SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
โครงก าร
โรงเรีย นสํ า หรั บ เด็ ก พิ ก ารทาง
             ร า งก าย



             โดย นางสาวสุธิด า สัจ จะหฤทั ย 49050019
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



        ที่มาและเหตุผลในการศึกษาโครงการ
พิจารณาจากความจําเปนตางๆดังนี้

          1.จํานวนเด็กพิการในประเทศ
            จากการสํารวจของฝายระบบสารสนเทศ ศูนยสารนิเทศของกระทรวงศึกษาธิการ
ไดประมาณเกี่ยวกับเด็กพิการในชวงแรกเกิดถึง 25 ป ของทุกเขตการศึกษาของประเทศ
ไทยในป พ.ศ. 2537 มีจํานวน 43,934 คน และจํานวนของคนพิการที่มีอายุ 25 ป ขึ้นไป
ที่ยังอยูในชวงการศึกษา 30,017 คน

         ดังนั้นจึงมีจํานวนคนพิการที่อยูในชวงการศึกษาในปพ.ศ.2537 ประมาณ
73,951คน โดยในบรรดาเด็กพิการเหลานี้มีจํานวนเด็กพิการทางรางกาย 25,601 คน ซึ่ง
เปนประเภทความพิการที่มีจํานวนมากที่สุด
2. จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกาย
         จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกายมีไมเพียงพอกับจํานวน
เด็กพิการที่ตองการเขาเรียน ซึ่งจากจํานวนปจจุบันมี
โรงเรียนสําหรับเด็กพิการ เพียง 3 แหง คือ

         1.โรงเรียนศึกษาพิเศษขอนแกน
         2.โรงเรียนศรีสังวาลย นนทบุรี และที่
         3.โรงเรียนศรีสังวาลย เชียงใหม

         ทําใหมีขอจํากัดในการรับเด็กเพราะทางโรงเรียนรับเด็กไดจํากัดทําใหเด็กพิการ
ทางรางกายอีกจํานวนมากยังไมมีโอกาสไดเขารับการศึกษาและบําบัด
3. ปญหาของเด็กพิการในการเรียนรวมกับเด็กปกติ
เด็กพิการที่เขาเรียนรวมกับเด็กปกติจะมีปญหา เนื่องจาก

         1.ตองเปนภาระที่ตองดูแลพิเศษของครูซึ่งครูในโรงเรียนเด็กปกติทั่วไปไมมี
ความรูพอในสอนเด็กพิการทําใหอาจเปนปญหาในการศึกษา

          2.ปญหาที่เด็กพิการไมสามารถเขากับเด็กปกติไดซึ่งทําใหเกิดแรงกดดันทําให
เด็กพิการเกิดปมดอยขึ้นทางรางกายและจิตใจ

         3. สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆสําหรับความพิการภายในโรงเรียนปกติ
โดยทั่วไปยังมีไมพรอม
4. ปญหาที่เกิดจากการรวมศูนยบําบัดคนพิการทุกประเภทเขาไวดวยกัน
           การรวมคนพิการทุกประเภทเขาดวยกันทําใหการดูแลคนพิการแตละประเภท
ไมทั่วถึงเพราะคนพิการทางรางกายมีความเฉพาะตางจากคนพิการประเภทอื่นๆ เกิด
ปญหาในการใชอาคารและการดูแลในดานการศึกษาอยางมาก ดังจะเห็นตัวอยางจาก
สถานสงเคราะหคนพิการบานปากเกร็ดที่แตเดิมรับคนพิการทุกประเภทไวดูแลและเกิด
ปญหาในการดูแล แตปจจุบันทางสถานสงเคราะหไดแยกสวนคนพิการทางรางกายกับ
สติปญญาออกจากกันเพื่อลดปญหาที่เกิดขึ้น

          ดังนั้นการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับคนพิการทางรางกายจึงเปนการแกปญหาอยาง
ยั่งยืนเพราะสามารถที่จะพัฒนาไดอยางเปนระบบทั้งการบําบัดและใหการศึกษาควบคูกับ
การฝกอาชีพที่ชอบไดอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเองของเด็กพิการ
สามารถที่จะใชชีวิตอยางปกติสุขในสังคมตอไป
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



