SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
บทที่ 2 เรื่อง
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล (Database System Architecture)
เป็นกรอบสาหรับใช้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลทั่วไปและสาหรับอธิบายโครงสร้าง
ของระบบฐานข้อมูลแต่ไม่ได้หมายความว่าระบบฐานข้อมูลทุกระบบจะต้องเป็นไปตามกรอบเพราะ
บางระบบที่เป็นระบบขนาดเล็กอาจไม่จาเป็นต้องทุกลักษณะตามสถาปัตยกรรมนี้อย่างไรก็ตามเรา
ถือว่าสถาปัตยกรรมนี้เหมาะสมกับระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่เป็นอย่างดีและเป็นไปตามมาตรฐานที่
หน่วยงาน ANSI/SPARC ได้กาหนดไว้ ANSI/SPARC Study Group on Data Base
Management System เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานทั่วไปของระบบฐานข้อมูลใน
สหรัฐฯ
ระดับของสถาปัตยกรรม แบ่งได้ 3 ระดับ ได้แก่
1. ระดับภายใน (The Internal Level) บางทีเรียกว่า the physical level ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียง
กับการจัดเก็บทางกายภาพมากที่สุดThe
2. ระดับภายนอก (External Level) ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียงกับผู้ใช้มากที่สุด
3. ระดับแนวคิด (The Conceptual Level) ซึ่งเป็นระดับที่อยู่กลางทางระหว่างของระดับที่กล่าวมา
ความสาคัญของระบบฐานข้อมูล
1. ความกะทัดรัด การบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลไว้ได้เป็นจานวนมากในที่เดียวกัน อยู่ในสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งประหยัดพื้นที่ไม่เกะกะอย่างในเอกสารที่เป็นกระดาษ
2. ความรวดเร็ว เครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบฐานข้อมูลสามารถค้นคืนและปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ได้เร็วกว่ามือ
มนุษย์มาก
3. ความเบื่อหน่ายน้อยกว่า
ในการดูแลรักษาแฟ้มข้อมูลที่เป็นกระดาษเป็นงานที่หนักกว่ามากหากเปรียบเทียบกับแฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในระบบ
ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
4. ความถูกต้องเป็นปัจจุบัน
ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
1. ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลสามารถใช้ร่วมกันได้ (The data can be shared) ตัวอย่างเช่น
- โปรแกรมระบบเงินเดือนสามารถเรียกใช้ข้อมูลรหัสพนักงานจากฐานข้อมูลเดียวกับโปรแกรมระบบการ
ขายตามภาพในตอนท้าย ที่ผ่านมา เป็นต้น
2. ระบบฐานข้อมูลสามารถช่วยให้มีความซ้าซ้อนน้อยลง (Redundancy can be reduced) ที่ลดความ
ซ้าซ้อนได้ เพราะเก็บแบบรวม
3. ระบบฐานข้อมูลช่วยหลีกเลี่ยงหรือลดความไม่คงที่
4. ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการทาธุรกรรม (Transaction support can de provided) ธุรกรรม คือ
ขั้นตอนการทางานหลายกิจกรรมย่อยมารวมกัน
5. ระบบฐานข้อมูลสามารถช่วยรักษาความคงสภาพหรือความถูกต้องของข้อมูลได้ (Integrity can
be maintained) โดยผู้บริหารฐานข้อมูลเป็นผู้กาหนดข้อบังคับความคงสภาพ
ตามที่ผู้บริหารข้อมูล (DA) มอบหมาย เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ใช้เปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูลทีโดยไม่
ถูกต้อง
6. สามารถบังคับใช้มาตรการรักษาความปลอดภัย (Security can be enforced) กล่าวคือ ผู้บริหารฐานข้อมูล
สามารถกาหนดข้อบังคับเรื่องปลอดภัย
7. ความต้องการที่เกิดข้อโต้แย้งระหว่างฝ่าย สามารถประนีประนอมได้
