SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
กไลกะลแรากีธิว
าษกัรรากนใ
มรรธนฒัวกดรมง่ลหแ
รคนาหมพทเงุรกงอข
รากิตับิฏปงิชเานมมัสรากะรปราสกอเ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ
“วิธีการและกลไกในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร”
จัดโดย : สำนักผังเมืองกรุงเทพมหานคร รวมกับ
เครือขายอนุรักษมรดกวัฒนธรรมและชุมชนในพื้นที่บริเวณตอเนื่องกรุงรัตนโกสินทร
ณ หองเอนกประสงค ชั้น ๑ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร
สัมมนาฯ ณ หองเอนกประสงค ชั้น ๑ หอศิลปวัฒนธรรม
แหงกรุงเทพมหานคร ในวันพุธที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๕.๐๐ น
กรุงเทพมหานครเมื่อเปรียบเทียบกับมหานครตางๆทั่วโลก
จัดวามีมรดกวิถีชีวิตและสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรมคอนขางสูง มีการสราง สะสม
สืบทอดกันมาตั้งแตสมัยสรางกรุงสองรอยกวาปมาแลว และกลาวไดวาบางอยาง
สืบทอดมาจากกรุงศรีอยุธยาก็วาได มรดกดังกลาวถือวามีคุณคาตอชาวกรุงเทพฯ
และเปนของคูบานคูเมืองสังคมไทยโดยรวมอีกทั้งยังมีความหลากหลายทาง
เชื้อชาติ และวัฒนธรรม แสดงถึงคุณคาของการอยูรวมกันในสังคมไทยมาแตโบราณ
สำหรับชาวตางประเทศก็เปนเสนหที่ไดมาสัมผัสในการมาเยือนกรุงเทพฯ
มรดกของกรุงเทพฯ ที่กลาวถึง อยูในจุดตางๆ ของบริเวณเมืองเกาตั้งแต
คลองบางกอกนอยคลองบางกอกใหญดานฝงธนบุรี ดานฝงพระนครตั้งแตแมน้ำ
เจาพระยาจนถึงคลองผดุงกรุงเกษมซึ่งชุมชนและพื้นที่มีความคงสภาพที่
ไมเปลี่ยนแปลงมากนัก เนื่องจากความเจริญและการพัฒนาของกรุงเทพมหานคร
ที่ผานมานั้นเปนการขยายออกไปรอบนอกพื้นที่
อยางไรก็ตาม ขณะนี้พื้นที่ภายในกรุงเทพมหานครกำลังจะเกิดการ ‘บูม’
เนื่องจากการสรางระบบขนสงมวลชนที่กำลังผานเขาไปในพื้นที่กลางกรุง
ทำใหไมสามารถมองขามถึงความสำคัญของพื้นที่ประวัติศาสตร
และจำเปนตองมีการสรางมาตรการเพื่อรักษาคงคุณคาไว โดยการบริหารจัดการ
ระดับเมืองสรางมาตรการทั้งทางดานการผังเมืองและทางดานการฟนฟูวัฒนธรรม
โดยจะทำอยางไรจึงจะหาความสมดุลไดระหวางความเจริญดานโครงสรางพื้นฐาน
ของเมืองและมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาของเมืองที่ยั่งยืนและทัดเทียมกับ
เมืองสำคัญอื่นๆ ของโลก
Note
กำหนดการงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
“วิธีการและกลไกในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร”
ณ หองเอนกประสงค ชั้น ๑ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร
วันพุธที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๕.๐๐ น.
๐๙.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. ลงทะเบียน
๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ประธานกลาวเปดการสัมมนา :
นายสัญญา ชีนิมิตร รองปลัดกรุงเทพมหานคร
กลาวรายงานโดย :
ดร.เกรียงพล พัฒนรัฐ ผูอำนวยการสำนักผังเมือง
กรุงเทพมหานคร
๑) นำเสนอ
“ หลักการ และวิธีการในการปกปองแหลงวัฒนธรรม ”
๒) เสนอแนะวิธีการและกลไก
ในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร
โดย : ผศ.ดร ยงธนิศร พิมลเสถียร
อาจารยสาขาวิชาการผังเมือง
คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
๓) สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอเสนอแนะ
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. – พักรับประทานอาหารกลางวัน -
๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. รวมกันออกแบบ “วิธีการ และกลไก
ในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร”
นำโดย ผศ.ดร ยงธนิศร พิมลเสถียร
อาจารยสาขาวิชาการผังเมือง
คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
๑๕.๐๐ น. ปดการสัมมนา
ดำเนินรายการโดย : คุณปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส และ คุณฉัตรวิชัย พรหมทัตตเวที
Note
ความเป็นมา
การเสวนาครั้งนี้มีที่มา 2 ประการ
ประการแรก
กรุงเทพมหานครไดรับมอบภารกิจดานการดูแลรักษาโบราณสถานจากกรมศิลปากร
ซึ่งโบราณสถานสวนใหญเปน วัด ที่ขึ้นทะเบียนแลว แตหนวยงานที่รับผิดชอบคือ
สำนักผังเมืองกรุงเทพมหานครเห็นวา ยังมี พื้นที่อื่นๆ ที่มีความสำคัญและนับเปน
แหลงมรดกวัฒนธรรม เชน อาคารเกา ตึกแถวเกา ชุมชนดั้งเดิม ซึ่งไมไดขึ้นทะเบียน
โบราณสถาน แตก็ควรจะรักษาไว จะมีวิธีการอยางไร
ประการที่ 2
นอกจากกรุงรัตนโกสินทรซึ่งเปนพื้นที่ประวัติศาสตรที่มีความสำคัญแลว บริเวณพื้นที่
ตอเนื่องทั้งฝงพระนครและฝงธนบุรีก็มีความสำคัญทางวัฒนธรรมเชนกัน
แตเนื่องจากมาตรการทางผังเมืองในปจจุบันยังไมไดลงรายละเอียดในเรื่องนี้
จึงควรมีการหาหนทางในการรักษาและพัฒนาพื้นที่ใหมีความตอเนื่องและเหมาะสม
กับคุณคาความสำคัญของพื้นที่อยางจริงจัง
ลักษณะการเสวนา
ลักษณะการเสวนาเปนการหารือผูที่เกี่ยวของกับแหลงมรดกวัฒนธรรมใน
กรุงเทพมหานคร ทั้งภาคราชการ ภาคเอกชน เจาของที่ดิน ชุมชน ผูอยูอาศัย
กลุมวิชาการและ สื่อสารมวลชน ในเรื่องของ วิธีการ มาตรการ และกลไก
ในการรักษาแหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร
โดยชวงเชาเปนการนำเสนอสถานการณ วิธีการและกลไกที่มีการใชกันในเมืองตางๆ
สวนชวงบายจะเปนการรวมกันพิจารณาวาวิธีการและกลไกใดที่เหมาะสมกับพื้นที่
ทางวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร
Note
คำศัพท์ที่ใช้ในการเสวนา
แหลงมรดกวัฒนธรรม
แหลงมรดกวัฒนธรรมสำหรับการเสวนาครั้งนี้ คือ บริเวณ พื้นที่ หรือสิ่งกอสราง ที่มี
ความสำคัญทางประวัติศาสตร โบราณคดี เทคนิคการกอสราง ศิลปกรรม ซึ่งมีทั้ง
สิ่งที่จับตองไดและจับตองไมได
วิธีการ
หมายถึง รูปแบบของการพิจารณาสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางเปนระบบ
ในการเสวนานี้ มีหลักพิจารณาแหลงมรดกวัฒนธรรมดังนี้
• ความแตกตางระหวางแหลงมรดกวัฒนธรรมที่เปนโบราณสถานกับอาคารสามัญ
• แหลงมรดกวัฒนธรรมกับสิทธิในทรัพยสิน
• การกำหนดและรับรองแหลงมรดกวัฒนธรรม
Note่
มาตรการ
มาตรการ หมายถึง แผนหรือการดำเนินการใดๆ ที่ทำเพื่อใหบรรลุจุดประสงค
มาตรการในการเสวนาครั้งนี้ จึงหมายถึงการดำเนินการใดๆ เพื่อใหสามารถรักษา
แหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครไวได
• การประกาศพื้นที่หรือยานที่มีความสำคัญ
• การกำหนดแนวทางการพัฒนา
• แรงจูงใจ
กลไก
กลไก หมายถึง กระบวนการที่จัดทำขึ้นเพื่อรองรับสถานการณที่ (จะ) เกิดขึ้น
ในการเสวนานี้ หมายถึงกระบวนการที่รองรับเมื่อเกิดโครงการหรือความตองการ
ในการพัฒนาที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแหลงมรดกวัฒนธรรมของ
กรุงเทพมหานคร
• การอนุญาตโครงการพัฒนาตางๆ
• คณะกรรมการประวัติศาสตร
Note
ความหมาย แหล่งมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพฯ
แหลงมรดกวัฒนธรรมแตละแหงมีคุณคาและความสำคัญไมเหมือนกันแตใช
หลักคิดเดียวกันคือ
- มีความสำคัญทางประวัติศาสตรในดานใด เกี่ยวพันกับบุคคล เหตุการณ
สำคัญอะไร และอยางไร
- มีหรือเปนหลักฐานที่บงบอกถึงอารยธรรมของมนุษยในอดีตหรือไม
- มีสิ่งกอสรางที่มีความงามหรือใชเทคโนโลยีที่แสดงออกถึง ความสามารถของ
มนุษยหรือไม
- มีวิถีชีวิต ธรรมเนียมปฏิบัติที่ยังคงสืบตอมาจนปจจุบันหรือไม
แหลงมรดกวัฒนธรรม เปนผลงานที่มาจากการสั่งสมของบรรพชนในอดีต
เมื่อสูญสลายไปแลวไมสามารถทำแทนขึ้นมาใหมไดอีก ไมวากรณีใดๆ
แหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร ประกอบไปดวยสิ่งที่จับตองได เชน
สภาพแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น และที่จับตองไมได เชน ความเชื่อ องคความรู ฯลฯ
ทั้งสองสวนนี้แยกออกจากกันไมได ตัวอยางเชน ชุมชนตึกแถวเกาที่มีรานคา
ที่มีชื่อเสียงมาหลายชั่วอายุ หรือรานอาหารที่สืบเนื่องกันมาจากรุนสูรุน ซึ่งตองใช
ความชำนาญเฉพาะของครอบครัวนั้นๆ
การรักษาแหลงมรดกวัฒนธรรม เปนสิ่งที่แสดงใหเห็นวา กรุงเทพมหานครไดสนใจ
ดูแลชาวกรุงเทพฯ ใหสามารถดำรงชีวิตอยางสืบเนื่องตอไปในอนาคต สามารถรักษา
เอกลักษณและความเปนเมืองแหงวัฒนธรรมที่หลกหลายซึ่งมีมาตั้งแตอดีต
ไมมีเมืองใดในภูมิภาคเสมอเหมือนได
Note
ความหมายและความสัมพันธของสิ่งที่จับตองไดและจับตองไมได
ในแหลงมรดกวัฒนธรรมเดียวกัน
(Janet Pillai 2013)
Note
วิธีการในการพิจารณาแหล่งมรดกวัฒนธรรม
ประเด็นที่ 1
ความแตกตางระหวางแหลงมรดกวัฒนธรรมที่เปนโบราณสถานกับอาคารสามัญ
• การใชประโยชน โบราณสถานสวนใหญไมมีผูอยูอาศัย ไมมีการใชประโยชนอื่นใด
สามารถอนุรักษไดงาย อาคารสามัญมีการใชประโยชนตอเนื่อง ตองคำนึงถึง
ความตองการในปจจุบันดวย
• กรรมสิทธิ์ โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลวสวนใหญเปนพื้นที่ของรัฐหรือองคการ
สาธารณะ การเจรจาเปนไปไดงายกวาอาคารสามัญซึ่งสวนใหญเปนของเอกชนและ
มีการซื้อขายเปลี่ยนมือได
ประเด็นที่ 2
แหลงมรดกวัฒนธรรมกับสิทธิในทรัพยสิน
• มรดกวัฒนธรรม เปนงานสรางสรรคของบรรพชนและมีคุณคาแกคนในยุคปจจุบัน
ในทางสากลถือวาผูถือกรรมสิทธิ์ปจจุบัน เปนเพียงผูดูแล มีหนาที่สงผานงานที่
สรางสรรคจากอดีตนี้ใหคนรุนตอไป
ประเด็นที่ 3
การรับรองแหลงมรดกวัฒนธรรม
ในการระบุและกำหนดวาพื้นที่ใดมีคุณคาความสำคัญเปนแหลงมรดกวัฒนธรรม
ตองมีหนวยงานที่รับผิดชอบและมีอำนาจดำเนินการ
• การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน เปนวิธีการสากลที่ใชกันมากที่สุด ในหลายกรณี
พบวาไมเหมาะสมกับพื้นที่ที่มีคนอยูอาศัยและมีกรรมสิทธิ์เปนของเอกชนเนื่องจาก
ประเด็นของการรอนสิทธิ์
• การขึ้นบัญชีอาคารสำคัญ เปนวิธีที่ใชในกรณีของอาคารสามัญซึ่งสวนใหญเปน
เรื่องของทองถิ่นกับชุมชน
แผนภูมิอย่างง่าย
แสดงขันตอนในกระบวนการขออนุญาตโครงการพัฒนา
ในพืนที่ที่มีแหล่งมรดกวัฒนธรรม
้
้ ่ ่
โครงการที่จะพัฒนา
ตรวจสอบขอกำหนดผังเมือง
ผลกระทบแหลงมรดกฯ
ขออนุญาตตามเงื่อนไขอื่นๆ(ถามี)
ควบคุมอาคาร
พระปรางควัดอรุณฯ กับ ตึกแถวในยานราชวงศ – จักรวรรดิ์
แหงใดถือเปนแหลงมรดกวัฒนธรรม?
กลไก
กลไล หมายถึงกระบวนการรองรับเมื่อเกิดโครงการหรือความตองการในการพัฒนา
ในแหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร
แหลงมรดกวัฒนธรรมที่มีการรับรองโดยทางราชการ จะตองมีกลไกเพื่อรองรับการ
เปลี่ยนแปลงหรือโครงการพัฒนาใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น มิฉะนั้นจะไมมีหลักประกันวา
แหลงมรดกวัฒนธรรมนั้นๆ จะสามารถคงคุณคาความสำคัญไวได กลไกนี้บางที
