SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
โครงก าร
โรงเรีย นสํ า หรั บ เด็ ก พิ ก ารทาง
             ร า งก าย



             โดย นางสาวสุธิด า สัจ จะหฤทั ย 49050019
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



        ที่มาและเหตุผลในการศึกษาโครงการ
พิจารณาจากความจําเปนตางๆดังนี้

          1.จํานวนเด็กพิการในประเทศ
            จากการสํารวจของฝายระบบสารสนเทศ ศูนยสารนิเทศของกระทรวงศึกษาธิการ
ไดประมาณเกี่ยวกับเด็กพิการในชวงแรกเกิดถึง 25 ป ของทุกเขตการศึกษาของประเทศ
ไทยในป พ.ศ. 2537 มีจํานวน 43,934 คน และจํานวนของคนพิการที่มีอายุ 25 ป ขึ้นไป
ที่ยังอยูในชวงการศึกษา 30,017 คน

         ดังนั้นจึงมีจํานวนคนพิการที่อยูในชวงการศึกษาในปพ.ศ.2537 ประมาณ
73,951คน โดยในบรรดาเด็กพิการเหลานี้มีจํานวนเด็กพิการทางรางกาย 25,601 คน ซึ่ง
เปนประเภทความพิการที่มีจํานวนมากที่สุด
2. จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกาย
         จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกายมีไมเพียงพอกับจํานวน
เด็กพิการที่ตองการเขาเรียน ซึ่งจากจํานวนปจจุบันมี
โรงเรียนสําหรับเด็กพิการ เพียง 3 แหง คือ

         1.โรงเรียนศึกษาพิเศษขอนแกน
         2.โรงเรียนศรีสังวาลย นนทบุรี และที่
         3.โรงเรียนศรีสังวาลย เชียงใหม

         ทําใหมีขอจํากัดในการรับเด็กเพราะทางโรงเรียนรับเด็กไดจํากัดทําใหเด็กพิการ
ทางรางกายอีกจํานวนมากยังไมมีโอกาสไดเขารับการศึกษาและบําบัด
3. ปญหาของเด็กพิการในการเรียนรวมกับเด็กปกติ
เด็กพิการที่เขาเรียนรวมกับเด็กปกติจะมีปญหา เนื่องจาก

         1.ตองเปนภาระที่ตองดูแลพิเศษของครูซึ่งครูในโรงเรียนเด็กปกติทั่วไปไมมี
ความรูพอในสอนเด็กพิการทําใหอาจเปนปญหาในการศึกษา

          2.ปญหาที่เด็กพิการไมสามารถเขากับเด็กปกติไดซึ่งทําใหเกิดแรงกดดันทําให
เด็กพิการเกิดปมดอยขึ้นทางรางกายและจิตใจ

         3. สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆสําหรับความพิการภายในโรงเรียนปกติ
โดยทั่วไปยังมีไมพรอม
4. ปญหาที่เกิดจากการรวมศูนยบําบัดคนพิการทุกประเภทเขาไวดวยกัน
           การรวมคนพิการทุกประเภทเขาดวยกันทําใหการดูแลคนพิการแตละประเภท
ไมทั่วถึงเพราะคนพิการทางรางกายมีความเฉพาะตางจากคนพิการประเภทอื่นๆ เกิด
ปญหาในการใชอาคารและการดูแลในดานการศึกษาอยางมาก ดังจะเห็นตัวอยางจาก
สถานสงเคราะหคนพิการบานปากเกร็ดที่แตเดิมรับคนพิการทุกประเภทไวดูแลและเกิด
ปญหาในการดูแล แตปจจุบันทางสถานสงเคราะหไดแยกสวนคนพิการทางรางกายกับ
สติปญญาออกจากกันเพื่อลดปญหาที่เกิดขึ้น

          ดังนั้นการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับคนพิการทางรางกายจึงเปนการแกปญหาอยาง
ยั่งยืนเพราะสามารถที่จะพัฒนาไดอยางเปนระบบทั้งการบําบัดและใหการศึกษาควบคูกับ
การฝกอาชีพที่ชอบไดอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเองของเด็กพิการ
สามารถที่จะใชชีวิตอยางปกติสุขในสังคมตอไป
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