8. สามารถบังคับให้เกิดมาตรฐานได้ (Standards can be enforced)
9. ระบบฐานข้อมูลให้เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)
เป็นประโยชน์ข้อสาคัญที่สุดเพราะทาให้ข้อมูลไม่ขึ้นอยู่กับการแทนค่าข้อมูลเชิงกายภาพ
ความเป็นอิสระของข้อมูลมี 2 ชนิด คือ
9.1 ความเป็นอิสระทางกายภาพ
9.2 ความเป็นอิสระทางตรรกะ
ในระบบฐานข้อมูลเราไม่ควรให้ปล่อยโปรแกรมประยุกต์ขาดความเป็นอิสระของเป็นอย่างยิ่งข้อมูลเพราะ
1. โปรแกรมประยุกต์คนละตัวกันจะต้องมีมุมมองขอข้อมูลเดียวกันในรูปแบบที่แตกต่างกัน
2. ผู้บริหารฐานข้อมูล ต้องมีอิสระที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีการแทนค่าทางกายภาพ
หรือเปลี่ยนเทคนิคในการเข้าถึงเพื่อสนองตอบความจาเป็นที่เปลี่ยนแปลงไป
โดยไม่จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่มีใช้กันอยู่
ความเป็นอิสระของข้อมูล(Dataindependence)
จุดประสงค์หลักของสถาปัตยกรรม3 ระดับคือ ความเป็นอิสระของข้อมูลซึ่งหมายถึงระดับที่อยู่ข้างบนจะไม่กระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงในระดับล่าง แบ่งความเป็นอิสระของข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คือ
ความเป็นอิสระของข้อมูลทางตรรกะ(Logical dataindependence) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับแนวคิดจะ
ไม่ส่งผลกระทบต่อระดับภายนอก เช่นการเพิ่มเอนติตี้ , แอททริบิวท์ และความสัมพันธ์ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับ
แนวคิด จะไม่กระทบกับมุมมองภายนอกหรือไม่ต้องเขียนโปรแกรมใหม่
ความเป็นอิสระของข้อมูลในระดับกายภาพ(Physical datindependence) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในระดับ
ภายในไม่ส่งผลกระทบต่อระดับแนวคิด การเปลี่ยนแปลงในระดับภายในได้แก่ การใช้โครงสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ หรือ
โครงสร้างการจัดเก็บใหม่ , ใช้หน่วยเก็บข้อมูลแบบอื่น, การแก้ไขดัชนีหรืออัลกอริธึมแบบแฮช ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
เหล่านี้จะไม่กระทบต่อระดับแนวคิดและระดับภายนอก
รูปที่ 2.3 แสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระของข้อมูลแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นในสถาปัตยกรรม
ทั้ง3 ระดับ
แบบจาลองข้อมูล(Data Models)
แบบจาลองข้อมูล(Data Models) หมายถึง แบบจาลองที่ใช้อธิบายและจัดการข้อมูล ,
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและข้อบังคับของข้อมูลในระบบแบบจาลองจะแสดงวัตถุและ
เหตุการณ์
และความสัมพันธ์ระหว่างกัน แบบจาลองข้อมูลจะแสดงโครงสร้างของตัวเอง โดยมีหลักการพื้นฐานและสัญลักษณ์ที่
ให้ผู้ออกแบบฐานข้อมูลและผู้ใช้สามารถสื่อสารแนวคิดในการออกแบบได้ตรงกันในบทนี้จะแบ่งแบบจาลองข้อมูลออเป็น 3
ประเภทหลักๆ ได้แก่ แบบจาลองเชิงวัตถุ(object-based) , แบบจาลองเชิงรายการ(record-based) และแบบจาลองทาง
กายภาพ(Physical) โดย 2ประเภทแรกใช้อธิบายข้อมูลในระดับแนวคิดและระดับภายนอก ส่วนประเภทที่ 3ใช้อธิบาย
ข้อมูลในระดับภายใน
แบบจาลองข้อมูลเชิงวัตถุ(Object-BasedData Models)
แบบจาลองข้อมูลเชิงวัตถุใช้หลักการเกี่ยวกับเอนติตี้ , แอททริบิวท์ และความสัมพันธ์ โดย เอนติตี้(Entity) หมายถึง
สิ่งต่างๆ ที่แตกต่างกัน(เช่น คน , สถานที่ , สิ่งของ , เหตุการณ์ เป็นต้น)ที่ปรากฏขึ้นในฐานข้อมูล แอททริบิวท์
