SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4.0
ผศ.นพ.สุนทร วงษ์ศิริ และคณะ
26 ตุลาคม 2563
คณะทํางานโครงการมหาวิทยาลัย 4.0 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (16 ท่าน)
PSU Dream Team for University 4.0 Mission
ผศ.นพ.สุนทร วงษ์ศิริ
ประธานคณะทํางาน
2
ผศ.ดร.ตติยาพร จารุมณีรัตน์
Ph.D. (Hospitality and Food Management)
คณะทํางาน
รศ.ดร.กาญจน์สุนภัศ บาลทิพย์
Ph.D. (Nursing)
คณะทํางาน
ผศ.ดร.เอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี
Ph.D. (Polymer Technology)
คณะทํางาน
ดร.อัตชัย เอื้ออนันตสันต์
Ph.D. (Research Methodology)
คณะทํางาน
ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ จินดาบถ
Ph.D. (Marketing)
คณะทํางาน
ผศ.ดร.วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์
Ph.D. (Public Admin & Policy)
คณะทํางาน
ดร.พลชาติ โชติการ
Ph.D. (Sciences)
คณะทํางาน
นายสิทานนท์ อมตเวทย์
นักทรัพย์สินทางปัญญา
คณะทํางาน
นางสาวอารยา พวงแก้ว
คณะทํางาน
ผศ.ดร.มาลี สบายยิ่ง
Ph.D. (HR & Community Dev.)
คณะทํางานและเลขานุการ
นางสุดารัตน์ วาณิชวิริยะ
หน.ฝ่ายแผน&บริหาร RDO
ผู้ช่วยเลขานุการ
ผศ.ดร. ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์
Ph.D. (Pharmacy)
คณะทํางาน
ดร.ณัฐพล บุญนํา
Sc.D. (Mathematics)
คณะทํางาน
ดร. พงศกร พิชยดนย์
Ph.D. (Technopreneurship
and innovation Management)
คณะทํางาน
รศ.นพ.สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุทธยา
Ph.D. (Philosophy in Medical
Science) คณะทํางาน
ลําดับการนําเสนอ
ฉากทัศน์
สัญญาณ
สําคัญ
วิเคราะห์
สภาพแวดล้อม
(SWOT)
ข้อมูลพื้นฐาน
และแนวโน้ม
3
ข้อมูลพื้นฐานและแนวโน้ม
4
การเก็บข้อมูล
5
ข้อมูลทุติยภูมิ
ระดมสมอง
สํารวจ
สัมภาษณ์
👧 นักศึกษาปัจจุบัน
👨 บุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน
👦 ศิษย์เก่า
👧 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในภาคใต้
👩 ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
👪 พันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัย
970 คน
70 คน
จํานวนนักศึกษาแบ่งตามวิทยาเขตปี พ.ศ. 2558-2562
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
Surat Thani Trang Phuket Pattani Hat Yai Total
2558 2559 2560 2561 2562
6
จํานวนนักศึกษารับเข้าระดับปริญญาตรีในแต่ะละวิทยาเขต
ปี พ.ศ. 2558 – 2562
0
1,000
2,000
3,000
4,000
5,000
6,000
7,000
8,000
หาดใหญ่ ปัตตานี ภูเก็ต สุราษฎร์ฯ ตรัง รวม
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
หาดใหญ่
48%
ปัตตานี
22%
ภูเก็ต
8%
สุราษฎร์
ฯ
12%
ตรัง
10%
7
จํานวนนักศึกษารับเข้าระดับปริญญาตรีในแต่ะละวิทยาเขต
ปี พ.ศ. 2558 – 2562
-
200
400
600
800
1,000
1,200
1,400
1,600
หาดใหญ่ ปัตตานี ภูเก็ต สุราษฎร์ ตรัง รวม
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
หาดใหญ่
68%
ปัตตานี
26% ภูเก็ต
3%
สุราษฎร์
ธานี
2%
ตรัง
1%
Other
3%
8
คณะที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2559-2562
ของจํานวนนักศึกษาสูงสุด 7 อันดับแรก
0 10 20 30 40 50 60
สัตวแพทยศาสตร์
นิติศาสตร์
พยาบาลศาสตร์ วข ปัตตานี
รัฐศาสตร์
แพทย์แผนไทย
ศิลปกรรมศาสตร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์
9
คณะที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2559-2562
ของจํานวนนักศึกษาตํ่าสุด 7 อันดับแรก
-25 -20 -15 -10 -5 0
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง
การจัดการสิ่งแวดล้อม
วิทยาลัยนานาชาติ
อิสลามศึกษา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
10
การคาดการณ์จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ตามกลุ่มสาขาวิชา
21,892 21,657
20,915
19,186
17,935
17,028
15,958
14,888
13,818
12,74912,338 12,149
11,355
10,353
9,685
8,953
8,234
7,516
6,798
6,080
3,927 3,967 4,088 4,210 4,258 4,386 4,518 4,588 4,719 4,789
-
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567
กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
*จํานวนคาดการณ์ อักษรสีแดง
11
การคาดการณ์จํานวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ตามกลุ่มสาขาวิชา
2,123
1,844
1,665
1,436
1,347
1,116
923
729
535
342
2,026
1,732
1,605 1,557
1,463
1,312
1,186
1,060
934
808
1,194
1,035
979
856
758
641
587
441
387
241
-
500
1,000
1,500
2,000
2,500
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567
กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
*จํานวนคาดการณ์ อักษรสีแดง
12
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
S~W~O~T
13
STRENGTH
Image HRFinance Data & Tech
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง
และเป็นที่ยอมรับ โดยเฉพาะ เกษตร อาหาร และสุขภาพ
มหาวิทยาลัยมีทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถทาง
วิชาการและมีความเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์เป็นที่พึ่งของชุมชน
มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงมากว่า 50 ปี และมีความน่าเชื่อถือ
14
WEAKNESS
มีทรัพยากรบุคคลไม่โดดเด่น ขาดความสามารถในการทํางานร่วมกัน ไม่
สามารถทํางานเป็นทีม มีจํานวนสายสนับสนุนมากเกินไป
ทิศทางไม่ชัดเจน ขาดการลงทุนสร้างความเข้มแข็งและการยอมรับ
ขาดระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี และไม่มีข้อมูลที่ดีในการตัดสินใจ การ
บริหารทรัพยากร และไม่สามารถสะท้อนความเป็นจริงได้
ขาดระบบการเงินการคลังที่ดี ไม่ทราบภาพรวมของทรัพย์สิน
Image
HR
Finance
Data & Tech
มีหน่วยงาน และหลักสูตรที่ซํ้าซ้อน ขาดการบูรณาการ ขาดความ
เชื่อมโยงเพื่อสร้างความเข้มแข็ง มี product มาก แต่ Value ตํ่า
ทํางานแบบราชการติดกรอบ ไม่ยืดหยุ่น ไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลง
ขาดการเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอก ทําให้ขาดความสัมพันธ์อันดี
ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ขาด Social engagement
15
OPPORTUNITY
Image HRFinance Data & Tech
การพัฒนาของเทคโนโลยีส่งผลทําให้ระบบการจัดการ การ
เรียนการสอน และการเข้าถึงมหาวิทยาลัยดีขึ้น
มหาวิทยาลัยมีความได้เปรียบเชิงพื้นที่มีโอกาสเข้าถึงได้ง่าย
และมีโอกาสในการนําทรัพยากรที่หลากหลายมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์
ทิศทางของกระทรวงเน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความ
ต้องการ reskill upskill ซึ่งมหาวิทยาลัยจะเป็นหน่วยงาน
หลักในการดําเนินการเรื่องนี้ได้ดี
16
THREAT
Image HRFinance Data & Tech
งบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐที่ลดลง รูปแบบการ
สนับสนุนงานวิจัยที่เปลี่ยนไป ต้องเน้นการวิจัยแบบมุ่งเป้าที่เป็น
ประโยชน์ต่อสังคมมากขึ้น จึงจะได้รับการจัดสรรทุน
การแข่งขันทางการศึกษาเพิ่มสูงขึ้น และมีผู้เล่นใหม่ ๆ เข้ามาใน
ระบบ
การพัฒนาเทคโนโลยีทําให้ความได้เปรียบเชิงพื้นที่ลดลง เกิด
Disruptive ในวงการการศึกษาที่รุนแรงและหลากหลายมากขึ้น
ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้
17
S W
O
กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy)
- มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ
ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ
หลากหลายของบุคลากร
- การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ
เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์
จากการเรียนรู้ในพื้นที่
กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy)
- พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ
จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์
Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด
- นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด
ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ
ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
- การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง
ทางการสื่อสารที่หลากหลาย
T
กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy)
- พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ
เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้
เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
- ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น
ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ
ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน
และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม
กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy)
- พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ
และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่
- ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด
ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า
- พัฒนา PSU system
- พัฒนา One stop service ในการเป็น
contact point
18
Image
HR
Image HR
Finance Data & Tech
HR
Finance
Data & Tech
Image
Finance
Data & Tech
SWOT
STRATEGIES
S W
O
กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy)
- มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ
ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ
หลากหลายของบุคลากร
- การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ
เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์
จากการเรียนรู้ในพื้นที่
กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy)
- พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ
จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์
Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด
- นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด
ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ
ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
- การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง
ทางการสื่อสารที่หลากหลาย
T
กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy)
- พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ
เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้
เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
- ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น
ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ
ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน
และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม
กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy)
- พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ
และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่
- ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด
ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า
- พัฒนา PSU system
- พัฒนา One stop service ในการเป็น
contact point
19
Image
HR
Image HR
Finance Data & Tech
HR
Finance
Data & Tech
Image
Finance
Data & Tech
SWOT
STRATEGIES
S W
O
กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy)
- มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ
ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ
หลากหลายของบุคลากร
- การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ
เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์
จากการเรียนรู้ในพื้นที่
กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy)
- พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ
จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์
Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด
- นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด
ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ
ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
- การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง
ทางการสื่อสารที่หลากหลาย
T
กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy)
- พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ
เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้
เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
- ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น
ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ
ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน
และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม
กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy)
- พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ
และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่
- ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด
ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า
- พัฒนา PSU system
- พัฒนา One stop service ในการเป็น
contact point 20
Image
HR
Image HR
Finance Data & Tech
HR
Finance
Data & Tech
Image
Finance
Data & Tech
SWOT
STRATEGIES
S W
O
กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy)
- มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ
ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ
หลากหลายของบุคลากร
- การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ
เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์
จากการเรียนรู้ในพื้นที่
กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy)
- พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ
จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์
Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด
- นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด
ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ
ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
- การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง
ทางการสื่อสารที่หลากหลาย
T
กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy)
- พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ
เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้
เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
- ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น
ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ
ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน
และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม
กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy)
- พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ
และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่
- ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด
ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า
- พัฒนา PSU system
- พัฒนา One stop service ในการเป็น
contact point 21
Image
HR
Image HR
Finance Data & Tech
HR
Finance
Data & Tech
Image
Finance
Data & Tech
SWOT
STRATEGIES
S W
O
กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy)
- มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ
ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ
หลากหลายของบุคลากร
- การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ
เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์
จากการเรียนรู้ในพื้นที่
กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy)
- พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ
จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์
Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด
- นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด
ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ
ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
- การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง
ทางการสื่อสารที่หลากหลาย
T
กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy)
- พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ
เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้เป็นที่
ยอมรับในระดับสากล
- ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น ความ
ขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และทรัพยากรที่
หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน และผู้ที่สนใจ
เรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม
กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy)
- พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ และมี
ความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่
- ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด
ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า
- พัฒนา PSU system
- พัฒนา One stop service ในการเป็น contact
point
Image
HR
Image HR
Finance Data & Tech
HR
Finance
Data & Tech
Image
Finance
Data & Tech
SWOT
STRATEGIES
22
สัญญาณสําคัญ
23
24
Ø ความหลากหลายทางประชากรศาสตร์
Ø ชีวิตวิถีใหม่
Ø การก้าวสู่สังคมเสมือน
Ø ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารของมนุษย์
Ø เทคโนโลยีใหม่ต่อการวิจัยและการศึกษา
Ø ความต้องการความเป็นส่วนตัว
Ø อาเซียนเป็นศูนย์กลางการแพทย์ของโลก
Ø การท่องเที่ยวคุณค่าสูง
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Ø ภูมิทัศน์เศรษฐกิจใหม่และใต้ใหม่
Ø ระบบบูรณาการเพื่อจัดการภาวะวิกฤติ
Ø การขับเคลื่อนสังคมโดยใช้
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Ø การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
Ø แนวโน้มการบริหารมหาวิทยาลัย
ชั้นนําของโลก
Ø การศึกษาที่ไม่เน้นปริญญาแต่มุ่งคุณค่า
Ø การจัดการโซ่คุณค่าของงานวิจัยเชิงพาณิชย์
Ø การมีส่วนร่วมกับสังคมที่มีมูลค่าสูง
Ø ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
Ø แนวโน้มความอยู่รอดทางการเงิน
Horizon 1
ความหลากหลายทางประชากรศาสตร์
• ปรากฏความพร่าเลือน เปิดกว้างขึ้นและไร้การแบ่งแยก เกิด Boundaryless, Age Neutral, Gender
Fluid, Boundary Blur, Multi-culture การเปิดกว้างของ ม.อ. ทําให้ดึงดูดกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น
รูปแบบปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารของมนุษย์
• ยุคสิ้นสุดของการสื่อสารแบบแบบเผชิญหน้า เปลี่ยนเป็นสื่อสารผ่านระบบอัตโนมัติ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
คนเปลี่ยนแปลง มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเรียลไทม์ มหาวิทยาลัยต้องรองรับการลดลงของปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ต่อการวิจัยและการศึกษา
• วิทย์ฯเทคโนฯพัฒนาเพื่อตอบสนองมนุษย์ ทั้ง AI AR VR Block Chain ทํางานร่วมกับ Big Data ส่งผล
ต่อรูปแบบการวิจัยและการศึกษา
ความต้องการความเป็นส่วนตัวในสังคมที่สูงขึ้น
• ความตระหนักและกังวลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชน และกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล
ที่เกิดขึ้นมา ส่งผลต่อการใช้รวบรวมและใช้งานช้อมูล
25
Horizon 1
ระบบบูรณาการเพื่อจัดการภาวะวิกฤติ
• สถานการณ์คุกคามต่าง ๆ อาจทวีเป็นภาวะวิกฤติ มหาวิทยาลัยต้องมีระบบจัดการความเสี่ยงทั้งรุกและ
รับ หาโอกาสในวิกฤติสร้างความอยู่รอดและธํารงค์พันธกิจหลักได้
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
• ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ
ปัญหาขยะและมลพิษ รวมทั้งการเกิดโรคอุบัติใหม่ ก่อให้เกิดปัญหาที่สําคัญต่อมหาวิทยาลัย
ส่งเสริมการศึกษาที่ไม่เน้นปริญญาแต่มุ่งคุณค่า
• ปริญญาไม่ได้เป็นสิ่งที่สําคัญที่สุดสําหรับผู้เรียนให้ได้งาน แต่การเรียนรู้ที่เน้นคุณค่า มีเป้าหมายที่
ชัดเจน เหมาะสมกับการเพิ่มหรือทบทวนทักษะในทุกช่วงของชีวิตกําลังจะเข้ามาแทนที่
ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
• ความรุนแรงที่ยืดเยื้อ กระทบต่อภาพลักษณ์ของ ม.อ. ผลกระทบทางลบกับ ม.อ. ทุกวิทยาเขต คนเกิด
ความไม่ไว้ใจ
26
Horizon 2
27
การก้าวสู่สังคมเสมือน
ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้น การเรียนรู้ทาง
ออนไลน์ในสังคมเสมือน อาจไม่จากัดเพียงแค่
การเรียน เกี่ยวกับเนื้อหาเท่านั้น
อาเซียนเป็นศูนย์กลางการแพทย์
ของโลก
ประเทศภูมิภาคอาเซียนเป็นเป้าหมายหลักของคนทั่วโลก
ในการเข้ารับบริการทางการแพทย์เพราะมีมาตรฐาน
ราคาตํ่า โครงสร้างดี บริการหลากหลาย
ภูมิทัศน์เศรษฐกิจใหม่
และใต้ใหม่
การพัฒนา Southern Economic Corridor (SEC), Western
Gateway, Royal Coast and Andaman Route และการพัฒนา
อุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูปเกษตรมูลค่าสูง การ
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา
การจัดการโซ่คุณค่า
ของงานวิจัยเชิงพาณิชย์
การพัฒนาแพลตฟอร์มห่วงโซ่คุณค่างานวิจัยเชิงพานิชย์ที่มี
ประสิทธิภาพสูง ซึ่งประกอบด้วยการวิจัยพื้นฐาน การวิจัยเชิงบูรณา
การระหว่างวิทยาศาสตร์กับและธุรกิจ รวมถึงการสร้างความร่วมมือกับ
ภาคเอกชนในการร่วมพัฒนานวัตกรรม จนสามารถสร้างคุณค่าเชิง
พาณิชย์
Horizon 3
ชีวิตวิถีใหม่
ความปกติใหม่ท่ีเกิดขึ้นนั้นส่งผลให้วิถีชิวิตของมนุษย์เปลี่ยนไป ปัจจัยท่ี
กระตุ้นให้เกิดความปกติใหม่น้ันมีหลายด้านด้วยกัน เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม การเกิด สงคราม การเกิดโรคระบาด เป็นต้น
ยกระดับประเทศไทยสู่การท่องเที่ยวคุณค่าสูง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การท่องเที่ยวขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยและโลก ไทยมีศักยภาพเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวระดับโลก แต่ขาดการกระจายตัวไปยังเมือรอง แหล่ง
ท่องเที่ยวดังจึงเสื่อมโทรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อม
โทรมเร็ว
การขับเคลื่อนสังคมโดยใช้เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการหาคุณค่าใหม่จากทรัพยากรที่มีอยู่
รอบตัว ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน
(Circular Economy) เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ภายใต้
concept “ทําน้อย ได้มาก และยั่งยืน” 28
Horizon 3
แนวโน้มการบริหารมหาวิทยาลัย
ชั้นนําของโลก
มหาวิทยาลัยชั้นนําของโลกมีผลงานระดับเลิศ มีการ
บริหารก่อให้เกิดการกระจุกตัวของคนเก่ง เกิดความมั่ง
คั่งของทรัพยากร และความมีธรรมาภิบาล
การมีส่วนร่วมกับสังคมที่มีมูลค่าสูง
เป็นสิ่งที่มหาวิทยาลัยทั่วโลกให้ความสําคัญ และมุ่งมั่นที่
จะสร้างให้เกิดขึ้น ดําเนินการทั้งในทุกระดับและกลุ่มผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย เช่น การจัดทํา MOU ในการร่วมสอน
นักศึกษา การพัฒนางานวิจัย หรือการแลกเปลี่ยน
บุคลากรและนักศึกษา
แนวโน้มความอยู่รอดทางการเงิน
งบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลที่ลดลง มหาวิทยาลัย
ในกํากับของรัฐจึงถูกบังคับให้ต้องปรับตัวเพื่อหารายได้
เพิ่มโดยการตอบสนองความต้องการของตลาด
29
ฉากทัศน์
30
GLOBAL - VIRTUAL
31
LOCAL - PHYSICAL
ENTERPRISE
32
ACADEMY
LOCAL - PHYSICAL
GLOBAL - VIRTUAL
ACADEMYENTERPRISE PSU.com PSU.org
PSU.eduPSU.biz
33
üย้ายตัวตนและการลงทุนทางด้านกายภาพ
(Physical evidence) ไปอยู่ในรูปแบบเสมือน
üเน้นการให้บริการการศึกษาในเชิงธุรกิจที่
เชี่ยวชาญ
üมีศาสตร์ที่หลากหลาย
üเน้นการศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning)
üทะลายข้อจํากัดของพรมแดนและระยะเวลาอยู่
ในรูปแบบของ global university
üอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน มีสถานะทาง
การเงินที่มั่นคง
34
PSU.com
➝ เรียนที่ไหนก็ได้ (Virtually accessible)
➝ ไม่แพงจนเกินไป (Affordable)
➝ เน้นให้และแบ่งปันความรู้ (Knowledge is
sharable)
➝ ก้าวสู่ความเป็นสากล (Going global)
➝ บนพื้นฐานการสร้างคุณค่าต่อสังคม
(Valuable to society)
35
PSU.org
q เน้นการเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นการเติบโตใน
ด้านการสร้างรายได้
q มีการจัดการในรูปแบบของภาคธุรกิจ
q มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์ต่างๆ แต่เน้นการ
สร้างฐานการให้บริการในพื้นที่หรือภูมิภาค
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงความร่วมมือใน