       ความเปนมาของโครงการ
ความเปนมาของโครงการ
         องคกรยูเนสโกและสหประชาชาติไดเคยสํารวจจํานวนเด็กพิการในประเทศ
ตางๆ และสรุปไดวาเด็กพิการทุกประเภทในแตละประเทศมีประมาณ 10 % ของ
ประชากรทั้งหมด ขณะที่ตัวเลขการสํารวจในประเทศไทยมีประมาณ 8.4 % ซึ่ง
คาดการณวานาจะมีมากกวานั้น ประกอบกับเด็กปกติมีโอกาสทางการศึกษาถึง 96%
ในขณะที่เด็กที่มีความพิการทางการไดยินมีโอกาสทางการศึกษาถึง 20 % และเด็กที่มี
ความพิการทางรางกายหรือการเคลื่อนไหวมีโอกาสนอยสุดคือ 0.96 %
จึงไดตระหนักวา ความพิการของประชากรเปนปญหาสําคัญที่จะตองพิจารณากอน
กําหนดมาตราการทั้งในการปองกัน แกไข และการฟนฟูที่มีประสิทธิ์ภาพ ในปจจุบันนี้
โรงเรียนสําหรับเด็กพิการทางรางกายยังมีไมเพียงพอกับจํานวนเด็กพิการทางรางกาย
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



                   วัตถุประสงคของโครงการ
วัตถุประสงคของโครงการ
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใชอาคารที่เปนเด็กพิการทางรางกายเพื่อนํามาใชในการ
ออกแบบ

2. เพื่อศึกษาแนวทางในการออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูใชงานทางดาน
การศึกษา

3. เพื่อศึกษากิจกรรมของผูที่เขามาใชงานภายในโรงเรียนเพื่อประโยชนในการออกแบบให
ตอบสนองตอความตองการอยางมีประสิทธิภาพ

4. ศึกษาสวนประกอบตางๆของอาคาร วิเคราะหทําเลที่ตั้ง เลือกที่ตั้งอาคารใหเหมาะสม
เก็บรวบรวมขอมูลตางๆ เพื่อใชในการจัดวางอาคารและรูปแบบสถาปตยกรรมที่เหมาะสม
กับพิการ
วัตถุประสงคของโครงการ

5. เพื่อศึกษากิจกรรมบุคคลเฉพาะ กลุมเจาหนาที่ กลุมคนพิการ กลุมคนที่เขามาติดตอ
เพื่อใชเปนขอมูลประกอบในการออกแบบและหารูปแบบสถาปตยกรรมใหเหมาะสม

6. เพื่อศึกษาถึงระบบของอาคาร เชน ระบบไฟฟา ระบบประปา ระบบโครงสราง
ระบบสุขาภิบาลเปนตน
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย


    ขอบเขตโครงการ
ขอบเขตโครงการ
การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการ

   1.ศึกษาองคประกอบและความสัมพันธขององคกรที่เกี่ยวของ

   2.ศึกษาอาคารประเภทเดียวกันทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อในขอมูลมา
   เปรียบเทียบถึงขอดี – ขอเสีย

   3.ศึกษาขอมูลของกิจกรรมภายในโครงการและหนาที่ การใชสอยอาคาร
   ความสัมพันธของกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ

   4.ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง สภาพแวดลอมของที่ตั้ง รายละเอียดในดานการใชที่
   กฎหมาย และขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการ
ขอบเขตโครงการ
   5.เปนโครงการที่รับเด็กพิการรางกาย ซึ่งเด็กพิการทางรางกายอายุตั้งแต 6-15
   ปที่มีความพิการดานรางกายโดยไมมีความพิการดานสมองและปญญา

   6.เปดการเรียนการสอนตั้งแตระดับชั้นประถมจนถึงมัธยมตนตามหลักสูตร
   จากโรงเรียนศรีสังวาลย และกองศึกษาพิเศษเพื่อคนพิการ

   7.มีสวนของกายภาพบําบัดเนนการบําบัดดานกลาเนื้อ-การเคลื่อนไหว โดยอยู
   ในการดูแลของนักกายภาพบําบัดหากมีอาการแทรกซอนตองสงถึงมือแพทย
   ในโรงบาล

   8.เปนโรงเรียนที่เด็กสามารถเดินทางไป-กลับ เพื่อความใกลชิดกับผูปกครอง
   และมีสวนหอพักสําหรับเด็กประจํา
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