       ความเปนมาของโครงการ
ความเปนมาของโครงการ
         องคกรยูเนสโกและสหประชาชาติไดเคยสํารวจจํานวนเด็กพิการในประเทศ
ตางๆ และสรุปไดวาเด็กพิการทุกประเภทในแตละประเทศมีประมาณ 10 % ของ
ประชากรทั้งหมด ขณะที่ตัวเลขการสํารวจในประเทศไทยมีประมาณ 8.4 % ซึ่ง
คาดการณวานาจะมีมากกวานั้น ประกอบกับเด็กปกติมีโอกาสทางการศึกษาถึง 96%
ในขณะที่เด็กที่มีความพิการทางการไดยินมีโอกาสทางการศึกษาถึง 20 % และเด็กที่มี
ความพิการทางรางกายหรือการเคลื่อนไหวมีโอกาสนอยสุดคือ 0.96 %
จึงไดตระหนักวา ความพิการของประชากรเปนปญหาสําคัญที่จะตองพิจารณากอน
กําหนดมาตราการทั้งในการปองกัน แกไข และการฟนฟูที่มีประสิทธิ์ภาพ ในปจจุบันนี้
โรงเรียนสําหรับเด็กพิการทางรางกายยังมีไมเพียงพอกับจํานวนเด็กพิการทางรางกาย
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



                   วัตถุประสงคของโครงการ
วัตถุประสงคของโครงการ
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใชอาคารที่เปนเด็กพิการทางรางกายเพื่อนํามาใชในการ
ออกแบบ

2. เพื่อศึกษาแนวทางในการออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูใชงานทางดาน
การศึกษา

3. เพื่อศึกษากิจกรรมของผูที่เขามาใชงานภายในโรงเรียนเพื่อประโยชนในการออกแบบให
ตอบสนองตอความตองการอยางมีประสิทธิภาพ

4. ศึกษาสวนประกอบตางๆของอาคาร วิเคราะหทําเลที่ตั้ง เลือกที่ตั้งอาคารใหเหมาะสม
เก็บรวบรวมขอมูลตางๆ เพื่อใชในการจัดวางอาคารและรูปแบบสถาปตยกรรมที่เหมาะสม
กับพิการ
วัตถุประสงคของโครงการ

5. เพื่อศึกษากิจกรรมบุคคลเฉพาะ กลุมเจาหนาที่ กลุมคนพิการ กลุมคนที่เขามาติดตอ
เพื่อใชเปนขอมูลประกอบในการออกแบบและหารูปแบบสถาปตยกรรมใหเหมาะสม

6. เพื่อศึกษาถึงระบบของอาคาร เชน ระบบไฟฟา ระบบประปา ระบบโครงสราง
ระบบสุขาภิบาลเปนตน
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย


    ขอบเขตโครงการ
ขอบเขตโครงการ
การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการ

   1.ศึกษาองคประกอบและความสัมพันธขององคกรที่เกี่ยวของ

   2.ศึกษาอาคารประเภทเดียวกันทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อในขอมูลมา
   เปรียบเทียบถึงขอดี – ขอเสีย

   3.ศึกษาขอมูลของกิจกรรมภายในโครงการและหนาที่ การใชสอยอาคาร
   ความสัมพันธของกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ

   4.ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง สภาพแวดลอมของที่ตั้ง รายละเอียดในดานการใชที่
   กฎหมาย และขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการ
ขอบเขตโครงการ
   5.เปนโครงการที่รับเด็กพิการรางกาย ซึ่งเด็กพิการทางรางกายอายุตั้งแต 6-15
   ปที่มีความพิการดานรางกายโดยไมมีความพิการดานสมองและปญญา

   6.เปดการเรียนการสอนตั้งแตระดับชั้นประถมจนถึงมัธยมตนตามหลักสูตร
   จากโรงเรียนศรีสังวาลย และกองศึกษาพิเศษเพื่อคนพิการ

   7.มีสวนของกายภาพบําบัดเนนการบําบัดดานกลาเนื้อ-การเคลื่อนไหว โดยอยู
   ในการดูแลของนักกายภาพบําบัดหากมีอาการแทรกซอนตองสงถึงมือแพทย
   ในโรงบาล

   8.เปนโรงเรียนที่เด็กสามารถเดินทางไป-กลับ เพื่อความใกลชิดกับผูปกครอง
   และมีสวนหอพักสําหรับเด็กประจํา
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



