 616 632
มิถุนายน 333 664
กรกฎาคม 701 685
สิงหาคม 1,063 710
กันยายน 1,047 825
ตุลาคม 875 1,479
พฤศจิกายน 676 1,787
ธันวาคม 1,088 1,730
รวม 10,012 12,216
สถิติจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าชมคุ้มเจ้ายอดเรือน
2,000
2,500
3,000
ปี 2556 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561
จานวน (คน) 2,500 2,662 2,759 2,809
จานวน (คน)
การส่งเสริมเศรษฐกิจระหว่างวัด - บ้าน - ชุมชน
 ชุมชนท่าขาม - บ้านฮ่อม ได้รับประโยชน์จากการส่งเสริมการท่องเที่ยวฯ
โดยทางวัดพระธาตุหริภุญชัยฯ ได้เห็นความสาคัญของการส่งเสริมอาชีพให้กับ
ประชาชน ในชุมชนท่าขาม - บ้านฮ่อม ซึ่งอยู่ติดกับวัดพระธาตุฯ โดยให้ชุมชนทา
กรวยดอกไม้ส่งให้วัดเป็นประจาทุกวันๆ ละ 300 - 500 กรวย หากเป็นช่วงวันหยุด
ยาว หรือมีเทศกาลต่างๆ จะมีการสั่งซื้อถึงวันละประมาณ 1,000 กรวย
 ชุมชนมีรายได้ 3,000 บาท / วัน
ชุมชนท่าขาม - บ้านฮ่อม
กับอาชีพที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว/สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
อาชีพการประดิษฐ์กรวยดอกไม้
ชุมชนท่าขาม - บ้านฮ่อม
กับอาชีพที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว/สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ชุมชนท่าขาม - บ้านฮ่อม ยังมีผลิตภัณฑ์โอทอป ระดับ 5
ดาว คือผ้าฝ้ายยกดอกที่ขึ้นชื่อเรื่องความสวยงาม ความปราณีต
ทางกลุ่มผลิตผ้าฝ้ายยกดอก สามารถผลิตผ้าฝ้ายได้ประมาณเดือน
ละ 50 ผืน ทางกลุ่มได้จัดจาหน่าย ณ ร้านค้าขัวมุง หน้าวัดพระธาตุ
หริภุญชัยฯ และมีการแสดงสินค้า ณ บริเวณเฮือนศิลปิน หริภุญ
ชัย
อาชีพการทอผ้าฝ้ายยกดอก
เดิมสองฝั่งถนนอินทยงยศ มีร้านอาหาร ร้าน
กาแฟ/ชา/เพียง 8 ร้าน แต่ในปี 2561 มีคนหนุ่ม
สาวที่ต้องการนาเอาวัฒนธรรมของเมืองมา
ผสมผสาน กับบรรยากาศเมืองเก่าเมืองโคม เพื่อ
สร้างธุรกิจในรูปแบบของตนเอง เพิ่มขึ้น 6 ร้าน
ทาให้ปัจจุบันมีร้านอยู่ถึง 14 ร้าน (เพิ่มขึ้นร้อยละ
75) โดยเจ้าของร้านเป็นคนลาพูนถึง 10 ร้าน
(ร้อยละ71 )
ความต่อเนื่องและความยั่งยืนในการพัฒนาเมืองเก่า
นาไปสู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะนักศึกษา ปปร. 19 สถาบันพระปกเกล้า ดูงานลาพูน
อาทิ เช่น คณะนักศึกษา ปปร. 19 ดูงานลาพูน
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะการพัฒนาผู้นาท้องถิ่นในบริบทโลก รุ่นที่ 1(L2G)
สถาบันพระปกเกล้า ดูงานลาพูน
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะจากเทศบาลเมืองชะอา
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
อาทิ เช่น คณะจากกรุงเทพมหานคร
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
การเป็นสถานที่จัดนิทรรศการ “ท้องถิ่นสยามในเขตคามประชาธิปก
ร่วมกับสถาบันพระปกเกล้า
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
การทาความร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยาและ สกว.ในการ
พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการได้รับการจัดสรรงบกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ตอนบนในการดาเนินโครงการพัฒนาพื้นที่ทางวัฒนธรรม
ปลัดเทศบาลได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรบรรยายวิชาการบริหารจัดการเมือง
หลักสูตร MPA ที่ คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การทาความร่วมมือกับ10เมืองเก่า ในการผลักดัน
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์)
เมืองเก่ากลุ่มที่ 1 ตามมติ ครม.
เมืองเก่า
กลุ่มที่ 1
เมืองเก่า
เชียงใหม่ เมืองเก่า
ลาปาง
เมืองเก่า
กาแพงเพชร
เมืองเก่า
พิษณุโลก
เมืองเก่า
ลพบุรี
เมืองเก่า
พิมาย
เมืองเก่า
นครศรี
ธรรมราช
เมืองเก่า
สงขลา
เมืองเก่า
ลาพูน
เมืองเก่า
น่าน
การลงนามความร่วมมือ (MOU) เรื่องการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมกับ เมืองเก่ากลุ่มที่ 1
โดยมีอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมเป็นประธาน
ในการลงนาม ที่ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ กาญจนาภิเษก จังหวัดขอนแก่น
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2559
เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม เมืองเก่า กลุ่มที่ 1
แก่คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า ที่มี
พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีฯ เป็นประธาน ในวันที่ 16 มีนาคม 2561
ที่ประชุมคณะกรรมการฯ มีมติให้ความเห็นชอบโครงการ (http://www.onep.go.th/topics/44761)
ตัวแทนจากสานักงบประมาณ มาดูพื้นที่
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
ของเมืองลาพูน วันที่ 6 กันยายน 2561
บริเวณถนนชัยมงคลและถนนมุกดา
บริเวณถนนรอบเมืองใน (ต่อเนื่องจากโครงการเดิม)
บริเวณถนนรอบเมืองนอก
ถนนชัยมงคลและถนนมุกดา
บริเวณถนนรอบเมืองใน
(ต่อเนื่องจากโครงการเดิม)
บริเวณถนนรอบเมืองนอก
งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินโครงการ
ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ จานวนเงิน แหล่งงบประมาณ
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์
พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
10 เมืองเก่า
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อ
การท่องเที่ยวในเขตเมือง
อนุรักษ์เมืองเก่าลาพูน)
2563 141,741,700 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
(10,000,000 บาท)
- งบเทศบาล
(6,000,000 บาท)
- งบจากการไฟฟ้าฯ
(125,741,700 บาท)
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ความคุ้มค่า
1 ความคุ้มค่าในเรื่องของความเหมาะสมของสภาพพื้นที่
จากการที่ ลาพูน เป็นเมืองเมืองเก่า มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน และยังเป็นเมือง
ประวัติศาสตร์ ที่มีมรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ที่ยังคงสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เทศบาล
ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการอนุรักษ์เมืองเก่าลาพูน จึงได้ผลักดันให้เกิดโครงการพัฒนาและ
ปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์) ขึ้นโดยการนาสายไฟฟ้า สายโทรศัพท์และ สายสื่อสารต่างๆ ลงใต้ดิน พร้อมออกแบบเสา
ไฟฟ้าแสงสว่างแบบไร้สาย บริเวณถนน อินทยงยศ ซึ่งเป็นถนนสายหลักในเขตเมืองเก่า
ซึ่งเทศบาลได้ดาเนินโครงการมาจนถึงระยะที่ 4 ในปัจจุบัน พบว่าเมื่อนาสายไฟฟ้า
และสายสื่อสารลงใต้ดิน ทาให้ความสวยงามของสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของเมืองลาพูนบริเวณ
ถนนอินทยงยศ ซึ่งเป็นถนนสายหลักในเขตเมืองเก่าปรากฏแก่สายตาของผู้มาเยือน ซึ่งถือเป็น
การบริหารจัดการมรดกศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น อย่างเหมาะสมกับพื้นที่
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ความคุ้มค่า
2 ความคุ้มค่ากับงบประมาณ
ผู้บริหารได้กาหนดนโยบายในการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และให้บรรจุโครงการในเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีของเทศบาล เนื่องจากโครงการมีความสอดคล้องกับแนวนโยบายของผู้บริหาร