                           ประโยชนที่คาดวาไดรับ
ประโยชนที่คาดวาไดรับ

1. ตอบสนองวัตถุประสงคโครงการดานสังคมและเกิดประโยชนแกการลงทุนของรัฐบาล

2. กอใหเกิดความรูและประสบการณแกผูศึกษาโครงการ ไดแก
      2.1 เกิดการเรียนรูขั้นตอนการทํางานของรัฐบาลในการจัดตั้งโครงการ
      2.2 ไดประสบการณของกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงจากการคนควาขอมูลจากโครงการตัวอยาง
      2.3 ไดประสบการณดานทัศนคติ แนวความคิด และวิถีชีวิตของเด็กพิการ
      2.4 สามารถนําความรูดานปญหาการเคลื่อนไหวของเด็กพิการลักษณะตางๆมาประยุกตใน
การออกแบบที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองแดคนพิการ
       2.5 ทราบถึงระบบตางๆ ที่เลือกใชภายในโครงการไดเปรียบเทียบขอดี ขอเสีย งานระบบ
ตางๆ
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย



                      ขั้นตอนการดําเนินงาน
ขั้นตอนการดําเนินงาน

1. ศึกษาโครงการเบื้องตน ความเปนมาของโครงการและองคประกอบของโครงการ

2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการดานกายภาพ นโยบาย ดานเศรษฐกิจ สังคมเพื่อเปนแนวทางใน
การออกแบบตอไป

3. นําขอมูลที่ไดมารวบรวมแลวนํามาวิเคราะห เพื่อหาขนาดความตองการของโครงการ ตลอดจน
ความสัมพันธขององคประกอบโครงการ

4. เลือกวิเคราะหทําเลที่ตั้งของโครงการ

5. นําขอมูลที่วิเคราะหแลวนํามาออกแบบอาคารใหถูกตองตามประโยชนใชสอยและความตองการ
ของโครงการ

6. เสนอแนวความคิดในการออกแบบและผลงานในรูปแบบเอกสารงานออกแบบและหุนจําลอง
โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย




          องคประกอบหลักของอาคาร
องคประกอบและหลักของอาคาร

•สวนบริหาร
•สวนการศึกษา
•สวนสนับสนุนการศึกษา
•สวนกายภาพบําบัด
•สวนหอพักสําหรับนักเรียนประจํา
•สวนหอพักบุคคลากร
•สวนบริการทั่วไป
•สวนปฎิบัติการ
•ลานจอดรถ
•สวนการสนับสนุนการศึกษา
•สวนนันทนาการ
ขอบคุณคะ

More Related Content

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1

เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ss
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5kruchaily
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ngor
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ Nithimar Or
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการPattima Burapholkul
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1 (20)

เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
2
22
2
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1