                           ประโยชนที่คาดวาไดรับ
ประโยชนที่คาดวาไดรับ

1. ตอบสนองวัตถุประสงคโครงการดานสังคมและเกิดประโยชนแกการลงทุนของรัฐบาล

2. กอใหเกิดความรูและประสบการณแกผูศึกษาโครงการ ไดแก
      2.1 เกิดการเรียนรูขั้นตอนการทํางานของรัฐบาลในการจัดตั้งโครงการ
      2.2 ไดประสบการณของกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงจากการคนควาขอมูลจากโครงการตัวอยาง
      2.3 ไดประสบการณดานทัศนคติ แนวความคิด และวิถีชีวิตของเด็กพิการ
      2.4 สามารถนําความรูดานปญหาการเคลื่อนไหวของเด็กพิการลักษณะตางๆมาประยุกตใน
การออกแบบที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองแดคนพิการ
       2.5 ทราบถึงระบบตางๆ ที่เลือกใชภายในโครงการไดเปรียบเทียบขอดี ขอเสีย งานระบบ
ตางๆ
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



                      ขั้นตอนการดําเนินงาน
ขั้นตอนการดําเนินงาน

1. ศึกษาโครงการเบื้องตน ความเปนมาของโครงการและองคประกอบของโครงการ

2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการดานกายภาพ นโยบาย ดานเศรษฐกิจ สังคมเพื่อเปนแนวทางใน
การออกแบบตอไป

3. นําขอมูลที่ไดมารวบรวมแลวนํามาวิเคราะห เพื่อหาขนาดความตองการของโครงการ ตลอดจน
ความสัมพันธขององคประกอบโครงการ

4. เลือกวิเคราะหทําเลที่ตั้งของโครงการ

5. นําขอมูลที่วิเคราะหแลวนํามาออกแบบอาคารใหถูกตองตามประโยชนใชสอยและความตองการ
ของโครงการ

6. เสนอแนวความคิดในการออกแบบและผลงานในรูปแบบเอกสารงานออกแบบและหุนจําลอง
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย




          องคประกอบหลักของอาคาร
องคประกอบและหลักของอาคาร

•สวนบริหาร
•สวนการศึกษา
•สวนสนับสนุนการศึกษา
•สวนกายภาพบําบัด
•สวนหอพักสําหรับนักเรียนประจํา
•สวนหอพักบุคคลากร
•สวนบริการทั่วไป
•สวนปฎิบัติการ
•ลานจอดรถ
•สวนการสนับสนุนการศึกษา
•สวนนันทนาการ
ขอบคุณคะ

More Related Content

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1

เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)1707253417072534
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ss
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5kruchaily
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ngor
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ Nithimar Or
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการPattima Burapholkul
 

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1 (20)

เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
2
22
2
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1