(Attribute) เป็นคุณสมบัติที่อธิบายลักษณะของเอนติตี้ และความสัมพันธ์(Relationship) เป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น
ระหว่างเอนติตี้ แบบจาลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุประกอบด้วยแบบจาลองต่างๆ ดังนี้Entity-Relationship
Semantic
Functional
Object-Oriented
แบบจาลอง Entity-Relationship
เป็นแบบจาลองที่รวมเอาเทคนิคในการออกแบบฐานข้อมูลที่นิยมใช้(จะกล่าวอย่างละเอียดในบทต่อไป) ส่วน
แบบจาลอง Object-Oriented นั้นนอกจากจะนิยามเอนติตี้และแอททริบิวท์แล้วยังมีการนิยามสถานะ(state)และ
พฤติกรรม(Behavior)ของวัตถุซึ่งวัตถุจะมีการซ่อนสถานะและพฤติกรรมไว้
แบบจาลองเชิงรายการ(Record-BasedData Models)
ในแบบจาลองเชิงเรคคอร์ดนั้นฐานข้อมูลจะประกอบด้วย รายการข้อมูลที่กาหนดรูปแบบคงที่ไว้ที่แตกต่างกันแต่ละ
แบบ โดยแต่ละแบบของรายการข้อมูลจะกาหนดจานวนฟิลด์ไว้คงที่และกาหนดขนาดข้อมูลของฟิลด์ไว้ด้วย แบบจาลอง
เชิงรายการประกอบด้วย แบบจาลองข้อมูลเชิงสัพันธ์(Relational DataModel) , แบบจาลองข้อมูลแบบเครือข่าย(Network
Data Model)
แบบจาลองแบบลาดับชั้น (HierarchicalData Model)คิดค้นโดยบริษัท North AmericaRockwell ซึ่งเป็นบริษัท
ที่มีส่วนร่วมในโครงการสารวจดวงจันทร์ด้วยยานอวกาศApollo ซึ่งมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นจานวนมหาศาล โดยข้อมูล
ที่เก็บในคอมพิวเตอร์มีการจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล ซึ่งทาให้เกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลเป็นจานวนมากเมื่อบริษัท
North America Rockwell เริ่มต้นพัฒนาระบบฐานข้อมูลของตัวเองขึ้นมาก็พบว่าข้อมูลในเทปแม่เหล็กที่ได้เคยเก็บ
บันทึกมา ประมาณร้อยละ60 ของข้อมูลมีความซ้าซ้อนกัน จากปัญหาดังกล่าวบริษัท North America Rockwell จึงได้
พัฒนาวิธีอื่นๆ เพื่อจัดการให้การจัดเก็บข้อมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยอาศัยหลักการของฐานข้อมูล ที่มีชื่อว่า
GUAM(Generalized Update Access Method) ซึ่งมีหลักการที่ว่านาข้อมูลส่วนเล็กในแต่ละส่วนมากจัดรวมกันเป็น
componentจนเป็น component ขนาดใหญ่
และเป็นcomponentที่ใหญ่ที่สุดในกลางยุค 60บริษัท IBM ได้ร่วมมือกับบริษัท North
AmericaRockwell ขยายความสามารถของ GUAMให้มาแทนที่การเก็บข้อมูลด้วยเทปด้วยสื่อที่จัดเก็บ
ข้อมูลที่ทันสมัยมากขึ้นจากผลการร่วมมือกันระหว่างRockwell-IBMเป็นผลให้กลายเป็นที่รู้จักในนาม
Informationmanagementsystem(IMS) ทาให้ IMS กลายเป็นผู้นาในระบบฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น
ของโลกในปี 70 และ ต้นปี 80การออกแบบแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล(Designing Databases)
3. การออกแบบฐานข้อมูล (database design)
เครื่องมือสาหรับออกแบบฐานข้อมูล คือ อีอาร์ดี (entity relationships diagram-ERD) เป็นแบบจาลองข้อมูล
(data model) ซึ่งเป็นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี และแอททริบิวท์ และต้องนามาทานอร์มัลไลเซชัน
ปรับปรุงให้เป็นบรรทัดฐานเพื่อความถูกต้องของข้อมูล เมื่อมีการปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
3.1 แบบจาลองข้อมูลอีอาร์ดี (Entity-Relationship Diagram -ERD)
ระบบฐานข้อมูลที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (relational database) และฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