ในการดาเนินงานด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว และการพัฒนาเมืองเก่าลาพูน อีกทั้งสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ของเทศบาลเมืองลาพูน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านระบบโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการพัฒนา
เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว รวมทั้งก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม ในการร่วมกันพัฒนาเมืองลาพูนให้เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต
จากการดาเนินโครงการมาจนถึงระยะที่ 4 เทศบาลเมืองลาพูนได้รับงบประมาณสนับสนุน
จากงบยุทธศาสตร์จังหวัดอย่างต่อเนื่องมาทุกปี โดยมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามโครงการและ
ได้ผลงานตามเป้าหมายที่วางไว้ทุกประการ
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดกับองค์กร
1 ประโยชน์ที่องค์กรได้รับจากโครงการ
สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และประชาชนในเขตเทศบาล อีกทั้งสามารถพัฒนาและปรับสภาพภูมิทัศน์เมือง สถานที่
ท่องเที่ยวภายในบริเวณเขตเมืองเก่าให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม รองรับการท่องเที่ยวและ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของเมืองลาพูน ให้คงความเป็นเอกลักษณ์ของเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต
และทาให้การส่งและจ่ายกระแสไฟฟ้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะระบบสายเคเบิลใต้ดิน จะลดอุปสรรค
ของฟ้าผ่า พายุลมแรง หรือแม้กระทั่งฝนตก จึงทาให้การจ่ายกระแสไฟฟ้าเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ค่าบารุงรักษา
น้อยและสายเคเบิลใต้ดินก็มีอายุการใช้งานยาวนานกว่า
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นกับท้องถิ่น
1 ประโยชน์ที่ท้องถิ่นได้รับจากโครงการ
สร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชม และมีการหมุนเวียนเม็ดเงินพัฒนาระบบ
เศรษฐกิจท้องถิ่นจากการท่องเที่ยวมากขึ้น ส่งเสริมอาชีพ กระจายรายได้ให้แก่คนในท้องถิ่นจากการเดินทาง
มาเที่ยวชมเมืองลาพูนของนักท่องเที่ยว
ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพบ้านเมืองมีความน่าอยู่อาศัย ประชาชน
ภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง
• ตลาดโต้รุ่ง ตลาดวัดชัยชนึก
ผู้ประกอบการมีรายได้จากการ
ขายอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 25-40
• โรงแรม/ที่พัก จานวน 13 แห่ง
307 ห้อง มีผู้เข้าพักเต็มตลอดช่วง
งานเทศกาลโคม
• ธุรกิจคนรุ่นใหม่ (ลาพูนแท้) ที่พัก
โฮสเทล ร้านกาแฟ ร้านอาหาร
• กลุ่มอาชีพทาโคมล้านนา ทา
เทียน และกรวยดอกไม้ มีรายได้
2,801,490 บาท
• รถนาเที่ยวพื้นที่เขตเมืองเก่า 11 จุด
: พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลาพูน ,คุ้ม
เจ้ายอดเรือน ,อนุสาวรีย์พระนาง
จามเทวี ,วัดมหาวัน, วัดจามเทวี ,
วัดพระคงฤาษี ,วัดสันป่ายางหลวง
,กู่ช้าง ,วัดพระยืน ,วัดต้นแก้ว ,วัด
พระธาตุหริภุญชัย มีนักท่องเที่ยวใช้
บริการรถนาเที่ยว ในงานเทศกาล
โคม มากกว่าร้อยละ 50 ของ
จานวนนักท่องเที่ยวตลอดปี
• ชุมชนมีการจัดการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนเอง
• ครอบครัวอบอุ่น มีการทา
กิจกรรมการสร้างรายได้ร่วมกัน
• ครอบครัวมีรายได้ สามารถ
พึ่งพาตัวเองได้ ไม่มีปัญหา
อาชญากรรม ปัญหายาเสพติดที่
รุนแรง ในชุมชน
• ผู้พิการไม่เป็นภาระต่อครอบครัว
มีอาชีพ รายได้ ช่วยแบ่งเบา
ภาระครอบครัว
เศรษฐกิจ ส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว
คุณภาพชีวิต
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
ต้นทางของการพัฒนาและการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน โดยเป็นโครงการที่มีความร่วมมือจากหลายภาคส่วน
โครงการ
สาธารณูปโภคใต้
ดิน
การปรับปรุง
ภูมิทัศน์เมือง/
การดูแลรักษา
ต้นไม้ใหญ่
การปรับเปลี่ยน
หน้าตาอาคารใน
เขตพื้นที่
การรื้อฟื้น
ประเพณี และ
วัฒนธรรม
การขับเคลื่อน
กิจกรรมเชิง
ศิลปวัฒนธรรม
การส่งเสริมศิลปิน
ในสาขาต่างๆ
การท่องเที่ยว
แบบเชื่อมโยง
กำรสร้ำงรำยได้ให้ชุมชน สร้ำงเศรษฐกิจชุมชน
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
มีความสอดคล้องกับองค์ประกอบเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
• ตัวชี้วัดที่ 21 การปรับภูมิทัศน์เมืองให้
มีความสวยงามและสอดคล้องกับ
สภาพเมือง
• ตัวชี้วัดที่ 31 ความร่วมมือในการ
ดาเนินงานกับหน่วยงานอื่น
• ตัวชี้วัดที่ 34 นวัตกรรมการพัฒนาเมือง
• ตัวชี้วัดที่ 14 การส่งเสริมกิจกรรมทาง
สังคมเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม
• ตัวชี้วัดที่ 16 การอนุรักษ์ประเพณี
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
• ตัวชี้วัดที่ 2 การพัฒนาเมืองเก่าอย่างมี
ส่วนร่วม
• ตัวชี้วัดที่ 3 การพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานให้ครอบคลุมและเหมาะสมกับ
ผู้ใช้ประโยชน์ เมืองอยู่ดี คนมีสุข
สิ่งแวดล้อม
ยั่งยืน
เมืองแห่งการ
เรียนรู้และ
บริหารจัดการที่ดี
ขจัดความ
ยากจน
ขจัดความ
อดอยาก
มีสุขภาพและ
ชีวิตความ
เป็นอยู่ที่ดี
ความเท่า
เทียมกัน
ทางเพศ
การ
เจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ
การลด
ความ
เหลื่อมล้า
ความยั่งยืน
ของเมือง
และชุมชน
การสร้าง
ความสงบสุข
ยุติธรรม และ
สถาบันที่
เข้มแข็ง
ความ
ร่วมมือใน
การมุ่งสู่
เป้าหมาย
นวัตกรรมโครงการสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ
(Sustainable Development Goals ) SDGs
การเป็นเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน /ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
เทศบาลมีการวางแผนการดาเนินงานเพื่อพัฒนาเมืองร่วมกับเครือข่ายต่างๆในระยะยาว
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)

More Related Content

Similar to นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)chatkul chuensuwankul
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61PiyanunRatchatani
 

Similar to นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน) (6)

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 

More from ปิยนันท์ ราชธานี

บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)ปิยนันท์ ราชธานี
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)ปิยนันท์ ราชธานี
 
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคสรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคปิยนันท์ ราชธานี
 
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)ปิยนันท์ ราชธานี
 

More from ปิยนันท์ ราชธานี (8)

ผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอ
 
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64 นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
 
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคสรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
 
รายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคมรายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคม
 
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
 

นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)