ระดับโลกได้
q มีบริษัทมาเปิดพื้นที่ในมหาวิทยาลัย ลองทํา
ลองตลาด
q ความรู้พื้นฐานไม่เน้น เน้นโค้ชชิ่ง ทําจริง ใช้
ความรู้ที่มีอยู่แล้วในการทํางาน เป็น on the
job training, outcome based learning
36
PSU.biz
Ø มีวิทยาเขตครอบคลุมพื้นที่ มีชื่อเสียง
Ø มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์จําเพาะของแต่
ละวิทยาเขตอย่างชัดเจน เข้าใจคนและ
บริบท
Ø เน้นพันธกิจการจัดการศึกษาร่วมกับสังคม
ในแต่ละพื้นที่ที่วิทยาเขตตั้งอยู่ แต่มีความ
เป็นหนึ่งเดียวของแบรนด์มหาวิทยาลัย บน
ฐานของความเชื่อมั่นในคุณภาพ (trusting
belief)
Ø เน้นการมีตัวตนผ่านการจัดการวิทยาเขตที่
เหมาะสมกับการเรียนรู้ เน้นการพัฒนาองค์
ความรู้ระดับพื้นที่สู่ระดับสากล 37
PSU.edu
38
LOCAL - PHYSICAL
GLOBAL - VIRTUAL
ACADEMYENTERPRISE
PSU.com PSU.org
PSU.edu
PSU.biz
Horizontal
Growth
39
LOCAL - PHYSICAL
GLOBAL - VIRTUAL
ACADEMYENTERPRISE PSU.com PSU.org
PSU.eduPSU.biz
20 ปี
15 ปี
10 ปี
5 ปี
ปัจจุบัน
10%
10%
5%
5%
0%
60%
50%
40%
25%
10%
10%
10%
10%
20%
20%
20%
30%
45%
50%
70%
40
กลยุทธ์ด้านการเงิน
41
ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี)
• Financial analytics & Asset
Development
• New Financial Model &
Regulation
• Investment Model with Private
Sector
• PSU Holding
• PSU Investment Promotion
• PSU MAI (Market for Alternative
investment)
• PSU SET (Stock Exchange)
ค่าจัดการศึกษา
Reskill
Co-Invest จาก
ภาคเอกชน
บริการวิชาการ
Consult
บริหารสินทรัพย์
ลงทุน
ค่าจัดการศึกษา
ปกติ
การลงทุน &
การขายบริการ
บริการวิชาการ
รักษาพยาบาล
Funding จากรัฐ
รวมประมาณ
การรายได ้
2562 0.00 0.00 437.68 0.00 1,021.25 2,480.17 4,814.44 5,835.69 14,589.23
2567 1,555.87 1,555.87 0.00 3,111.74 466.76 1,867.05 4,667.61 2,333.81 15,558.71
2572 3,541.55 3,541.55 0.00 5,312.32 0.00 1,770.77 2,656.16 885.39 17,707.75
2577 6,104.34 6,104.34 0.00 6,104.34 0.00 2,034.78 0.00 0.00 20,347.81
2582 11,800.79 11,800.79 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 23,601.57
0.00
5,000.00
10,000.00
15,000.00
20,000.00
25,000.00
ล้านบาท
ประมาณการรายได ้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 20 ปี
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล
42
• HR analytics & Employee
engagement
• Strengths-Based Development
• Specific OKRs & KPIs by Tailor
Made Evaluation System
• New Talent Mobility Platform
• PSU Pride
• SMART3R (Recruitment,
Recognition & Rewards)
• On the Job Training &
Practitioners
ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี)
• Digital (AR, VR) for HR
• Personalized HR
กลยุทธ์ด้านฐานข้อมูลและเทคโนโลยี
43
• PSU One Data: Single Realtime Data
Portal
• Predictive Model & Trends
• Credit Bank
• High Tech Platform for
ReSkill/UpSkill
• SMART Campus (Block Chain, AI, MR)
• Pilot Plant & Virtual Simulations
• Deep Tech for Frontier Research
(Earth space, Logistic)
ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี)
• Human Machine Symbiosis
• Quantum Computing
• Quantum Satellite
• Virtual Laboratory
• Hologram
กลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์
44
ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี)
• PSU UniverCITY
• Corporate Image & Brand
management Unit
• PSU Gateway
• PSU Intelligent Unit
• PSU Global Engagement
• Continuous Brand Development
• PSU Global Brand
0% 5%
10% 85%
ปัจจุบันPSU.com PSU.org
PSU.edu
PSU.biz 45
5% 10%
25% 60%
อนาคต 5 ปีPSU.com PSU.org
PSU.edu
PSU.biz 46
5% 10%
40% 45%
อนาคต 10 ปีPSU.com PSU.org
PSU.edu
PSU.biz 47
10% 10%
50% 30%
อนาคต 15 ปีPSU.com PSU.org
PSU.edu
PSU.biz 48
LOCAL - PHYSICAL
GLOBAL - VIRTUAL
ACADEMYENTERPRISE PSU.com PSU.org
PSU.eduPSU.biz
20 ปี
15 ปี
10 ปี
5 ปี
ปัจจุบัน
10%
10%
5%
5%
0%
60%
50%
40%
25%
10%
10%
10%
10%
20%
20%
20%
30%
45%
50%
70%
49
50
PSU Preferable Future by PSU 4.0 Foresight Team
51
ค่าจัดการศึกษา
Reskill
Co-Invest จาก
ภาคเอกชน
บริการวิชาการ
Consult
บริหารสินทรัพย์
ลงทุน
ค่าจัดการศึกษา
ปกติ
การลงทุน &
การขายบริการ
บริการวิชาการ
รักษาพยาบาล
Funding จากรัฐ
รวมประมาณ
การรายได ้
2562 0.00 0.00 437.68 0.00 1,021.25 2,480.17 4,814.44 5,835.69 14,589.23
2567 1,555.87 1,555.87 0.00 3,111.74 466.76 1,867.05 4,667.61 2,333.81 15,558.71
2572 3,541.55 3,541.55 0.00 5,312.32 0.00 1,770.77 2,656.16 885.39 17,707.75
2577 6,104.34 6,104.34 0.00 6,104.34 0.00 2,034.78 0.00 0.00 20,347.81
2582 11,800.79 11,800.79 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 23,601.57
0.00
5,000.00
10,000.00
15,000.00
20,000.00
25,000.00
ล้านบาท ประมาณการรายได ้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 20 ปี
52
ล้ านบาท % ล้ านบาท % ล้ านบาท % ล้ านบาท % ล้ านบาท %
ประมาณการรายได้
1 ค่ าจั ดการศึ กษา Reskill 0.00 0.00% 1,555.87 10.00% 3,541.55 20.00% 6,104.34 30.00% 11,800.79 50.00%
2 Co-Invest จากภาคเอกชน 0.00 0.00% 1,555.87 10.00% 3,541.55 20.00% 6,104.34 30.00% 11,800.79 50.00%
3 บริ การวิ ชาการ Consult 437.68 3.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
4 บริ หารสิ นทรั พย์ ลงทุ น 0.00 0.00% 3,111.74 20.00% 5,312.32 30.00% 6,104.34 30.00% 0.00 0.00%
5 ค่ าจั ดการศึ กษา ปกติ 1,021.25 7.00% 466.76 3.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
6 การลงทุ น &การขายบริ การ 2,480.17 17.00% 1,867.05 12.00% 1,770.77 10.00% 2,034.78 10.00% 0.00 0.00%
6 บริ การวิ ชาการ รั กษาพยาบาล 4,814.44 33.00% 4,667.61 30.00% 2,656.16 15.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
7 Funding จากรั ฐ 5,835.69 40.00% 2,333.81 15.00% 885.39 5.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
8 รวมประมาณการรายได้ 14,589.23 100.00% 15,558.71 100.00% 17,707.75 100.00% 20,347.81 100.00% 23,601.57 100.00%
ประมาณการค่ าใช้ จ่ าย
1 ค่ าใช้ จ่ ายบุ คลากร 7,706.85 52.83% 7,112.08 45.71% 7,933.29 44.80% 8,878.68 43.63% 9,969.56 42.24%
2 ค่ าวั สดุ 2,066.37 14.16% 2,418.32 15.54% 2,966.76 16.75% 3,666.73 18.02% 4,560.08 19.32%
3 ค่ าใช้ สอย 1,182.29 8.10% 1,182.29 7.60% 1,182.29 6.68% 1,182.29 5.81% 1,182.29 5.01%
4 ค่ าสาธารณู ปโภค 321.04 2.20% 321.04 2.06% 321.04 1.81% 321.04 1.58% 321.04 1.36%
5 ต้ นทุ นขาย 247.25 1.69% 300.54 1.93% 383.57 2.17% 489.54 2.41% 624.79 2.65%
6 ค่ าเสืK อมราคาและค่ าตั ดจํ าหน่ าย 991.87 6.80% 1,704.03 10.95% 1,704.03 9.62% 1,704.03 8.37% 1,704.03 7.22%
7 ค่ าใช้ จ่ ายจากการอุ ดหนุ นและบริ จาค 1,414.79 9.70% 1,719.69 11.05% 2,194.81 12.39% 2,801.19 13.77% 3,575.11 15.15%
8 ค่ าใช้ จ่ ายอืK นๆ 658.77 4.52% 800.74 5.15% 1,021.97 5.77% 1,304.32 6.41% 1,664.68 7.05%
9 รวมค่ าใช้ จ่ าย 14,589.23 100.00% 15,558.71 100.00% 17,707.75 100.00% 20,347.81 100.00% 23,601.57 100.00%
รายการ
แผนการเงิ น University 4.0 มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร์
Start (2562) ปี ทีA 5 ปี ทีA 10 ปี ทีA 15 ปี ทีA 20

More Related Content

Similar to Psu

แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัยแนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัยPrachyanun Nilsook
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554DrDanai Thienphut
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์DrDanai Thienphut
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpKamjornT
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554DrDanai Thienphut
 

Similar to Psu (20)

งานกลุ่ม .
งานกลุ่ม .งานกลุ่ม .
งานกลุ่ม .
 
Education psu
Education psuEducation psu
Education psu
 
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัยแนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
แนวทางการขอสนับสนุนเงินทุนวิจัย
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
Hr 3565401
Hr 3565401Hr 3565401
Hr 3565401
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
มคอ 3 วิชา การบริหารทุนมนุษย์
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
Quik
QuikQuik
Quik
 
Organization intelligence2
Organization intelligence2Organization intelligence2
Organization intelligence2
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
EduRam newsletters 1.6.57
EduRam newsletters 1.6.57EduRam newsletters 1.6.57
EduRam newsletters 1.6.57
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Psu

  • 2. คณะทํางานโครงการมหาวิทยาลัย 4.0 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (16 ท่าน) PSU Dream Team for University 4.0 Mission ผศ.นพ.สุนทร วงษ์ศิริ ประธานคณะทํางาน 2 ผศ.ดร.ตติยาพร จารุมณีรัตน์ Ph.D. (Hospitality and Food Management) คณะทํางาน รศ.ดร.กาญจน์สุนภัศ บาลทิพย์ Ph.D. (Nursing) คณะทํางาน ผศ.ดร.เอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี Ph.D. (Polymer Technology) คณะทํางาน ดร.อัตชัย เอื้ออนันตสันต์ Ph.D. (Research Methodology) คณะทํางาน ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ จินดาบถ Ph.D. (Marketing) คณะทํางาน ผศ.ดร.วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์ Ph.D. (Public Admin & Policy) คณะทํางาน ดร.พลชาติ โชติการ Ph.D. (Sciences) คณะทํางาน นายสิทานนท์ อมตเวทย์ นักทรัพย์สินทางปัญญา คณะทํางาน นางสาวอารยา พวงแก้ว คณะทํางาน ผศ.ดร.มาลี สบายยิ่ง Ph.D. (HR & Community Dev.) คณะทํางานและเลขานุการ นางสุดารัตน์ วาณิชวิริยะ หน.ฝ่ายแผน&บริหาร RDO ผู้ช่วยเลขานุการ ผศ.ดร. ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์ Ph.D. (Pharmacy) คณะทํางาน ดร.ณัฐพล บุญนํา Sc.D. (Mathematics) คณะทํางาน ดร. พงศกร พิชยดนย์ Ph.D. (Technopreneurship and innovation Management) คณะทํางาน รศ.นพ.สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุทธยา Ph.D. (Philosophy in Medical Science) คณะทํางาน
  • 5. การเก็บข้อมูล 5 ข้อมูลทุติยภูมิ ระดมสมอง สํารวจ สัมภาษณ์ 👧 นักศึกษาปัจจุบัน 👨 บุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน 👦 ศิษย์เก่า 👧 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในภาคใต้ 👩 ผู้บริหารมหาวิทยาลัย 👪 พันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัย 970 คน 70 คน
  • 7. จํานวนนักศึกษารับเข้าระดับปริญญาตรีในแต่ะละวิทยาเขต ปี พ.ศ. 2558 – 2562 0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 หาดใหญ่ ปัตตานี ภูเก็ต สุราษฎร์ฯ ตรัง รวม ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 หาดใหญ่ 48% ปัตตานี 22% ภูเก็ต 8% สุราษฎร์ ฯ 12% ตรัง 10% 7
  • 8. จํานวนนักศึกษารับเข้าระดับปริญญาตรีในแต่ะละวิทยาเขต ปี พ.ศ. 2558 – 2562 - 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 1,600 หาดใหญ่ ปัตตานี ภูเก็ต สุราษฎร์ ตรัง รวม ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 หาดใหญ่ 68% ปัตตานี 26% ภูเก็ต 3% สุราษฎร์ ธานี 2% ตรัง 1% Other 3% 8
  • 9. คณะที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2559-2562 ของจํานวนนักศึกษาสูงสุด 7 อันดับแรก 0 10 20 30 40 50 60 สัตวแพทยศาสตร์ นิติศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วข ปัตตานี รัฐศาสตร์ แพทย์แผนไทย ศิลปกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ 9
  • 10. คณะที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2559-2562 ของจํานวนนักศึกษาตํ่าสุด 7 อันดับแรก -25 -20 -15 -10 -5 0 เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง การจัดการสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยนานาชาติ อิสลามศึกษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 10
  • 11. การคาดการณ์จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามกลุ่มสาขาวิชา 21,892 21,657 20,915 19,186 17,935 17,028 15,958 14,888 13,818 12,74912,338 12,149 11,355 10,353 9,685 8,953 8,234 7,516 6,798 6,080 3,927 3,967 4,088 4,210 4,258 4,386 4,518 4,588 4,719 4,789 - 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ *จํานวนคาดการณ์ อักษรสีแดง 11
  • 12. การคาดการณ์จํานวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตามกลุ่มสาขาวิชา 2,123 1,844 1,665 1,436 1,347 1,116 923 729 535 342 2,026 1,732 1,605 1,557 1,463 1,312 1,186 1,060 934 808 1,194 1,035 979 856 758 641 587 441 387 241 - 500 1,000 1,500 2,000 2,500 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ *จํานวนคาดการณ์ อักษรสีแดง 12
  • 14. STRENGTH Image HRFinance Data & Tech มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และเป็นที่ยอมรับ โดยเฉพาะ เกษตร อาหาร และสุขภาพ มหาวิทยาลัยมีทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถทาง วิชาการและมีความเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา โรงพยาบาลสงขลานครินทร์เป็นที่พึ่งของชุมชน มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงมากว่า 50 ปี และมีความน่าเชื่อถือ 14
  • 15. WEAKNESS มีทรัพยากรบุคคลไม่โดดเด่น ขาดความสามารถในการทํางานร่วมกัน ไม่ สามารถทํางานเป็นทีม มีจํานวนสายสนับสนุนมากเกินไป ทิศทางไม่ชัดเจน ขาดการลงทุนสร้างความเข้มแข็งและการยอมรับ ขาดระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี และไม่มีข้อมูลที่ดีในการตัดสินใจ การ บริหารทรัพยากร และไม่สามารถสะท้อนความเป็นจริงได้ ขาดระบบการเงินการคลังที่ดี ไม่ทราบภาพรวมของทรัพย์สิน Image HR Finance Data & Tech มีหน่วยงาน และหลักสูตรที่ซํ้าซ้อน ขาดการบูรณาการ ขาดความ เชื่อมโยงเพื่อสร้างความเข้มแข็ง มี product มาก แต่ Value ตํ่า ทํางานแบบราชการติดกรอบ ไม่ยืดหยุ่น ไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลง ขาดการเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอก ทําให้ขาดความสัมพันธ์อันดี ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ขาด Social engagement 15
  • 16. OPPORTUNITY Image HRFinance Data & Tech การพัฒนาของเทคโนโลยีส่งผลทําให้ระบบการจัดการ การ เรียนการสอน และการเข้าถึงมหาวิทยาลัยดีขึ้น มหาวิทยาลัยมีความได้เปรียบเชิงพื้นที่มีโอกาสเข้าถึงได้ง่าย และมีโอกาสในการนําทรัพยากรที่หลากหลายมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ ทิศทางของกระทรวงเน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความ ต้องการ reskill upskill ซึ่งมหาวิทยาลัยจะเป็นหน่วยงาน หลักในการดําเนินการเรื่องนี้ได้ดี 16