(object- oriented database) และแบบผสมของฐานข้อมูลเชิงวัตถุสัมพันธ์(hybrid object-relational DBMS) การ
ออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะเกี่ยวข้องกับเอนทิตี (entity) แอททริบิวท์ (attribute) และความสัมพันธ์ของ เอนทิ
ตี (entity relationships) ตัวแบบจาลองข้อมูล (data model) ที่ใช้ คือ อีอาร์ดี การออกแบบฐานข้อมูล โดยอี
อาร์ดีจะแสดงแบบจาลองข้อมูลซึ่งแสดงให้เห็นในระดับแนวคิด (conceptual design) คือเอนทิตีและแอททริบิวท์ และ
ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร โดยในขั้นวิเคราะห์ยังไม่ได้คานึงถึงความซ้าซ้อนของข้อมูล
3.2 การทาข้อมูลให้เป็นบรรทัดฐาน (normalization)
ข้อมูลที่ได้จากตัวแบบจาลองข้อมูลอีอาร์ดี จะนามากาหนดเป็นตารางความสัมพันธ์ (relational table) หรือ
เรียกว่า รีเลชัน หลักการบรรทัดฐานหรือการนอร์มัลไลเซชัน คือขจัดความสัมพันธ์ซ้าซ้อนของข้อมูลจากแบบกลุ่ม
ให้อยู่ในแบบเดี่ยวให้มากที่สุดระบบโครงสร้างข้อมูลพิจารณาได้ ดังนี้ คือ ตารางหรือเอนทิตี เป็นหน่วยที่ใช้จัดเก็บ
ชุดข้อมูลในระบบ อาจมีได้หลายตารางหรือขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของรายการข้อมูลที่ประกอบขึ้นเป็น
ระเบียนข้อมูล (เร็คคอร์ด) และตารางความสัมพันธ์ระหว่างตารางซึ่งเรียกว่ารีเลชัน (relation)แอทริบิวท์หรือ
รายการข้อมูลที่อยู่ในรีเลชันอาจมีลักษณะเหมือนกันหรือซ้ากัน ซึ่งจะต้องแก้ไขโดยการสร้างรีเลชันใหม่ เช่น
นักศึกษา 1 คน สามารถเรียนได้หลายวิชาการสร้างคีย์ (key) เพื่อระบุความสัมพันธ์ของรีเลชัน มีหลักดังนี้
- คีย์หลัก (primary key / unique key) เป็นแอทริบิวท์ของระเบียนข้อมูลที่มีลักษณะข้อมูลที่มีลักษณะเด่น
เฉพาะตัวที่ใช้สาหรับอ้างอิง เช่น รหัสนักศึกษา จะมีค่าเฉพาะตัวค่าเดียวเพื่อใช้อ้างอิงว่าเป็นระบียนของนักศึกษา
คนไหน
- คีย์นอก (foreign key) เป็นแอทริบิวท์ที่กาหนดความสัมพันธ์กับรีเลชันอื่นและจะกลายเป็นคีย์หลักของรีเล
ชันนั้น เช่น รหัสวิชาเป็นคีย์นอกใช้ระบุความสัมพันธ์กับรีเลชันที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับวิชาที่เปิดสอนได้
- คีย์อื่น ๆ เช่น คีย์รอง (secondary key) เป็นแอทริบิวท์ที่ช่วยให้การเรียกใช้ข้อมูลเป็นไปได้สะดวก
รวดเร็วและชัดเจน เช่น กาหนดชื่อนักศึกษาเป็นคีย์รองในการเรียกใช้ข้อมูล
รายชื่อสมาชิก
นาย ชัชวาล ทองสวัสดิ์ เลขที่ 3
นาย ทยาวีร์ เจียจารูญ เลขที่ 5
นาย อาทิตย์ ประเสริฐโยธิน เลขที่ 9
น.ส. กาญจนา จั่นหยวก เลขที่ 13
น.ส. ดรุณี สังข์สนั่น เลขที่ 15
น.ส. สุพิชญา คุ้มครอง เลขที่ 22
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4

More Related Content

What's hot

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nunzaza
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลskiats
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7nunzaza
 

What's hot (20)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
Data Mining
Data MiningData Mining
Data Mining
 
Chaiyporn01
Chaiyporn01Chaiyporn01
Chaiyporn01
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Data mining
Data   miningData   mining
Data mining
 

Similar to งานนำเสนอ1คอม

สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลkunanya12
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6Khanut Anusatsanakul