  • 1. โครงก าร โรงเรีย นสํ า หรั บ เด็ ก พิ ก ารทาง ร า งก าย โดย นางสาวสุธิด า สัจ จะหฤทั ย 49050019
  • 2. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ที่มาและเหตุผลในการศึกษาโครงการ
  • 3.
  • 4. พิจารณาจากความจําเปนตางๆดังนี้ 1.จํานวนเด็กพิการในประเทศ จากการสํารวจของฝายระบบสารสนเทศ ศูนยสารนิเทศของกระทรวงศึกษาธิการ ไดประมาณเกี่ยวกับเด็กพิการในชวงแรกเกิดถึง 25 ป ของทุกเขตการศึกษาของประเทศ ไทยในป พ.ศ. 2537 มีจํานวน 43,934 คน และจํานวนของคนพิการที่มีอายุ 25 ป ขึ้นไป ที่ยังอยูในชวงการศึกษา 30,017 คน ดังนั้นจึงมีจํานวนคนพิการที่อยูในชวงการศึกษาในปพ.ศ.2537 ประมาณ 73,951คน โดยในบรรดาเด็กพิการเหลานี้มีจํานวนเด็กพิการทางรางกาย 25,601 คน ซึ่ง เปนประเภทความพิการที่มีจํานวนมากที่สุด
  • 5. 2. จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกาย จํานวนโรงเรียนที่ใหการศึกษาแกเด็กพิการทางรางกายมีไมเพียงพอกับจํานวน เด็กพิการที่ตองการเขาเรียน ซึ่งจากจํานวนปจจุบันมี โรงเรียนสําหรับเด็กพิการ เพียง 3 แหง คือ 1.โรงเรียนศึกษาพิเศษขอนแกน 2.โรงเรียนศรีสังวาลย นนทบุรี และที่ 3.โรงเรียนศรีสังวาลย เชียงใหม ทําใหมีขอจํากัดในการรับเด็กเพราะทางโรงเรียนรับเด็กไดจํากัดทําใหเด็กพิการ ทางรางกายอีกจํานวนมากยังไมมีโอกาสไดเขารับการศึกษาและบําบัด
  • 6. 3. ปญหาของเด็กพิการในการเรียนรวมกับเด็กปกติ เด็กพิการที่เขาเรียนรวมกับเด็กปกติจะมีปญหา เนื่องจาก 1.ตองเปนภาระที่ตองดูแลพิเศษของครูซึ่งครูในโรงเรียนเด็กปกติทั่วไปไมมี ความรูพอในสอนเด็กพิการทําใหอาจเปนปญหาในการศึกษา 2.ปญหาที่เด็กพิการไมสามารถเขากับเด็กปกติไดซึ่งทําใหเกิดแรงกดดันทําให เด็กพิการเกิดปมดอยขึ้นทางรางกายและจิตใจ 3. สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆสําหรับความพิการภายในโรงเรียนปกติ โดยทั่วไปยังมีไมพรอม
  • 7. 4. ปญหาที่เกิดจากการรวมศูนยบําบัดคนพิการทุกประเภทเขาไวดวยกัน การรวมคนพิการทุกประเภทเขาดวยกันทําใหการดูแลคนพิการแตละประเภท ไมทั่วถึงเพราะคนพิการทางรางกายมีความเฉพาะตางจากคนพิการประเภทอื่นๆ เกิด ปญหาในการใชอาคารและการดูแลในดานการศึกษาอยางมาก ดังจะเห็นตัวอยางจาก สถานสงเคราะหคนพิการบานปากเกร็ดที่แตเดิมรับคนพิการทุกประเภทไวดูแลและเกิด ปญหาในการดูแล แตปจจุบันทางสถานสงเคราะหไดแยกสวนคนพิการทางรางกายกับ สติปญญาออกจากกันเพื่อลดปญหาที่เกิดขึ้น ดังนั้นการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับคนพิการทางรางกายจึงเปนการแกปญหาอยาง ยั่งยืนเพราะสามารถที่จะพัฒนาไดอยางเปนระบบทั้งการบําบัดและใหการศึกษาควบคูกับ การฝกอาชีพที่ชอบไดอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเองของเด็กพิการ สามารถที่จะใชชีวิตอยางปกติสุขในสังคมตอไป
  • 8. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ความเปนมาของโครงการ
  • 9. ความเปนมาของโครงการ องคกรยูเนสโกและสหประชาชาติไดเคยสํารวจจํานวนเด็กพิการในประเทศ ตางๆ และสรุปไดวาเด็กพิการทุกประเภทในแตละประเทศมีประมาณ 10 % ของ ประชากรทั้งหมด ขณะที่ตัวเลขการสํารวจในประเทศไทยมีประมาณ 8.4 % ซึ่ง คาดการณวานาจะมีมากกวานั้น ประกอบกับเด็กปกติมีโอกาสทางการศึกษาถึง 96% ในขณะที่เด็กที่มีความพิการทางการไดยินมีโอกาสทางการศึกษาถึง 20 % และเด็กที่มี ความพิการทางรางกายหรือการเคลื่อนไหวมีโอกาสนอยสุดคือ 0.96 % จึงไดตระหนักวา ความพิการของประชากรเปนปญหาสําคัญที่จะตองพิจารณากอน กําหนดมาตราการทั้งในการปองกัน แกไข และการฟนฟูที่มีประสิทธิ์ภาพ ในปจจุบันนี้ โรงเรียนสําหรับเด็กพิการทางรางกายยังมีไมเพียงพอกับจํานวนเด็กพิการทางรางกาย
  • 10. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย วัตถุประสงคของโครงการ