  • 1. โครงก าร โรงเรีย นสํ า หรั บ เด็ ก พิ ก ารทาง ร า งก าย โดย นางสาวสุธิด า สัจ จะหฤทั ย 49050019
  • 2. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ที่มาและเหตุผลในการศึกษาโครงการ
  • 3.
  • 4. พิจารณาจากความจําเปนตางๆดังนี้ 1.จํานวนเด็กพิการในประเทศ จากการสํารวจของฝายระบบสารสนเทศ ศูนยสารนิเทศของกระทรวงศึกษาธิการ ไดประมาณเกี่ยวกับเด็กพิการในชวงแรกเกิดถึง 25 ป ของทุกเขตการศึกษาของประเทศ ไทยในป พ.ศ. 2537 มีจํานวน 43,934 คน และจํานวนของคนพิการที่มีอายุ 25 ป ขึ้นไป ที่ยังอยูในชวงการศึกษา 30,017 คน ดังนั้นจึงมีจํานวนคนพิการที่อยูในชวงการศึกษาในปพ.ศ.2537 ประมาณ 73,951คน โดยในบรรดาเด็กพิการเหลานี้มีจํานวนเด็กพิการทางรางกาย 25,601 คน ซึ่ง เปนประเภทความพิการที่มีจํานวนมากที่สุด
  • 5. 2. จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกาย จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกายมีไมเพียงพอกับจํานวน เด็กพิการที่ตองการเขาเรียน ซึ่งจากจํานวนปจจุบันมี โรงเรียนสําหรับเด็กพิการ เพียง 3 แหง คือ 1.โรงเรียนศึกษาพิเศษขอนแกน 2.โรงเรียนศรีสังวาลย นนทบุรี และที่ 3.โรงเรียนศรีสังวาลย เชียงใหม ทําใหมีขอจํากัดในการรับเด็กเพราะทางโรงเรียนรับเด็กไดจํากัดทําใหเด็กพิการ ทางรางกายอีกจํานวนมากยังไมมีโอกาสไดเขารับการศึกษาและบําบัด
  • 6. 3. ปญหาของเด็กพิการในการเรียนรวมกับเด็กปกติ เด็กพิการที่เขาเรียนรวมกับเด็กปกติจะมีปญหา เนื่องจาก 1.ตองเปนภาระที่ตองดูแลพิเศษของครูซึ่งครูในโรงเรียนเด็กปกติทั่วไปไมมี ความรูพอในสอนเด็กพิการทําใหอาจเปนปญหาในการศึกษา 2.ปญหาที่เด็กพิการไมสามารถเขากับเด็กปกติไดซึ่งทําใหเกิดแรงกดดันทําให เด็กพิการเกิดปมดอยขึ้นทางรางกายและจิตใจ 3. สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆสําหรับความพิการภายในโรงเรียนปกติ โดยทั่วไปยังมีไมพรอม
  • 7. 4. ปญหาที่เกิดจากการรวมศูนยบําบัดคนพิการทุกประเภทเขาไวดวยกัน การรวมคนพิการทุกประเภทเขาดวยกันทําใหการดูแลคนพิการแตละประเภท ไมทั่วถึงเพราะคนพิการทางรางกายมีความเฉพาะตางจากคนพิการประเภทอื่นๆ เกิด ปญหาในการใชอาคารและการดูแลในดานการศึกษาอยางมาก ดังจะเห็นตัวอยางจาก สถานสงเคราะหคนพิการบานปากเกร็ดที่แตเดิมรับคนพิการทุกประเภทไวดูแลและเกิด ปญหาในการดูแล แตปจจุบันทางสถานสงเคราะหไดแยกสวนคนพิการทางรางกายกับ สติปญญาออกจากกันเพื่อลดปญหาที่เกิดขึ้น ดังนั้นการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับคนพิการทางรางกายจึงเปนการแกปญหาอยาง ยั่งยืนเพราะสามารถที่จะพัฒนาไดอยางเปนระบบทั้งการบําบัดและใหการศึกษาควบคูกับ การฝกอาชีพที่ชอบไดอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเองของเด็กพิการ สามารถที่จะใชชีวิตอยางปกติสุขในสังคมตอไป
  • 8. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ความเปนมาของโครงการ
  • 9. ความเปนมาของโครงการ องคกรยูเนสโกและสหประชาชาติไดเคยสํารวจจํานวนเด็กพิการในประเทศ ตางๆ และสรุปไดวาเด็กพิการทุกประเภทในแตละประเทศมีประมาณ 10 % ของ ประชากรทั้งหมด ขณะที่ตัวเลขการสํารวจในประเทศไทยมีประมาณ 8.4 % ซึ่ง คาดการณวานาจะมีมากกวานั้น ประกอบกับเด็กปกติมีโอกาสทางการศึกษาถึง 96% ในขณะที่เด็กที่มีความพิการทางการไดยินมีโอกาสทางการศึกษาถึง 20 % และเด็กที่มี ความพิการทางรางกายหรือการเคลื่อนไหวมีโอกาสนอยสุดคือ 0.96 % จึงไดตระหนักวา ความพิการของประชากรเปนปญหาสําคัญที่จะตองพิจารณากอน กําหนดมาตราการทั้งในการปองกัน แกไข และการฟนฟูที่มีประสิทธิ์ภาพ ในปจจุบันนี้ โรงเรียนสําหรับเด็กพิการทางรางกายยังมีไมเพียงพอกับจํานวนเด็กพิการทางรางกาย
  • 10. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย วัตถุประสงคของโครงการ