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1startnaza
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลครูสม ฟาร์มมะนาว
 

Similar to งานนำเสนอ1คอม (20)

สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
 
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 
56785774
5678577456785774
56785774
 

งานนำเสนอ1คอม

  • 2. สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล (Database System Architecture) เป็นกรอบสาหรับใช้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลทั่วไปและสาหรับอธิบายโครงสร้าง ของระบบฐานข้อมูลแต่ไม่ได้หมายความว่าระบบฐานข้อมูลทุกระบบจะต้องเป็นไปตามกรอบเพราะ บางระบบที่เป็นระบบขนาดเล็กอาจไม่จาเป็นต้องทุกลักษณะตามสถาปัตยกรรมนี้อย่างไรก็ตามเรา ถือว่าสถาปัตยกรรมนี้เหมาะสมกับระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่เป็นอย่างดีและเป็นไปตามมาตรฐานที่ หน่วยงาน ANSI/SPARC ได้กาหนดไว้ ANSI/SPARC Study Group on Data Base Management System เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานทั่วไปของระบบฐานข้อมูลใน สหรัฐฯ
  • 3. ระดับของสถาปัตยกรรม แบ่งได้ 3 ระดับ ได้แก่ 1. ระดับภายใน (The Internal Level) บางทีเรียกว่า the physical level ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียง กับการจัดเก็บทางกายภาพมากที่สุดThe 2. ระดับภายนอก (External Level) ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียงกับผู้ใช้มากที่สุด 3. ระดับแนวคิด (The Conceptual Level) ซึ่งเป็นระดับที่อยู่กลางทางระหว่างของระดับที่กล่าวมา ความสาคัญของระบบฐานข้อมูล 1. ความกะทัดรัด การบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลไว้ได้เป็นจานวนมากในที่เดียวกัน อยู่ในสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งประหยัดพื้นที่ไม่เกะกะอย่างในเอกสารที่เป็นกระดาษ 2. ความรวดเร็ว เครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบฐานข้อมูลสามารถค้นคืนและปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ได้เร็วกว่ามือ มนุษย์มาก 3. ความเบื่อหน่ายน้อยกว่า ในการดูแลรักษาแฟ้มข้อมูลที่เป็นกระดาษเป็นงานที่หนักกว่ามากหากเปรียบเทียบกับแฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในระบบ ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ 4. ความถูกต้องเป็นปัจจุบัน
  • 4. ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล 1. ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลสามารถใช้ร่วมกันได้ (The data can be shared) ตัวอย่างเช่น - โปรแกรมระบบเงินเดือนสามารถเรียกใช้ข้อมูลรหัสพนักงานจากฐานข้อมูลเดียวกับโปรแกรมระบบการ ขายตามภาพในตอนท้าย ที่ผ่านมา เป็นต้น 2. ระบบฐานข้อมูลสามารถช่วยให้มีความซ้าซ้อนน้อยลง (Redundancy can be reduced) ที่ลดความ ซ้าซ้อนได้ เพราะเก็บแบบรวม 3. ระบบฐานข้อมูลช่วยหลีกเลี่ยงหรือลดความไม่คงที่ 4. ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการทาธุรกรรม (Transaction support can de provided) ธุรกรรม คือ ขั้นตอนการทางานหลายกิจกรรมย่อยมารวมกัน 5. ระบบฐานข้อมูลสามารถช่วยรักษาความคงสภาพหรือความถูกต้องของข้อมูลได้ (Integrity can be maintained) โดยผู้บริหารฐานข้อมูลเป็นผู้กาหนดข้อบังคับความคงสภาพ ตามที่ผู้บริหารข้อมูล (DA) มอบหมาย เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ใช้เปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูลทีโดยไม่ ถูกต้อง 6. สามารถบังคับใช้มาตรการรักษาความปลอดภัย (Security can be enforced) กล่าวคือ ผู้บริหารฐานข้อมูล สามารถกาหนดข้อบังคับเรื่องปลอดภัย 7. ความต้องการที่เกิดข้อโต้แย้งระหว่างฝ่าย สามารถประนีประนอมได้ 8. สามารถบังคับให้เกิดมาตรฐานได้ (Standards can be enforced)
