SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
(Children with special needs )
อ.ตฤณ แจ่มถิน
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
( Early Childhood with special needs )
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
1. ทางการแพทย์
มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า “เด็กพิการ”
หมายถึง
เด็กที่มีความผิดปกติ มีความบกพร่อง สูญเสีย
สมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทาง
กาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ
2. ทางการศึกษา
ให้ความหมายเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่าหมายถึง
เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของ
ตัวเอง ซึ่งจาเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็ก
ปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้ และ
การประเมินผล
สรุปได้ว่าเด็กที่มีความต้องการพิเศษหมายถึง
• เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้
การช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ
• มีสาเหตุจากสภาพความ บกพร่องทางร่างกาย
สติปัญญา และอารมณ์
• จาเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ
การบาบัด และฟื้นฟู
• จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะ
และความต้องการของเด็กแต่ละบุคล
พฤติกรรมและพัฒนาการ
ของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
• การเปลี่ยนแปลงในด้านการทาหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะ
ต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
• ทาให้สามารถทาหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
• เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
• พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้าน
หรือทุกด้าน
• พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการใน
ด้านอื่นล่าช้าด้วยก็ได้
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
• ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
• ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
• ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
• ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
สาเหตุที่ทาให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. พันธุกรรม
• เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ชั่ว
ระยะไม่นานหลังเกิด มักมีลักษณะผิดปกติแต่กาเนิดร่วม
ด้วย
Cleft Lip / Cleft Palate
ธาลัสซีเมีย
2. โรคของระบบประสาท
• เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมี
อาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย
• ที่พบบ่อยคืออาการชัก
3. การติดเชื้อ
• การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้าหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
กว่าปกติ อาจมีตับม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก
• นอกจากนี้การติดเชื้อรุนแรงภายหลังเกิด เช่น สมองอักเสบ เยื้อ
หุ้มสมองอักเสบ เป็นสาเหตุที่พบได้บ้าง
4. ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
• โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมน
ในเลือดต่า
5. ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
• การเกิดก่อนกาหนด น้าหนักตัวแรกเกิดน้อย และภาวะ
ขาดออกซิเจน
6. สารเคมี
• ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
• มีอากาศซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดาหมองคล้าเป็นจุดๆ
• ภาวะตับเป็นพิษ
• ระดับสติปัญญาต่า
• น้าหนักแรกเกิดน้อย
• มีอัตราการเพิ่มน้าหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
• พัฒนาการของสติปัญญาก็มีความบกพร่อง
• เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
แอลกอฮอล์
Fetal alcohol syndrome, FAS
• ช่องตาสั้น
• ร่องริมฝีปากบนเรียบ
• ริมฝีปากบนยาวและบาง
• หนังคลุมหัวตามาก
• จมูกแบน
• ปลายจมูกเชิดขึ้น
• น้าหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
• เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก
• สติปัญญาบกพร่อง
• สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
นิโคติน
7. การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม
รวมทั้งการขาดสารอาหาร
8. สาเหตุอื่นๆ
อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
• มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า 1 ด้าน
• ปฏิกิริยาสะท้อน (primitive reflex) ไม่หายไป
แม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
แนวทางการวินิจฉัย
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. การซักประวัติ
• โรคประจาตัว โรคทางพันธุกรรม
• การเจ็บป่วยในครอบครัว
• ประวัติฝากครรภ์
• ประวัติเกี่ยวกับการคลอด
• พัฒนาการที่ผ่านมา
• การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
• ปัญหาพฤติกรรม
• ประวัติอื่นๆ
เมื่อซักประวัติแล้วจะสามารถบอกได้ว่า
• ลักษณะพัฒนาการล่าช้าเป็นแบบคงที่ หรือถดถอย
• เด็กมีระดับพัฒนาการช้าหรือไม่ อย่างไร อยู่ในระดับไหน
• มีข้อบ่งชี้ว่ามีสาเหตุจากโรคทางพันธุกรรมหรือไม่
• สาเหตุของความบกพร่องทางพัฒนาการนั้นเกิดจากอะไร
• ขณะนี้เด็กได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูอย่างไร
2. การตรวจร่างกาย
• ตรวจร่างกายทั่วๆไปและการเจริญเติบโต
• ภาวะตับม้ามโต
• ผิวหนัง
• ระบบประสาทและวัดรอบศีรษะด้วยเสมอ
• ดูลักษณะของเด็กที่ถูกทารุณกรรม (child abuse)
• ระบบการมองเห็นและการได้ยิน
3. การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4.การประเมินพัฒนาการ
• การประเมินแบบไม่เป็นทางการ
การประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ
• แบบทดสอบ Denver II
• Gesell Drawing Test
• แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
อายุแรกเกิด - 5 ปี สถาบันราชานุกูล

More Related Content

What's hot

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
Decode Ac
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
Decode Ac
 
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
krusupap
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
คนสวย ฉัน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
Decode Ac
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
guest5ec5625
 
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemการย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
Pat Pataranutaporn
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
Decode Ac
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
kruuni
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
chunkidtid
 

What's hot (20)

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemการย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 

Similar to เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )

เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
CMRU
 
Blened learning(school)
Blened learning(school)Blened learning(school)
Blened learning(school)
iyabest
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
1707253417072534
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
Darika Roopdee
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ss
 
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
Napadon Yingyongsakul
 

Similar to เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs ) (12)

2
22
2
 
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
 
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
 
Blened learning(school)
Blened learning(school)Blened learning(school)
Blened learning(school)
 
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษการส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
9789740335535
97897403355359789740335535
9789740335535
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
 
แอลดี1
แอลดี1แอลดี1
แอลดี1
 
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
 

More from Pitchayakarn Nitisahakul

More from Pitchayakarn Nitisahakul (6)

ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาบทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
 
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองบทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
 

เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )