SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความหมายของโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่
อยู่ในโครงสร้างนั้น ๆ รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง หรือ
การจัดเตรียมรูปแบบการเก็บข้อมูลในหน่วยความจาอย่างมีระเบียบแบบแผนการ
แทนข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ถูกต้อง ตลอดจนกรรมวิธีการเข้าถึงข้อมูลใน
โครงสร้างให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
.
2
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ (Physical Data Structure)
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้โดยทั่วไปในภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภท ตาม
ลักษณะข้อมูลคือ
1.1) ข้อมูลเบื้องต้น (PrimitiveData Types) ได้แก่
– จานวนเต็ม (Integer)
– จานวนทศนิยม (Floating)
– ข้อมูลบูลีน (Boolean)
– จานวนจริง (Real)
– ข้อมูลอักขระ (Character)
3
Hello!
1.2) ข้อมูลโครงสร้าง (Structured Data Types) ได้แก่
– แถวลาดับ (Array)
– ระเบียนข้อมูล (Record)
– แฟ้มข้อมูล(File)
4
2) โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ (Logical
Data Structure)
2.1) โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น (Linear Data Structures)
ความสัมพันธ์ของข้อมูลจะเรียงต่อเนื่องกันเช่น
– ลิสต์(List)
– สแตก (Stack)
– คิว (Queue)
– สตริง (String)
“2.2) โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น (Non-LinearData Structures)
ข้อมูลแต่ละตัวสามารถมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นได้หลายตัวได้แก่
– ทรี (Tree)
– กราฟ (Graph)
6
การดาเนินการกับโรงสร้างข้อมูล (Data
Structure Operation)
วิธีการดาเนินการกับข้อมูลที่นิยมใช้กันมาก มี 4 แบบ
7
1) การเข้าถึงเรคคอร์ด ( Traversing)
2) การค้นหา (Searching)
3) การเพิ่ม (Inserting)
4) การลบ (Deleting)
การดาเนินการกับโรงสร้างข้อมูล
ยังมีการจัดการกับข้อมูลอีก2 อย่าง คือ
1) การเรียงข้อมูล (Sorting)
2) การรวมข้อมูล (Merging)
8
การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจา
การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจาหลัก ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มี 2 วิธี คือ
1) การแทนที่ข้อมูลแบบสแตกติก(StaticMemory Representation)เป็นการจองเนื้อที่
แบบคงที่แน่นอน
2)การแทนที่ข้อมูลแบบ(DynamicMemory Representation)เป็นการแทนที่ข้อมูลแบบ
ไม่ต้องจองเนื้อที่ ขนาดของเนื้อที่ยืดหยุ่นได้สามารถส่งคืนเพื่อนากลับมาใช้ได้อีก
9
อัลกอริทึม (Algorithm)
10
อัลกอริทึม คือ วิธี หรือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างเป็น
ขั้นตอน มีระบบ ช่วยให้การแก้ปัญหานั้น ๆ มีประสิทธิภาพ
ซึ่งอัลกอริทึมที่นิยมใช้กันมากได้แก่
1) อัลกอริทึมแบบแตกย่อย(Divide-and-conquer)
จะนาปัญหาหลักมาทาการแตกย่อยแล้วนาคาตอบที่
ได้จากการแตกย่อยมารวมเข้าด้วยกัน
2) อัลกอริทึมแบบเคลื่อนที่ (Dynamic
Programming) เป็นการหลีกเลี่ยงการคานวณเพื่อหา
คาตอบซ้า ๆ ซาก ๆ ซึ่งหากมีการคานวณซ้าอีกก็นา
คาตอบที่เก็บไว้มาใช้ได้
3) อัลกอริทึมแบบทางเลือก(GreedyAlgorithm)จะ
หาคาตอบโดยเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดที่พบได้ใน
ขณะนั้น
11
1.มีความถูกต้อง
2.ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3.ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
4.ง่ายต่อการทาความเข้าใจ
5.สั้น กระชับ
6.ใช้หน่วยความจาน้อยที่สุด
7.มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
ขั้นตอนที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
12
องค์ประกอบของการจัดทาอัลกอริทึม
1) การวิเคราะห์ (Analysis)
– พิจารณาสิ่งที่โจทย์ต้องการ
– พิจารณารูปแบบของผลลัพธ์ที่โจทย์ต้องการ
– พิจารณาข้อมูลนาเข้า
– พิจารษหาวิธีการ หรือสูตรในการแก้ปัญหาที่ต้องการ
– เลือกโปรแกรมภาษาที่จะใช้เขียนโปรแกรม
– กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ที่ใช้แทนข้อมูลในโปรแกรม
– จัดลาดับขั้นตอนการดาเนินการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาของโจทย์
13
– ผังงาน (Flowchart)เป็นการอธิบายขั้นตอนการทางานโดย
การใช้สัญลักษณ์รูปภาพแสดงความหมายหรือกาหนดลาดับ
การทางาน ดูเป็นระเบียบชัดเจน เข้าใจง่าย แต่อาจใช้เนือที่
มาก และยุ่งยาก
– รหัสเทียม (Pseudo Code) เป็นการอธิบายขั้นตอนการ
ประมวลผลโดยใช้วลีภาษาอังกฤษใช้คาสั้น ๆ กระทัดรัด ใช้
เนื้อที่อธิบายทางานน้อย แต่อาจเข้าใจยากสาหรับผู้เริ่มเขียน
โปรแกรม
2) การออกแบบ
(Design)
14
3) การเขียนโปรแกรม (Coding/Programming)
พัฒนาการของภาษาโปรแกรม
– ภาษาเครื่อง เป็นเลขฐานสอง 0 และ 1
– ภาษาแอสเซมบลี เป็นเลขฐานสิบหก
– ภาษาระดับสูง ใช้ภาษาอังกฤษในการเขียน เช่น ปาสคาล เป็นต้น
– ภาษายุคที่ 4 หรือ 4GL เช่น JAVA หรือพวก .net เป็นต้น
15
4) การทดสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Testing andDebugging)
เป็นขั้นตอนการตรวจสอบโปรแกรมที่เขียนว่าทางานถูกต้องตามความต้องการ
หรือไม่
16
1
2
5) การจัดทาเอกสารและบารุงรักษา
(Documentation and
Maintenance)
การจัดทาเอกสาร
17
1. คาบรรยายลักษณะของโปรแกรม
2. คาอธิบายพร้อมผังงานหรือรหัสเทียม
3. รายการโปรแกรม (Program Listing)
4. ผลการทดสอบโปรแกรม
5. จัดทาเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ/โปรแกรม ได้แก่
– เอกสารแสดงการวิเคราะห์ และออกแบระบบ : System
Manual สาหรับผู้พัฒนาระบบโปรแกรม
– เอกสารอธิบายวิธีการใช้ระบบ/โปรแกรม : User Manual
สาหรับผู้ใช้ระบบ/โปรแกรม
6. สามารถทาควบคู่ไปกับการเขียนโปรแกรม
7. อาจทาเป็นคู่มือ เอกสารที่อยู่ในโปรแกรม (Online Manual)
การบารุงรักษาโปรแกรมหมายถึงการแก้ไขข้อผิดพลาด
ที่พบระหว่างการทดสอบหรือการใช้งาน ซึ่งอาจเป็นการ
เปลี่ยนข้อมูลที่ต้องการใช้ใหม่ การปรับปรุงข้อมูลให้ทัน
เหตุการณ์อยู่เสมอ การปรับเปลี่ยนโครงสร้างบนหน้าจอ
เป็นต้น
18
การวัดประสิทธิภาพของอัลกอริทึม
19
สิ่งที่ต้องพิจารณา
1) โปรแกรมนั้นใช้เนื้อที่ความจา (Memory) มากน้อยเพียงใด
2) โปรแกรมนั้นใช้อัลกอริทึม(Algorithm)ที่เร็วเพียงใด
ในทางทฤษฎี จะระบุความเร็วการทางานของอัลกอริทึมโดยพิจารณา หรือ
ประมวลผลจานวนข้อมูลที่อัลกอริทึมนั้นกระทาก่อนที่จะได้ผลลัพธ์ว่ามี
การทางานกี่ครั้ง จานวนครั้งแทนด้วย N ความเร็วในการทางานเรียกว่า
ฟังก์ชั่น บิ๊กโ-อ (big-oh): Order of N หรือ O(N)
Thanks!
by
นาย เกียรติศักดิ์ ปักษีสิงห์
นาย พัฒนศักดิ์ เปรมจิตร
20

More Related Content

What's hot

เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศsarawoot7
 
ความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจ
ความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจ
ความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจPingsdz Pingsdz
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศNuttaput Suriyakamonphat
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)Patchara Wioon
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Somkiet Phetmark
 

What's hot (18)

เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
 
ความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจ
ความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจ
ความหมายเเละความสำคัญของระบบสารสนเทศ เพื่อสนันสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
work3
work3 work3
work3
 
R&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical GardenR&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical Garden
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003
 

Similar to Jameball

บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานtapabnum
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kittipong Joy
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลขาม้า ชนบท
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลkunanya12
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลskiats
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูลWareerut Suwannalop
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
Introducation to database system
Introducation to database systemIntroducation to database system
Introducation to database systemChulalakB2ST
 
Introducation to database system
Introducation to database systemIntroducation to database system
Introducation to database systemChulalakB2ST
 

Similar to Jameball (20)

บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Introducation to database system
Introducation to database systemIntroducation to database system
Introducation to database system
 
Introducation to database system
Introducation to database systemIntroducation to database system
Introducation to database system
 

Jameball