  • 17. THREAT Image HRFinance Data & Tech งบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐที่ลดลง รูปแบบการ สนับสนุนงานวิจัยที่เปลี่ยนไป ต้องเน้นการวิจัยแบบมุ่งเป้าที่เป็น ประโยชน์ต่อสังคมมากขึ้น จึงจะได้รับการจัดสรรทุน การแข่งขันทางการศึกษาเพิ่มสูงขึ้น และมีผู้เล่นใหม่ ๆ เข้ามาใน ระบบ การพัฒนาเทคโนโลยีทําให้ความได้เปรียบเชิงพื้นที่ลดลง เกิด Disruptive ในวงการการศึกษาที่รุนแรงและหลากหลายมากขึ้น ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ 17
  • 18. S W O กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) - มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ หลากหลายของบุคลากร - การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์ จากการเรียนรู้ในพื้นที่ กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy) - พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์ Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด - นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ - การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง ทางการสื่อสารที่หลากหลาย T กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy) - พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล - ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy) - พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่ - ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า - พัฒนา PSU system - พัฒนา One stop service ในการเป็น contact point 18 Image HR Image HR Finance Data & Tech HR Finance Data & Tech Image Finance Data & Tech SWOT STRATEGIES
  • 19. S W O กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) - มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ หลากหลายของบุคลากร - การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์ จากการเรียนรู้ในพื้นที่ กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy) - พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์ Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด - นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ - การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง ทางการสื่อสารที่หลากหลาย T กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy) - พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล - ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy) - พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่ - ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า - พัฒนา PSU system - พัฒนา One stop service ในการเป็น contact point 19 Image HR Image HR Finance Data & Tech HR Finance Data & Tech Image Finance Data & Tech SWOT STRATEGIES
  • 20. S W O กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) - มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ หลากหลายของบุคลากร - การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์ จากการเรียนรู้ในพื้นที่ กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy) - พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์ Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด - นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ - การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง ทางการสื่อสารที่หลากหลาย T กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy) - พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล - ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy) - พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่ - ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า - พัฒนา PSU system - พัฒนา One stop service ในการเป็น contact point 20 Image HR Image HR Finance Data & Tech HR Finance Data & Tech Image Finance Data & Tech SWOT STRATEGIES
  • 21. S W O กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) - มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ หลากหลายของบุคลากร - การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์ จากการเรียนรู้ในพื้นที่ กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy) - พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์ Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด - นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ - การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง ทางการสื่อสารที่หลากหลาย T กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy) - พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล - ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น ความขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และ ทรัพยากรที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน และผู้ที่สนใจเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy) - พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ และมีความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่ - ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า - พัฒนา PSU system - พัฒนา One stop service ในการเป็น contact point 21 Image HR Image HR Finance Data & Tech HR Finance Data & Tech Image Finance Data & Tech SWOT STRATEGIES
  • 22. S W O กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) - มุ่งเน้น ReSkill/UpSkill โดยอาศัยความ ได้เปรียบเชิงพื้นที่ ชื่อเสียง และความ หลากหลายของบุคลากร - การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาพัฒนาการ เรียนการสอน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ เข้าถึงการเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์ จากการเรียนรู้ในพื้นที่ กลยุทธ์แนวทางแก้ไข (WO Strategy) - พัฒนาระบบ Database แบบ Realtime เพื่อการ จัดการทรัพยากร (การเงิน ทรัพยากรมนุษย์ Asset หลักสูตร) ให้เกิดประโยชน์สูงสูด - นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทํางานเพื่อลด ขั้นตอน ลดภาระด้านกําลังคน และส่งเสริมการ ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ - การสร้างภาพลักษณ์และการยอมรับ โดยใช้ช่อง ทางการสื่อสารที่หลากหลาย T กลยุทธ์แนวทางตั้งรับ (ST Strategy) - พัฒนาจุดแข็งทั้งในเชิงพื้นที่ และความ เชี่ยวชาญ (การแพทย์ เกษตร อาหาร) ให้เป็นที่ ยอมรับในระดับสากล - ยกระดับความได้เปรียบเชิงพื้นที่ เช่น ความ ขัดแย้ง สังคมพหุวัฒนธรรม และทรัพยากรที่ หลากหลาย เพื่อดึงดูดแหล่งทุน และผู้ที่สนใจ เรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเสริม กลยุทธ์ป้องกัน (WT Strategy) - พัฒนาภาพลักษณ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับ และมี ความเป็นหนึ่งเดียวกับบริบทสังคมในพื้นที่ - ใช้ศาสตร์และเทคโนโลยียกระดับสังคม ลด ปัญหาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ความเหลี่อมลํ้า - พัฒนา PSU system - พัฒนา One stop service ในการเป็น contact point Image HR Image HR Finance Data & Tech HR Finance Data & Tech Image Finance Data & Tech SWOT STRATEGIES 22