  • 5. 9. ระบบฐานข้อมูลให้เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) เป็นประโยชน์ข้อสาคัญที่สุดเพราะทาให้ข้อมูลไม่ขึ้นอยู่กับการแทนค่าข้อมูลเชิงกายภาพ ความเป็นอิสระของข้อมูลมี 2 ชนิด คือ 9.1 ความเป็นอิสระทางกายภาพ 9.2 ความเป็นอิสระทางตรรกะ ในระบบฐานข้อมูลเราไม่ควรให้ปล่อยโปรแกรมประยุกต์ขาดความเป็นอิสระของเป็นอย่างยิ่งข้อมูลเพราะ 1. โปรแกรมประยุกต์คนละตัวกันจะต้องมีมุมมองขอข้อมูลเดียวกันในรูปแบบที่แตกต่างกัน 2. ผู้บริหารฐานข้อมูล ต้องมีอิสระที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีการแทนค่าทางกายภาพ หรือเปลี่ยนเทคนิคในการเข้าถึงเพื่อสนองตอบความจาเป็นที่เปลี่ยนแปลงไป โดยไม่จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่มีใช้กันอยู่ ความเป็นอิสระของข้อมูล(Dataindependence)
  • 6. จุดประสงค์หลักของสถาปัตยกรรม3 ระดับคือ ความเป็นอิสระของข้อมูลซึ่งหมายถึงระดับที่อยู่ข้างบนจะไม่กระทบ จากการเปลี่ยนแปลงในระดับล่าง แบ่งความเป็นอิสระของข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คือ ความเป็นอิสระของข้อมูลทางตรรกะ(Logical dataindependence) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับแนวคิดจะ ไม่ส่งผลกระทบต่อระดับภายนอก เช่นการเพิ่มเอนติตี้ , แอททริบิวท์ และความสัมพันธ์ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับ แนวคิด จะไม่กระทบกับมุมมองภายนอกหรือไม่ต้องเขียนโปรแกรมใหม่ ความเป็นอิสระของข้อมูลในระดับกายภาพ(Physical datindependence) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในระดับ ภายในไม่ส่งผลกระทบต่อระดับแนวคิด การเปลี่ยนแปลงในระดับภายในได้แก่ การใช้โครงสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ หรือ โครงสร้างการจัดเก็บใหม่ , ใช้หน่วยเก็บข้อมูลแบบอื่น, การแก้ไขดัชนีหรืออัลกอริธึมแบบแฮช ซึ่งการเปลี่ยนแปลง เหล่านี้จะไม่กระทบต่อระดับแนวคิดและระดับภายนอก รูปที่ 2.3 แสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระของข้อมูลแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นในสถาปัตยกรรม ทั้ง3 ระดับ แบบจาลองข้อมูล(Data Models) แบบจาลองข้อมูล(Data Models) หมายถึง แบบจาลองที่ใช้อธิบายและจัดการข้อมูล , ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและข้อบังคับของข้อมูลในระบบแบบจาลองจะแสดงวัตถุและ เหตุการณ์
  • 7. และความสัมพันธ์ระหว่างกัน แบบจาลองข้อมูลจะแสดงโครงสร้างของตัวเอง โดยมีหลักการพื้นฐานและสัญลักษณ์ที่ ให้ผู้ออกแบบฐานข้อมูลและผู้ใช้สามารถสื่อสารแนวคิดในการออกแบบได้ตรงกันในบทนี้จะแบ่งแบบจาลองข้อมูลออเป็น 3 ประเภทหลักๆ ได้แก่ แบบจาลองเชิงวัตถุ(object-based) , แบบจาลองเชิงรายการ(record-based) และแบบจาลองทาง กายภาพ(Physical) โดย 2ประเภทแรกใช้อธิบายข้อมูลในระดับแนวคิดและระดับภายนอก ส่วนประเภทที่ 3ใช้อธิบาย ข้อมูลในระดับภายใน แบบจาลองข้อมูลเชิงวัตถุ(Object-BasedData