  • 11. วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใชอาคารที่เปนเด็กพิการทางรางกายเพื่อนํามาใชในการ ออกแบบ 2. เพื่อศึกษาแนวทางในการออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูใชงานทางดาน การศึกษา 3. เพื่อศึกษากิจกรรมของผูที่เขามาใชงานภายในโรงเรียนเพื่อประโยชนในการออกแบบให ตอบสนองตอความตองการอยางมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษาสวนประกอบตางๆของอาคาร วิเคราะหทําเลที่ตั้ง เลือกที่ตั้งอาคารใหเหมาะสม เก็บรวบรวมขอมูลตางๆ เพื่อใชในการจัดวางอาคารและรูปแบบสถาปตยกรรมที่เหมาะสม กับพิการ
  • 12. วัตถุประสงคของโครงการ 5. เพื่อศึกษากิจกรรมบุคคลเฉพาะ กลุมเจาหนาที่ กลุมคนพิการ กลุมคนที่เขามาติดตอ เพื่อใชเปนขอมูลประกอบในการออกแบบและหารูปแบบสถาปตยกรรมใหเหมาะสม 6. เพื่อศึกษาถึงระบบของอาคาร เชน ระบบไฟฟา ระบบประปา ระบบโครงสราง ระบบสุขาภิบาลเปนตน
  • 13. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ขอบเขตโครงการ
  • 14. ขอบเขตโครงการ การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการ 1.ศึกษาองคประกอบและความสัมพันธขององคกรที่เกี่ยวของ 2.ศึกษาอาคารประเภทเดียวกันทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อในขอมูลมา เปรียบเทียบถึงขอดี – ขอเสีย 3.ศึกษาขอมูลของกิจกรรมภายในโครงการและหนาที่ การใชสอยอาคาร ความสัมพันธของกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ 4.ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง สภาพแวดลอมของที่ตั้ง รายละเอียดในดานการใชที่ กฎหมาย และขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการ
  • 15. ขอบเขตโครงการ 5.เปนโครงการที่รับเด็กพิการรางกาย ซึ่งเด็กพิการทางรางกายอายุตั้งแต 6-15 ปที่มีความพิการดานรางกายโดยไมมีความพิการดานสมองและปญญา 6.เปดการเรียนการสอนตั้งแตระดับชั้นประถมจนถึงมัธยมตนตามหลักสูตร จากโรงเรียนศรีสังวาลย และกองศึกษาพิเศษเพื่อคนพิการ 7.มีสวนของกายภาพบําบัดเนนการบําบัดดานกลาเนื้อ-การเคลื่อนไหว โดยอยู ในการดูแลของนักกายภาพบําบัดหากมีอาการแทรกซอนตองสงถึงมือแพทย ในโรงบาล 8.เปนโรงเรียนที่เด็กสามารถเดินทางไป-กลับ เพื่อความใกลชิดกับผูปกครอง และมีสวนหอพักสําหรับเด็กประจํา
  • 16. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ประโยชนที่คาดวาไดรับ
  • 17. ประโยชนที่คาดวาไดรับ 1. ตอบสนองวัตถุประสงคโครงการดานสังคมและเกิดประโยชนแกการลงทุนของรัฐบาล 2. กอใหเกิดความรูและประสบการณแกผูศึกษาโครงการ ไดแก 2.1 เกิดการเรียนรูขั้นตอนการทํางานของรัฐบาลในการจัดตั้งโครงการ 2.2 ไดประสบการณของกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงจากการคนควาขอมูลจากโครงการตัวอยาง 2.3 ไดประสบการณดานทัศนคติ แนวความคิด และวิถีชีวิตของเด็กพิการ 2.4 สามารถนําความรูดานปญหาการเคลื่อนไหวของเด็กพิการลักษณะตางๆมาประยุกตใน การออกแบบที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองแดคนพิการ 2.5 ทราบถึงระบบตางๆ ที่เลือกใชภายในโครงการไดเปรียบเทียบขอดี ขอเสีย งานระบบ ตางๆ
  • 18. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ขั้นตอนการดําเนินงาน
  • 19. ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. ศึกษาโครงการเบื้องตน ความเปนมาของโครงการและองคประกอบของโครงการ 2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการดานกายภาพ นโยบาย ดานเศรษฐกิจ สังคมเพื่อเปนแนวทางใน การออกแบบตอไป 3. นําขอมูลที่ไดมารวบรวมแลวนํามาวิเคราะห เพื่อหาขนาดความตองการของโครงการ ตลอดจน ความสัมพันธขององคประกอบโครงการ 4. เลือกวิเคราะหทําเลที่ตั้งของโครงการ 5. นําขอมูลที่วิเคราะหแลวนํามาออกแบบอาคารใหถูกตองตามประโยชนใชสอยและความตองการ ของโครงการ 6. เสนอแนวความคิดในการออกแบบและผลงานในรูปแบบเอกสารงานออกแบบและหุนจําลอง
  • 20. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย องคประกอบหลักของอาคาร