เรียกวา การประเมินผลกระทบมรดกวัฒนธรรม (Heritage Impact Assessment –
HIA) ซึ่งมีองคประกอบสำคัญ 2 ประการ ดังนี้
• กระบวนการอนุญาตโครงการพัฒนา การขออนุญาตปลูกสรางอาคารหรือ
โครงการพัฒนาใดๆ ตามปกติจะตองผานการพิจารณาจากทางราชการอยางนอย
2 ขั้น คือ ขอกำหนดทางผังเมือง กับ ขอกำหนดควบคุมอาคาร นอกจากนั้น
ยังอาจตองผานการพิจารณาจากขอกำหนดอื่นๆ เชน โรงงาน
หรือผลกระทบสิ่งแวดลอม และในกรณีของแหลงมรดกวัฒนธรรมก็มีการพิจารณา
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตอแหลงมรดกวัฒนธรรมดวย ซึ่งการพิจารณานี้จะตองเกิดขึ้น
กอนการขออนุญาตโครงการและปลูกสรางอาคาร
• คณะกรรมการประวัติศาสตร ในขั้นตอนของการพิจารณาผลกระทบแหลง
มรดกวัฒนธรรม จำเปนตองใชผูที่มีความรูเฉพาะทาง จึงตองมีการจัดตั้ง
คณะกรรมการกลั่นกรองที่ประกอบไปดวยความเชี่ยวชาญทางดานประวัติศาสตร
โบราณคดี สถาปตยกรรม ผังเมือง การพัฒนาอสังหาริมทรัพย รวมทั้งกฎหมาย
(มหาชน) เพื่อชวยเจาของโครงการในการหาหนทางในการพัฒนาที่มีผลกระทบ
ตอแหลงมรดกวัฒนธรรมใหนอยที่สุด
มาตรการ
มาตรการ หมายถึง การดำเนินการใดๆ เพื่อใหสามารถรักษาแหลงมรดกวัฒนธรรม
ของกรุงเทพฯ ไวได
มาตรการที่ใชสำหรับแหลงมรดกวัฒนธรรมที่มีความซับซอนกวาโบราณสถาน
ตองเขาใจสถานการณดังตอไปนี้
1) มีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องตลอดเวลา ทั้งการใชสอย กลุมผูใช
กรรมสิทธิ์ ราคาทรัพยสิน ฯลฯ
2) ในพื้นที่หนึ่งมีความหลากหลาย มีทั้งสิ่งกอสรางที่มีคุณคา ไมมีคุณคา
แปลงที่ดินโลงรอการพัฒนา
มาตรการที่ใชกันสำหรับลักษณะพื้นที่ที่มีความหลากหลาย มีดังนี้
• การประกาศพื้นที่หรือยานที่มีความสำคัญ ทางราชการเปนผูประกาศ เพื่อให
ทุกฝายไดทราบวา พื้นที่นั้นๆ มีคุณคาความสำคัญ มีความพิเศษ ตองระมัดระวัง
ในเรื่องของการพัฒนามิใหทำลายคุณคามรดกวัฒนธรรมของพื้นที่
• การกำหนดแนวทางการพัฒนา หมายถึงการระบุวาสวนตางๆ ที่อยูในพื้นที่
ที่มีความสำคัญตองทำอยางไรบาง เชน
- อาคารหรือพื้นที่ที่มีความสำคัญ ควรใชแนวทางการอนุรักษดวยวิธีการตางๆ
- อาคารที่ไมมีความสำคัญ ควรใชแนวทางการปรับปรุงที่สงเสริมสถาพแวดลอม
- อาคารที่จะกอสรางใหม ควรใชแนวทางที่ไมทำลายคุณคาของพื้นที่
• แรงจูงใจ เพื่อลดแรงกดดันเรื่องการรอนสิทธิ์ในอาคารหรือพื้นที่ที่มีความสำคัญ
ทางวัฒนธรรม ทางราชการมักจะจัดหาแรงจูงใจเพื่อใหเจาของอาคารหันมารักษา
อาคารแทนการทุบทิ้งแลวสรางใหม โดยมีมาตรการตางๆ แรงจูงใจดังกลาวนี้
เจาของอาคารจะไมไดรับโดยอัตโนมัติแตจะไดรับก็ตอเมื่อมีการดำเนินการอนุรักษ
อาคารเทานั้น แรงจูงใจดังกลาวจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อรัฐรับรองวาการรักษาอาคาร
หรือแหลงมรดกวัฒนธรรมนั้นเปนประโยชนสาธารณะ
- มาตรการทางภาษี เชน การนำคาใชจายในการซอมแซมอาคาร
มาหักลดภาษีใดๆ ที่ตองจายใหแกรัฐ จะเปนภาษีแบบใดแลวแตพื้นที่นั้นๆ
- การใหเงินอุดหนุน บางแหงมีการใหเงินอุดหนุนเพื่อการบำรุงรักษา
ในฐานะที่เจาของอาคารไมทุบอาคารทิ้ง
- การสมทบคาซอมแซม คือการออกคาใชจายในการซอมระหวาง
เจาของอาคารกับรัฐ โดยรัฐกำหนดเงื่อนไขในรายละเอียด
- การโอนสิทธิการพัฒนา เปนมาตรการทางผังเมืองที่ใหมีการโอนสิทธิ์
การพัฒนาของอาคารอนุรักษที่ไมสามารถทำไดไปยังอาคารในพื้นที่สงเสริม
การพัฒนา โดยอาคารที่ไดรับสิทธิ์การพัฒนาตองจายเงินทดแทนใหอาคารอนุรักษ
เจาของอาคารอนุรักษก็สามารถนำเงินนั้นมาซอมแซมอาคารได
www.nyc.gov

More Related Content

Viewers also liked

Entramos en kenia
Entramos en keniaEntramos en kenia
Entramos en kenia
elagit
 

Viewers also liked (11)

Nguyen van hung presentation
Nguyen van hung presentationNguyen van hung presentation
Nguyen van hung presentation
 
Entramos en kenia
Entramos en keniaEntramos en kenia
Entramos en kenia
 
QuÉDate En Silencio
QuÉDate En SilencioQuÉDate En Silencio
QuÉDate En Silencio
 
PHALADEEPIKA - CHAPTER 21
PHALADEEPIKA - CHAPTER 21PHALADEEPIKA - CHAPTER 21
PHALADEEPIKA - CHAPTER 21
 
Industrias criativas albino
Industrias criativas albinoIndustrias criativas albino
Industrias criativas albino
 
Tukkie summer v2_n19
Tukkie summer v2_n19Tukkie summer v2_n19
Tukkie summer v2_n19
 
Epilepsia
EpilepsiaEpilepsia
Epilepsia
 
Test
TestTest
Test
 
01
0101
01
 
Bernabe avalos marin
Bernabe avalos marinBernabe avalos marin
Bernabe avalos marin
 
Séptima sesión
Séptima sesiónSéptima sesión
Séptima sesión
 

Similar to เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ

บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
ปิยนันท์ ราชธานี
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
คุกกี้ ซังกะตัง
 
ครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
guidekik
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
S-ruthai
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
Mr-Dusit Kreachai
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
pentanino
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
กฤตพร สุดสงวน
 

Similar to เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ (10)

บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
 
V 288
V 288V 288
V 288
 
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
 
ครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 6พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 

เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ

  • 2. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “วิธีการและกลไกในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร” จัดโดย : สำนักผังเมืองกรุงเทพมหานคร รวมกับ เครือขายอนุรักษมรดกวัฒนธรรมและชุมชนในพื้นที่บริเวณตอเนื่องกรุงรัตนโกสินทร ณ หองเอนกประสงค ชั้น ๑ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร สัมมนาฯ ณ หองเอนกประสงค ชั้น ๑ หอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร ในวันพุธที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๕.๐๐ น กรุงเทพมหานครเมื่อเปรียบเทียบกับมหานครตางๆทั่วโลก จัดวามีมรดกวิถีชีวิตและสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรมคอนขางสูง มีการสราง สะสม สืบทอดกันมาตั้งแตสมัยสรางกรุงสองรอยกวาปมาแลว และกลาวไดวาบางอยาง สืบทอดมาจากกรุงศรีอยุธยาก็วาได มรดกดังกลาวถือวามีคุณคาตอชาวกรุงเทพฯ และเปนของคูบานคูเมืองสังคมไทยโดยรวมอีกทั้งยังมีความหลากหลายทาง เชื้อชาติ และวัฒนธรรม แสดงถึงคุณคาของการอยูรวมกันในสังคมไทยมาแตโบราณ สำหรับชาวตางประเทศก็เปนเสนหที่ไดมาสัมผัสในการมาเยือนกรุงเทพฯ มรดกของกรุงเทพฯ ที่กลาวถึง อยูในจุดตางๆ ของบริเวณเมืองเกาตั้งแต คลองบางกอกนอยคลองบางกอกใหญดานฝงธนบุรี ดานฝงพระนครตั้งแตแมน้ำ เจาพระยาจนถึงคลองผดุงกรุงเกษมซึ่งชุมชนและพื้นที่มีความคงสภาพที่ ไมเปลี่ยนแปลงมากนัก เนื่องจากความเจริญและการพัฒนาของกรุงเทพมหานคร ที่ผานมานั้นเปนการขยายออกไปรอบนอกพื้นที่ อยางไรก็ตาม ขณะนี้พื้นที่ภายในกรุงเทพมหานครกำลังจะเกิดการ ‘บูม’ เนื่องจากการสรางระบบขนสงมวลชนที่กำลังผานเขาไปในพื้นที่กลางกรุง ทำใหไมสามารถมองขามถึงความสำคัญของพื้นที่ประวัติศาสตร และจำเปนตองมีการสรางมาตรการเพื่อรักษาคงคุณคาไว โดยการบริหารจัดการ ระดับเมืองสรางมาตรการทั้งทางดานการผังเมืองและทางดานการฟนฟูวัฒนธรรม โดยจะทำอยางไรจึงจะหาความสมดุลไดระหวางความเจริญดานโครงสรางพื้นฐาน ของเมืองและมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาของเมืองที่ยั่งยืนและทัดเทียมกับ เมืองสำคัญอื่นๆ ของโลก Note
  • 3. กำหนดการงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “วิธีการและกลไกในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร” ณ หองเอนกประสงค ชั้น ๑ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร วันพุธที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ๐๙.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. ลงทะเบียน ๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ประธานกลาวเปดการสัมมนา : นายสัญญา ชีนิมิตร รองปลัดกรุงเทพมหานคร กลาวรายงานโดย : ดร.เกรียงพล พัฒนรัฐ ผูอำนวยการสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ๑) นำเสนอ “ หลักการ และวิธีการในการปกปองแหลงวัฒนธรรม ” ๒) เสนอแนะวิธีการและกลไก ในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร โดย : ผศ.ดร ยงธนิศร พิมลเสถียร อาจารยสาขาวิชาการผังเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๓) สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอเสนอแนะ ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. – พักรับประทานอาหารกลางวัน - ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. รวมกันออกแบบ “วิธีการ และกลไก ในการรักษามรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร” นำโดย ผศ.ดร ยงธนิศร พิมลเสถียร อาจารยสาขาวิชาการผังเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๑๕.๐๐ น. ปดการสัมมนา ดำเนินรายการโดย : คุณปองขวัญ (สุขวัฒนา) ลาซูส และ คุณฉัตรวิชัย พรหมทัตตเวที Note
  • 4. ความเป็นมา การเสวนาครั้งนี้มีที่มา 2 ประการ ประการแรก กรุงเทพมหานครไดรับมอบภารกิจดานการดูแลรักษาโบราณสถานจากกรมศิลปากร ซึ่งโบราณสถานสวนใหญเปน วัด ที่ขึ้นทะเบียนแลว แตหนวยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักผังเมืองกรุงเทพมหานครเห็นวา ยังมี พื้นที่อื่นๆ ที่มีความสำคัญและนับเปน แหลงมรดกวัฒนธรรม เชน อาคารเกา ตึกแถวเกา ชุมชนดั้งเดิม ซึ่งไมไดขึ้นทะเบียน โบราณสถาน แตก็ควรจะรักษาไว จะมีวิธีการอยางไร ประการที่ 2 นอกจากกรุงรัตนโกสินทรซึ่งเปนพื้นที่ประวัติศาสตรที่มีความสำคัญแลว บริเวณพื้นที่ ตอเนื่องทั้งฝงพระนครและฝงธนบุรีก็มีความสำคัญทางวัฒนธรรมเชนกัน แตเนื่องจากมาตรการทางผังเมืองในปจจุบันยังไมไดลงรายละเอียดในเรื่องนี้ จึงควรมีการหาหนทางในการรักษาและพัฒนาพื้นที่ใหมีความตอเนื่องและเหมาะสม กับคุณคาความสำคัญของพื้นที่อยางจริงจัง ลักษณะการเสวนา ลักษณะการเสวนาเปนการหารือผูที่เกี่ยวของกับแหลงมรดกวัฒนธรรมใน กรุงเทพมหานคร ทั้งภาคราชการ ภาคเอกชน เจาของที่ดิน ชุมชน ผูอยูอาศัย กลุมวิชาการและ สื่อสารมวลชน ในเรื่องของ วิธีการ มาตรการ และกลไก ในการรักษาแหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร โดยชวงเชาเปนการนำเสนอสถานการณ วิธีการและกลไกที่มีการใชกันในเมืองตางๆ สวนชวงบายจะเปนการรวมกันพิจารณาวาวิธีการและกลไกใดที่เหมาะสมกับพื้นที่ ทางวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร Note
  • 5. คำศัพท์ที่ใช้ในการเสวนา แหลงมรดกวัฒนธรรม แหลงมรดกวัฒนธรรมสำหรับการเสวนาครั้งนี้ คือ บริเวณ พื้นที่ หรือสิ่งกอสราง ที่มี ความสำคัญทางประวัติศาสตร โบราณคดี เทคนิคการกอสราง ศิลปกรรม ซึ่งมีทั้ง สิ่งที่จับตองไดและจับตองไมได วิธีการ หมายถึง รูปแบบของการพิจารณาสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางเปนระบบ ในการเสวนานี้ มีหลักพิจารณาแหลงมรดกวัฒนธรรมดังนี้ • ความแตกตางระหวางแหลงมรดกวัฒนธรรมที่เปนโบราณสถานกับอาคารสามัญ • แหลงมรดกวัฒนธรรมกับสิทธิในทรัพยสิน • การกำหนดและรับรองแหลงมรดกวัฒนธรรม Note่
  • 6. มาตรการ มาตรการ หมายถึง แผนหรือการดำเนินการใดๆ ที่ทำเพื่อใหบรรลุจุดประสงค มาตรการในการเสวนาครั้งนี้ จึงหมายถึงการดำเนินการใดๆ เพื่อใหสามารถรักษา แหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครไวได • การประกาศพื้นที่หรือยานที่มีความสำคัญ • การกำหนดแนวทางการพัฒนา • แรงจูงใจ กลไก กลไก หมายถึง กระบวนการที่จัดทำขึ้นเพื่อรองรับสถานการณที่ (จะ) เกิดขึ้น ในการเสวนานี้ หมายถึงกระบวนการที่รองรับเมื่อเกิดโครงการหรือความตองการ ในการพัฒนาที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแหลงมรดกวัฒนธรรมของ กรุงเทพมหานคร • การอนุญาตโครงการพัฒนาตางๆ • คณะกรรมการประวัติศาสตร Note
  • 7. ความหมาย แหล่งมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพฯ แหลงมรดกวัฒนธรรมแตละแหงมีคุณคาและความสำคัญไมเหมือนกันแตใช หลักคิดเดียวกันคือ - มีความสำคัญทางประวัติศาสตรในดานใด เกี่ยวพันกับบุคคล เหตุการณ สำคัญอะไร และอยางไร - มีหรือเปนหลักฐานที่บงบอกถึงอารยธรรมของมนุษยในอดีตหรือไม - มีสิ่งกอสรางที่มีความงามหรือใชเทคโนโลยีที่แสดงออกถึง ความสามารถของ มนุษยหรือไม - มีวิถีชีวิต ธรรมเนียมปฏิบัติที่ยังคงสืบตอมาจนปจจุบันหรือไม แหลงมรดกวัฒนธรรม เปนผลงานที่มาจากการสั่งสมของบรรพชนในอดีต เมื่อสูญสลายไปแลวไมสามารถทำแทนขึ้นมาใหมไดอีก ไมวากรณีใดๆ แหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร ประกอบไปดวยสิ่งที่จับตองได เชน สภาพแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น และที่จับตองไมได เชน ความเชื่อ องคความรู ฯลฯ ทั้งสองสวนนี้แยกออกจากกันไมได ตัวอยางเชน ชุมชนตึกแถวเกาที่มีรานคา ที่มีชื่อเสียงมาหลายชั่วอายุ หรือรานอาหารที่สืบเนื่องกันมาจากรุนสูรุน ซึ่งตองใช ความชำนาญเฉพาะของครอบครัวนั้นๆ การรักษาแหลงมรดกวัฒนธรรม เปนสิ่งที่แสดงใหเห็นวา กรุงเทพมหานครไดสนใจ ดูแลชาวกรุงเทพฯ ใหสามารถดำรงชีวิตอยางสืบเนื่องตอไปในอนาคต สามารถรักษา เอกลักษณและความเปนเมืองแหงวัฒนธรรมที่หลกหลายซึ่งมีมาตั้งแตอดีต ไมมีเมืองใดในภูมิภาคเสมอเหมือนได Note
  • 9. วิธีการในการพิจารณาแหล่งมรดกวัฒนธรรม ประเด็นที่ 1 ความแตกตางระหวางแหลงมรดกวัฒนธรรมที่เปนโบราณสถานกับอาคารสามัญ • การใชประโยชน โบราณสถานสวนใหญไมมีผูอยูอาศัย ไมมีการใชประโยชนอื่นใด สามารถอนุรักษไดงาย อาคารสามัญมีการใชประโยชนตอเนื่อง ตองคำนึงถึง ความตองการในปจจุบันดวย • กรรมสิทธิ์ โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลวสวนใหญเปนพื้นที่ของรัฐหรือองคการ สาธารณะ การเจรจาเปนไปไดงายกวาอาคารสามัญซึ่งสวนใหญเปนของเอกชนและ มีการซื้อขายเปลี่ยนมือได ประเด็นที่ 2 แหลงมรดกวัฒนธรรมกับสิทธิในทรัพยสิน • มรดกวัฒนธรรม เปนงานสรางสรรคของบรรพชนและมีคุณคาแกคนในยุคปจจุบัน ในทางสากลถือวาผูถือกรรมสิทธิ์ปจจุบัน เปนเพียงผูดูแล มีหนาที่สงผานงานที่ สรางสรรคจากอดีตนี้ใหคนรุนตอไป ประเด็นที่ 3 การรับรองแหลงมรดกวัฒนธรรม ในการระบุและกำหนดวาพื้นที่ใดมีคุณคาความสำคัญเปนแหลงมรดกวัฒนธรรม ตองมีหนวยงานที่รับผิดชอบและมีอำนาจดำเนินการ • การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน เปนวิธีการสากลที่ใชกันมากที่สุด ในหลายกรณี พบวาไมเหมาะสมกับพื้นที่ที่มีคนอยูอาศัยและมีกรรมสิทธิ์เปนของเอกชนเนื่องจาก ประเด็นของการรอนสิทธิ์ • การขึ้นบัญชีอาคารสำคัญ เปนวิธีที่ใชในกรณีของอาคารสามัญซึ่งสวนใหญเปน เรื่องของทองถิ่นกับชุมชน แผนภูมิอย่างง่าย แสดงขันตอนในกระบวนการขออนุญาตโครงการพัฒนา ในพืนที่ที่มีแหล่งมรดกวัฒนธรรม ้ ้ ่ ่ โครงการที่จะพัฒนา ตรวจสอบขอกำหนดผังเมือง ผลกระทบแหลงมรดกฯ ขออนุญาตตามเงื่อนไขอื่นๆ(ถามี) ควบคุมอาคาร
  • 10. พระปรางควัดอรุณฯ กับ ตึกแถวในยานราชวงศ – จักรวรรดิ์ แหงใดถือเปนแหลงมรดกวัฒนธรรม? กลไก กลไล หมายถึงกระบวนการรองรับเมื่อเกิดโครงการหรือความตองการในการพัฒนา ในแหลงมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร แหลงมรดกวัฒนธรรมที่มีการรับรองโดยทางราชการ จะตองมีกลไกเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงหรือโครงการพัฒนาใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น มิฉะนั้นจะไมมีหลักประกันวา แหลงมรดกวัฒนธรรมนั้นๆ จะสามารถคงคุณคาความสำคัญไวได กลไกนี้บางที เรียกวา การประเมินผลกระทบมรดกวัฒนธรรม (Heritage Impact Assessment – HIA) ซึ่งมีองคประกอบสำคัญ 2 ประการ ดังนี้ • กระบวนการอนุญาตโครงการพัฒนา การขออนุญาตปลูกสรางอาคารหรือ โครงการพัฒนาใดๆ ตามปกติจะตองผานการพิจารณาจากทางราชการอยางนอย 2 ขั้น คือ ขอกำหนดทางผังเมือง กับ ขอกำหนดควบคุมอาคาร นอกจากนั้น ยังอาจตองผานการพิจารณาจากขอกำหนดอื่นๆ เชน โรงงาน หรือผลกระทบสิ่งแวดลอม และในกรณีของแหลงมรดกวัฒนธรรมก็มีการพิจารณา ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตอแหลงมรดกวัฒนธรรมดวย ซึ่งการพิจารณานี้จะตองเกิดขึ้น กอนการขออนุญาตโครงการและปลูกสรางอาคาร • คณะกรรมการประวัติศาสตร ในขั้นตอนของการพิจารณาผลกระทบแหลง มรดกวัฒนธรรม จำเปนตองใชผูที่มีความรูเฉพาะทาง จึงตองมีการจัดตั้ง คณะกรรมการกลั่นกรองที่ประกอบไปดวยความเชี่ยวชาญทางดานประวัติศาสตร โบราณคดี สถาปตยกรรม ผังเมือง การพัฒนาอสังหาริมทรัพย รวมทั้งกฎหมาย (มหาชน) เพื่อชวยเจาของโครงการในการหาหนทางในการพัฒนาที่มีผลกระทบ ตอแหลงมรดกวัฒนธรรมใหนอยที่สุด
  • 11. มาตรการ มาตรการ หมายถึง การดำเนินการใดๆ เพื่อใหสามารถรักษาแหลงมรดกวัฒนธรรม ของกรุงเทพฯ ไวได มาตรการที่ใชสำหรับแหลงมรดกวัฒนธรรมที่มีความซับซอนกวาโบราณสถาน ตองเขาใจสถานการณดังตอไปนี้ 1) มีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องตลอดเวลา ทั้งการใชสอย กลุมผูใช กรรมสิทธิ์ ราคาทรัพยสิน ฯลฯ 2) ในพื้นที่หนึ่งมีความหลากหลาย มีทั้งสิ่งกอสรางที่มีคุณคา ไมมีคุณคา แปลงที่ดินโลงรอการพัฒนา มาตรการที่ใชกันสำหรับลักษณะพื้นที่ที่มีความหลากหลาย มีดังนี้ • การประกาศพื้นที่หรือยานที่มีความสำคัญ ทางราชการเปนผูประกาศ เพื่อให ทุกฝายไดทราบวา พื้นที่นั้นๆ มีคุณคาความสำคัญ มีความพิเศษ ตองระมัดระวัง ในเรื่องของการพัฒนามิใหทำลายคุณคามรดกวัฒนธรรมของพื้นที่ • การกำหนดแนวทางการพัฒนา หมายถึงการระบุวาสวนตางๆ ที่อยูในพื้นที่ ที่มีความสำคัญตองทำอยางไรบาง เชน - อาคารหรือพื้นที่ที่มีความสำคัญ ควรใชแนวทางการอนุรักษดวยวิธีการตางๆ - อาคารที่ไมมีความสำคัญ ควรใชแนวทางการปรับปรุงที่สงเสริมสถาพแวดลอม - อาคารที่จะกอสรางใหม ควรใชแนวทางที่ไมทำลายคุณคาของพื้นที่ • แรงจูงใจ เพื่อลดแรงกดดันเรื่องการรอนสิทธิ์ในอาคารหรือพื้นที่ที่มีความสำคัญ ทางวัฒนธรรม ทางราชการมักจะจัดหาแรงจูงใจเพื่อใหเจาของอาคารหันมารักษา อาคารแทนการทุบทิ้งแลวสรางใหม โดยมีมาตรการตางๆ แรงจูงใจดังกลาวนี้ เจาของอาคารจะไมไดรับโดยอัตโนมัติแตจะไดรับก็ตอเมื่อมีการดำเนินการอนุรักษ อาคารเทานั้น แรงจูงใจดังกลาวจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อรัฐรับรองวาการรักษาอาคาร หรือแหลงมรดกวัฒนธรรมนั้นเปนประโยชนสาธารณะ - มาตรการทางภาษี เชน การนำคาใชจายในการซอมแซมอาคาร มาหักลดภาษีใดๆ ที่ตองจายใหแกรัฐ จะเปนภาษีแบบใดแลวแตพื้นที่นั้นๆ - การใหเงินอุดหนุน บางแหงมีการใหเงินอุดหนุนเพื่อการบำรุงรักษา ในฐานะที่เจาของอาคารไมทุบอาคารทิ้ง - การสมทบคาซอมแซม คือการออกคาใชจายในการซอมระหวาง เจาของอาคารกับรัฐ โดยรัฐกำหนดเงื่อนไขในรายละเอียด - การโอนสิทธิการพัฒนา เปนมาตรการทางผังเมืองที่ใหมีการโอนสิทธิ์ การพัฒนาของอาคารอนุรักษที่ไมสามารถทำไดไปยังอาคารในพื้นที่สงเสริม การพัฒนา โดยอาคารที่ไดรับสิทธิ์การพัฒนาตองจายเงินทดแทนใหอาคารอนุรักษ เจาของอาคารอนุรักษก็สามารถนำเงินนั้นมาซอมแซมอาคารได www.nyc.gov