  • 11. วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใชอาคารที่เปนเด็กพิการทางรางกายเพื่อนํามาใชในการ ออกแบบ 2. เพื่อศึกษาแนวทางในการออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูใชงานทางดาน การศึกษา 3. เพื่อศึกษากิจกรรมของผูที่เขามาใชงานภายในโรงเรียนเพื่อประโยชนในการออกแบบให ตอบสนองตอความตองการอยางมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษาสวนประกอบตางๆของอาคาร วิเคราะหทําเลที่ตั้ง เลือกที่ตั้งอาคารใหเหมาะสม เก็บรวบรวมขอมูลตางๆ เพื่อใชในการจัดวางอาคารและรูปแบบสถาปตยกรรมที่เหมาะสม กับพิการ
  • 12. วัตถุประสงคของโครงการ 5. เพื่อศึกษากิจกรรมบุคคลเฉพาะ กลุมเจาหนาที่ กลุมคนพิการ กลุมคนที่เขามาติดตอ เพื่อใชเปนขอมูลประกอบในการออกแบบและหารูปแบบสถาปตยกรรมใหเหมาะสม 6. เพื่อศึกษาถึงระบบของอาคาร เชน ระบบไฟฟา ระบบประปา ระบบโครงสราง ระบบสุขาภิบาลเปนตน
  • 13. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ขอบเขตโครงการ
  • 14. ขอบเขตโครงการ การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการ 1.ศึกษาองคประกอบและความสัมพันธขององคกรที่เกี่ยวของ 2.ศึกษาอาคารประเภทเดียวกันทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อในขอมูลมา เปรียบเทียบถึงขอดี – ขอเสีย 3.ศึกษาขอมูลของกิจกรรมภายในโครงการและหนาที่ การใชสอยอาคาร ความสัมพันธของกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ 4.ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง สภาพแวดลอมของที่ตั้ง รายละเอียดในดานการใชที่ กฎหมาย และขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการ
  • 15. ขอบเขตโครงการ 5.เปนโครงการที่รับเด็กพิการรางกาย ซึ่งเด็กพิการทางรางกายอายุตั้งแต 6-15 ปที่มีความพิการดานรางกายโดยไมมีความพิการดานสมองและปญญา 6.เปดการเรียนการสอนตั้งแตระดับชั้นประถมจนถึงมัธยมตนตามหลักสูตร จากโรงเรียนศรีสังวาลย และกองศึกษาพิเศษเพื่อคนพิการ 7.มีสวนของกายภาพบําบัดเนนการบําบัดดานกลาเนื้อ-การเคลื่อนไหว โดยอยู ในการดูแลของนักกายภาพบําบัดหากมีอาการแทรกซอนตองสงถึงมือแพทย ในโรงบาล 8.เปนโรงเรียนที่เด็กสามารถเดินทางไป-กลับ เพื่อความใกลชิดกับผูปกครอง และมีสวนหอพักสําหรับเด็กประจํา
  • 16. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ประโยชนที่คาดวาไดรับ
  • 17. ประโยชนที่คาดวาไดรับ 1. ตอบสนองวัตถุประสงคโครงการดานสังคมและเกิดประโยชนแกการลงทุนของรัฐบาล 2. กอใหเกิดความรูและประสบการณแกผูศึกษาโครงการ ไดแก 2.1 เกิดการเรียนรูขั้นตอนการทํางานของรัฐบาลในการจัดตั้งโครงการ 2.2 ไดประสบการณของกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงจากการคนควาขอมูลจากโครงการตัวอยาง 2.3 ไดประสบการณดานทัศนคติ แนวความคิด และวิถีชีวิตของเด็กพิการ 2.4 สามารถนําความรูดานปญหาการเคลื่อนไหวของเด็กพิการลักษณะตางๆมาประยุกตใน การออกแบบที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองแดคนพิการ 2.5 ทราบถึงระบบตางๆ ที่เลือกใชภายในโครงการไดเปรียบเทียบขอดี ขอเสีย งานระบบ ตางๆ
  • 18. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย ขั้นตอนการดําเนินงาน
  • 19. ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. ศึกษาโครงการเบื้องตน ความเปนมาของโครงการและองคประกอบของโครงการ 2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการดานกายภาพ นโยบาย ดานเศรษฐกิจ สังคมเพื่อเปนแนวทางใน การออกแบบตอไป 3. นําขอมูลที่ไดมารวบรวมแลวนํามาวิเคราะห เพื่อหาขนาดความตองการของโครงการ ตลอดจน ความสัมพันธขององคประกอบโครงการ 4. เลือกวิเคราะหทําเลที่ตั้งของโครงการ 5. นําขอมูลที่วิเคราะหแลวนํามาออกแบบอาคารใหถูกตองตามประโยชนใชสอยและความตองการ ของโครงการ 6. เสนอแนวความคิดในการออกแบบและผลงานในรูปแบบเอกสารงานออกแบบและหุนจําลอง
  • 20. โรงเรีย นสํ า หรับ เด็ ก พิ ก ารทางรา งก าย องคประกอบหลักของอาคาร