  • 24. 24 Ø ความหลากหลายทางประชากรศาสตร์ Ø ชีวิตวิถีใหม่ Ø การก้าวสู่สังคมเสมือน Ø ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารของมนุษย์ Ø เทคโนโลยีใหม่ต่อการวิจัยและการศึกษา Ø ความต้องการความเป็นส่วนตัว Ø อาเซียนเป็นศูนย์กลางการแพทย์ของโลก Ø การท่องเที่ยวคุณค่าสูง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน Ø ภูมิทัศน์เศรษฐกิจใหม่และใต้ใหม่ Ø ระบบบูรณาการเพื่อจัดการภาวะวิกฤติ Ø การขับเคลื่อนสังคมโดยใช้ เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน Ø การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม Ø แนวโน้มการบริหารมหาวิทยาลัย ชั้นนําของโลก Ø การศึกษาที่ไม่เน้นปริญญาแต่มุ่งคุณค่า Ø การจัดการโซ่คุณค่าของงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Ø การมีส่วนร่วมกับสังคมที่มีมูลค่าสูง Ø ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ Ø แนวโน้มความอยู่รอดทางการเงิน
  • 25. Horizon 1 ความหลากหลายทางประชากรศาสตร์ • ปรากฏความพร่าเลือน เปิดกว้างขึ้นและไร้การแบ่งแยก เกิด Boundaryless, Age Neutral, Gender Fluid, Boundary Blur, Multi-culture การเปิดกว้างของ ม.อ. ทําให้ดึงดูดกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รูปแบบปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารของมนุษย์ • ยุคสิ้นสุดของการสื่อสารแบบแบบเผชิญหน้า เปลี่ยนเป็นสื่อสารผ่านระบบอัตโนมัติ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง คนเปลี่ยนแปลง มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเรียลไทม์ มหาวิทยาลัยต้องรองรับการลดลงของปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ต่อการวิจัยและการศึกษา • วิทย์ฯเทคโนฯพัฒนาเพื่อตอบสนองมนุษย์ ทั้ง AI AR VR Block Chain ทํางานร่วมกับ Big Data ส่งผล ต่อรูปแบบการวิจัยและการศึกษา ความต้องการความเป็นส่วนตัวในสังคมที่สูงขึ้น • ความตระหนักและกังวลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชน และกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล ที่เกิดขึ้นมา ส่งผลต่อการใช้รวบรวมและใช้งานช้อมูล 25
  • 26. Horizon 1 ระบบบูรณาการเพื่อจัดการภาวะวิกฤติ • สถานการณ์คุกคามต่าง ๆ อาจทวีเป็นภาวะวิกฤติ มหาวิทยาลัยต้องมีระบบจัดการความเสี่ยงทั้งรุกและ รับ หาโอกาสในวิกฤติสร้างความอยู่รอดและธํารงค์พันธกิจหลักได้ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม • ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ ปัญหาขยะและมลพิษ รวมทั้งการเกิดโรคอุบัติใหม่ ก่อให้เกิดปัญหาที่สําคัญต่อมหาวิทยาลัย ส่งเสริมการศึกษาที่ไม่เน้นปริญญาแต่มุ่งคุณค่า • ปริญญาไม่ได้เป็นสิ่งที่สําคัญที่สุดสําหรับผู้เรียนให้ได้งาน แต่การเรียนรู้ที่เน้นคุณค่า มีเป้าหมายที่ ชัดเจน เหมาะสมกับการเพิ่มหรือทบทวนทักษะในทุกช่วงของชีวิตกําลังจะเข้ามาแทนที่ ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ • ความรุนแรงที่ยืดเยื้อ กระทบต่อภาพลักษณ์ของ ม.อ. ผลกระทบทางลบกับ ม.อ. ทุกวิทยาเขต คนเกิด ความไม่ไว้ใจ 26
  • 27. Horizon 2 27 การก้าวสู่สังคมเสมือน ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้น การเรียนรู้ทาง ออนไลน์ในสังคมเสมือน อาจไม่จากัดเพียงแค่ การเรียน เกี่ยวกับเนื้อหาเท่านั้น อาเซียนเป็นศูนย์กลางการแพทย์ ของโลก ประเทศภูมิภาคอาเซียนเป็นเป้าหมายหลักของคนทั่วโลก ในการเข้ารับบริการทางการแพทย์เพราะมีมาตรฐาน ราคาตํ่า โครงสร้างดี บริการหลากหลาย ภูมิทัศน์เศรษฐกิจใหม่ และใต้ใหม่ การพัฒนา Southern Economic Corridor (SEC), Western Gateway, Royal Coast and Andaman Route และการพัฒนา อุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูปเกษตรมูลค่าสูง การ พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา การจัดการโซ่คุณค่า ของงานวิจัยเชิงพาณิชย์ การพัฒนาแพลตฟอร์มห่วงโซ่คุณค่างานวิจัยเชิงพานิชย์ที่มี ประสิทธิภาพสูง ซึ่งประกอบด้วยการวิจัยพื้นฐาน การวิจัยเชิงบูรณา การระหว่างวิทยาศาสตร์กับและธุรกิจ รวมถึงการสร้างความร่วมมือกับ ภาคเอกชนในการร่วมพัฒนานวัตกรรม จนสามารถสร้างคุณค่าเชิง พาณิชย์
  • 28. Horizon 3 ชีวิตวิถีใหม่ ความปกติใหม่ท่ีเกิดขึ้นนั้นส่งผลให้วิถีชิวิตของมนุษย์เปลี่ยนไป ปัจจัยท่ี กระตุ้นให้เกิดความปกติใหม่น้ันมีหลายด้านด้วยกัน เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อม การเกิด สงคราม การเกิดโรคระบาด เป็นต้น ยกระดับประเทศไทยสู่การท่องเที่ยวคุณค่าสูง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยและโลก ไทยมีศักยภาพเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวระดับโลก แต่ขาดการกระจายตัวไปยังเมือรอง แหล่ง ท่องเที่ยวดังจึงเสื่อมโทรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อม โทรมเร็ว การขับเคลื่อนสังคมโดยใช้เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการหาคุณค่าใหม่จากทรัพยากรที่มีอยู่ รอบตัว ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ภายใต้ concept “ทําน้อย ได้มาก และยั่งยืน” 28
  • 29. Horizon 3 แนวโน้มการบริหารมหาวิทยาลัย ชั้นนําของโลก มหาวิทยาลัยชั้นนําของโลกมีผลงานระดับเลิศ มีการ บริหารก่อให้เกิดการกระจุกตัวของคนเก่ง เกิดความมั่ง คั่งของทรัพยากร และความมีธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วมกับสังคมที่มีมูลค่าสูง เป็นสิ่งที่มหาวิทยาลัยทั่วโลกให้ความสําคัญ และมุ่งมั่นที่ จะสร้างให้เกิดขึ้น ดําเนินการทั้งในทุกระดับและกลุ่มผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย เช่น การจัดทํา MOU ในการร่วมสอน นักศึกษา การพัฒนางานวิจัย หรือการแลกเปลี่ยน บุคลากรและนักศึกษา แนวโน้มความอยู่รอดทางการเงิน งบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลที่ลดลง มหาวิทยาลัย ในกํากับของรัฐจึงถูกบังคับให้ต้องปรับตัวเพื่อหารายได้ เพิ่มโดยการตอบสนองความต้องการของตลาด 29
  • 33. LOCAL - PHYSICAL GLOBAL - VIRTUAL ACADEMYENTERPRISE PSU.com PSU.org PSU.eduPSU.biz 33
  • 34. üย้ายตัวตนและการลงทุนทางด้านกายภาพ (Physical evidence) ไปอยู่ในรูปแบบเสมือน üเน้นการให้บริการการศึกษาในเชิงธุรกิจที่ เชี่ยวชาญ üมีศาสตร์ที่หลากหลาย üเน้นการศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning) üทะลายข้อจํากัดของพรมแดนและระยะเวลาอยู่ ในรูปแบบของ global university üอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน มีสถานะทาง การเงินที่มั่นคง 34 PSU.com
  • 35. ➝ เรียนที่ไหนก็ได้ (Virtually accessible) ➝ ไม่แพงจนเกินไป (Affordable) ➝ เน้นให้และแบ่งปันความรู้ (Knowledge is sharable) ➝ ก้าวสู่ความเป็นสากล (Going global) ➝ บนพื้นฐานการสร้างคุณค่าต่อสังคม (Valuable to society) 35 PSU.org
  • 36. q เน้นการเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นการเติบโตใน ด้านการสร้างรายได้ q มีการจัดการในรูปแบบของภาคธุรกิจ q มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์ต่างๆ แต่เน้นการ สร้างฐานการให้บริการในพื้นที่หรือภูมิภาค รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงความร่วมมือใน ระดับโลกได้ q มีบริษัทมาเปิดพื้นที่ในมหาวิทยาลัย ลองทํา ลองตลาด q ความรู้พื้นฐานไม่เน้น เน้นโค้ชชิ่ง ทําจริง ใช้ ความรู้ที่มีอยู่แล้วในการทํางาน เป็น on the job training, outcome based learning 36 PSU.biz
  • 37. Ø มีวิทยาเขตครอบคลุมพื้นที่ มีชื่อเสียง Ø มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์จําเพาะของแต่ ละวิทยาเขตอย่างชัดเจน เข้าใจคนและ บริบท Ø เน้นพันธกิจการจัดการศึกษาร่วมกับสังคม ในแต่ละพื้นที่ที่วิทยาเขตตั้งอยู่ แต่มีความ เป็นหนึ่งเดียวของแบรนด์มหาวิทยาลัย บน ฐานของความเชื่อมั่นในคุณภาพ (trusting belief) Ø เน้นการมีตัวตนผ่านการจัดการวิทยาเขตที่ เหมาะสมกับการเรียนรู้ เน้นการพัฒนาองค์ ความรู้ระดับพื้นที่สู่ระดับสากล 37 PSU.edu
  • 38. 38
  • 39. LOCAL - PHYSICAL GLOBAL - VIRTUAL ACADEMYENTERPRISE PSU.com PSU.org PSU.edu PSU.biz Horizontal Growth 39
  • 40. LOCAL - PHYSICAL GLOBAL - VIRTUAL ACADEMYENTERPRISE PSU.com PSU.org PSU.eduPSU.biz 20 ปี 15 ปี 10 ปี 5 ปี ปัจจุบัน 10% 10% 5% 5% 0% 60% 50% 40% 25% 10% 10% 10% 10% 20% 20% 20% 30% 45% 50% 70% 40
  • 41. กลยุทธ์ด้านการเงิน 41 ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี) • Financial analytics & Asset Development • New Financial Model & Regulation • Investment Model with Private Sector • PSU Holding • PSU Investment Promotion • PSU MAI (Market for Alternative investment) • PSU SET (Stock Exchange) ค่าจัดการศึกษา Reskill Co-Invest จาก ภาคเอกชน บริการวิชาการ Consult บริหารสินทรัพย์ ลงทุน ค่าจัดการศึกษา ปกติ การลงทุน & การขายบริการ บริการวิชาการ รักษาพยาบาล Funding จากรัฐ รวมประมาณ การรายได ้ 2562 0.00 0.00 437.68 0.00 1,021.25 2,480.17 4,814.44 5,835.69 14,589.23 2567 1,555.87 1,555.87 0.00 3,111.74 466.76 1,867.05 4,667.61 2,333.81 15,558.71 2572 3,541.55 3,541.55 0.00 5,312.32 0.00 1,770.77 2,656.16 885.39 17,707.75 2577 6,104.34 6,104.34 0.00 6,104.34 0.00 2,034.78 0.00 0.00 20,347.81 2582 11,800.79 11,800.79 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 23,601.57 0.00 5,000.00 10,000.00 15,000.00 20,000.00 25,000.00 ล้านบาท ประมาณการรายได ้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 20 ปี
  • 42. กลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล 42 • HR analytics & Employee engagement • Strengths-Based Development • Specific OKRs & KPIs by Tailor Made Evaluation System • New Talent Mobility Platform • PSU Pride • SMART3R (Recruitment, Recognition & Rewards) • On the Job Training & Practitioners ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี) • Digital (AR, VR) for HR • Personalized HR
  • 43. กลยุทธ์ด้านฐานข้อมูลและเทคโนโลยี 43 • PSU One Data: Single Realtime Data Portal • Predictive Model & Trends • Credit Bank • High Tech Platform for ReSkill/UpSkill • SMART Campus (Block Chain, AI, MR) • Pilot Plant & Virtual Simulations • Deep Tech for Frontier Research (Earth space, Logistic) ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี) • Human Machine Symbiosis • Quantum Computing • Quantum Satellite • Virtual Laboratory • Hologram
  • 44. กลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์ 44 ระยะสั้นถึงกลาง (0-10 ปี) ระยะยาว (10-20 ปี) • PSU UniverCITY • Corporate Image & Brand management Unit • PSU Gateway • PSU Intelligent Unit • PSU Global Engagement • Continuous Brand Development • PSU Global Brand
  • 45. 0% 5% 10% 85% ปัจจุบันPSU.com PSU.org PSU.edu PSU.biz 45
  • 46. 5% 10% 25% 60% อนาคต 5 ปีPSU.com PSU.org PSU.edu PSU.biz 46
  • 47. 5% 10% 40% 45% อนาคต 10 ปีPSU.com PSU.org PSU.edu PSU.biz 47
  • 48. 10% 10% 50% 30% อนาคต 15 ปีPSU.com PSU.org PSU.edu PSU.biz 48
  • 49. LOCAL - PHYSICAL GLOBAL - VIRTUAL ACADEMYENTERPRISE PSU.com PSU.org PSU.eduPSU.biz 20 ปี 15 ปี 10 ปี 5 ปี ปัจจุบัน 10% 10% 5% 5% 0% 60% 50% 40% 25% 10% 10% 10% 10% 20% 20% 20% 30% 45% 50% 70% 49
  • 50. 50 PSU Preferable Future by PSU 4.0 Foresight Team
  • 51. 51
  • 52. ค่าจัดการศึกษา Reskill Co-Invest จาก ภาคเอกชน บริการวิชาการ Consult บริหารสินทรัพย์ ลงทุน ค่าจัดการศึกษา ปกติ การลงทุน & การขายบริการ บริการวิชาการ รักษาพยาบาล Funding จากรัฐ รวมประมาณ การรายได ้ 2562 0.00 0.00 437.68 0.00 1,021.25 2,480.17 4,814.44 5,835.69 14,589.23 2567 1,555.87 1,555.87 0.00 3,111.74 466.76 1,867.05 4,667.61 2,333.81 15,558.71 2572 3,541.55 3,541.55 0.00 5,312.32 0.00 1,770.77 2,656.16 885.39 17,707.75 2577 6,104.34 6,104.34 0.00 6,104.34 0.00 2,034.78 0.00 0.00 20,347.81 2582 11,800.79 11,800.79 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 23,601.57 0.00 5,000.00 10,000.00 15,000.00 20,000.00 25,000.00 ล้านบาท ประมาณการรายได ้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 20 ปี 52
  • 53. ล้ านบาท % ล้ านบาท % ล้ านบาท % ล้ านบาท % ล้ านบาท % ประมาณการรายได้ 1 ค่ าจั ดการศึ กษา Reskill 0.00 0.00% 1,555.87 10.00% 3,541.55 20.00% 6,104.34 30.00% 11,800.79 50.00% 2 Co-Invest จากภาคเอกชน 0.00 0.00% 1,555.87 10.00% 3,541.55 20.00% 6,104.34 30.00% 11,800.79 50.00% 3 บริ การวิ ชาการ Consult 437.68 3.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 4 บริ หารสิ นทรั พย์ ลงทุ น 0.00 0.00% 3,111.74 20.00% 5,312.32 30.00% 6,104.34 30.00% 0.00 0.00% 5 ค่ าจั ดการศึ กษา ปกติ 1,021.25 7.00% 466.76 3.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 6 การลงทุ น &การขายบริ การ 2,480.17 17.00% 1,867.05 12.00% 1,770.77 10.00% 2,034.78 10.00% 0.00 0.00% 6 บริ การวิ ชาการ รั กษาพยาบาล 4,814.44 33.00% 4,667.61 30.00% 2,656.16 15.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 7 Funding จากรั ฐ 5,835.69 40.00% 2,333.81 15.00% 885.39 5.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 8 รวมประมาณการรายได้ 14,589.23 100.00% 15,558.71 100.00% 17,707.75 100.00% 20,347.81 100.00% 23,601.57 100.00% ประมาณการค่ าใช้ จ่ าย 1 ค่ าใช้ จ่ ายบุ คลากร 7,706.85 52.83% 7,112.08 45.71% 7,933.29 44.80% 8,878.68 43.63% 9,969.56 42.24% 2 ค่ าวั สดุ 2,066.37 14.16% 2,418.32 15.54% 2,966.76 16.75% 3,666.73 18.02% 4,560.08 19.32% 3 ค่ าใช้ สอย 1,182.29 8.10% 1,182.29 7.60% 1,182.29 6.68% 1,182.29 5.81% 1,182.29 5.01% 4 ค่ าสาธารณู ปโภค 321.04 2.20% 321.04 2.06% 321.04 1.81% 321.04 1.58% 321.04 1.36% 5 ต้ นทุ นขาย 247.25 1.69% 300.54 1.93% 383.57 2.17% 489.54 2.41% 624.79 2.65% 6 ค่ าเสืK อมราคาและค่ าตั ดจํ าหน่ าย 991.87 6.80% 1,704.03 10.95% 1,704.03 9.62% 1,704.03 8.37% 1,704.03 7.22% 7 ค่ าใช้ จ่ ายจากการอุ ดหนุ นและบริ จาค 1,414.79 9.70% 1,719.69 11.05% 2,194.81 12.39% 2,801.19 13.77% 3,575.11 15.15% 8 ค่ าใช้ จ่ ายอืK นๆ 658.77 4.52% 800.74 5.15% 1,021.97 5.77% 1,304.32 6.41% 1,664.68 7.05% 9 รวมค่ าใช้ จ่ าย 14,589.23 100.00% 15,558.71 100.00% 17,707.75 100.00% 20,347.81 100.00% 23,601.57 100.00% รายการ แผนการเงิ น University 4.0 มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร์ Start (2562) ปี ทีA 5 ปี ทีA 10 ปี ทีA 15 ปี ทีA 20