Models) แบบจาลองข้อมูลเชิงวัตถุใช้หลักการเกี่ยวกับเอนติตี้ , แอททริบิวท์ และความสัมพันธ์ โดย เอนติตี้(Entity) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่แตกต่างกัน(เช่น คน , สถานที่ , สิ่งของ , เหตุการณ์ เป็นต้น)ที่ปรากฏขึ้นในฐานข้อมูล แอททริบิวท์ (Attribute) เป็นคุณสมบัติที่อธิบายลักษณะของเอนติตี้ และความสัมพันธ์(Relationship) เป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น ระหว่างเอนติตี้ แบบจาลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุประกอบด้วยแบบจาลองต่างๆ ดังนี้Entity-Relationship Semantic Functional Object-Oriented
  • 8. แบบจาลอง Entity-Relationship เป็นแบบจาลองที่รวมเอาเทคนิคในการออกแบบฐานข้อมูลที่นิยมใช้(จะกล่าวอย่างละเอียดในบทต่อไป) ส่วน แบบจาลอง Object-Oriented นั้นนอกจากจะนิยามเอนติตี้และแอททริบิวท์แล้วยังมีการนิยามสถานะ(state)และ พฤติกรรม(Behavior)ของวัตถุซึ่งวัตถุจะมีการซ่อนสถานะและพฤติกรรมไว้ แบบจาลองเชิงรายการ(Record-BasedData Models) ในแบบจาลองเชิงเรคคอร์ดนั้นฐานข้อมูลจะประกอบด้วย รายการข้อมูลที่กาหนดรูปแบบคงที่ไว้ที่แตกต่างกันแต่ละ แบบ โดยแต่ละแบบของรายการข้อมูลจะกาหนดจานวนฟิลด์ไว้คงที่และกาหนดขนาดข้อมูลของฟิลด์ไว้ด้วย แบบจาลอง เชิงรายการประกอบด้วย แบบจาลองข้อมูลเชิงสัพันธ์(Relational DataModel) , แบบจาลองข้อมูลแบบเครือข่าย(Network Data Model) แบบจาลองแบบลาดับชั้น (HierarchicalData Model)คิดค้นโดยบริษัท North AmericaRockwell ซึ่งเป็นบริษัท ที่มีส่วนร่วมในโครงการสารวจดวงจันทร์ด้วยยานอวกาศApollo ซึ่งมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นจานวนมหาศาล โดยข้อมูล ที่เก็บในคอมพิวเตอร์มีการจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล ซึ่งทาให้เกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลเป็นจานวนมากเมื่อบริษัท North America Rockwell เริ่มต้นพัฒนาระบบฐานข้อมูลของตัวเองขึ้นมาก็พบว่าข้อมูลในเทปแม่เหล็กที่ได้เคยเก็บ บันทึกมา ประมาณร้อยละ60 ของข้อมูลมีความซ้าซ้อนกัน จากปัญหาดังกล่าวบริษัท North America Rockwell จึงได้ พัฒนาวิธีอื่นๆ เพื่อจัดการให้การจัดเก็บข้อมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยอาศัยหลักการของฐานข้อมูล ที่มีชื่อว่า GUAM(Generalized Update Access Method) ซึ่งมีหลักการที่ว่านาข้อมูลส่วนเล็กในแต่ละส่วนมากจัดรวมกันเป็น componentจนเป็น component ขนาดใหญ่
  • 9. และเป็นcomponentที่ใหญ่ที่สุดในกลางยุค 60บริษัท IBM ได้ร่วมมือกับบริษัท North AmericaRockwell ขยายความสามารถของ GUAMให้มาแทนที่การเก็บข้อมูลด้วยเทปด้วยสื่อที่จัดเก็บ ข้อมูลที่ทันสมัยมากขึ้นจากผลการร่วมมือกันระหว่างRockwell-IBMเป็นผลให้กลายเป็นที่รู้จักในนาม Informationmanagementsystem(IMS) ทาให้ IMS กลายเป็นผู้นาในระบบฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น ของโลกในปี 70 และ ต้นปี 80การออกแบบแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล(Designing Databases) 3. การออกแบบฐานข้อมูล (database design) เครื่องมือสาหรับออกแบบฐานข้อมูล คือ อีอาร์ดี (entity relationships diagram-ERD) เป็นแบบจาลองข้อมูล (data model) ซึ่งเป็นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี และแอททริบิวท์ และต้องนามาทานอร์มัลไลเซชัน ปรับปรุงให้เป็นบรรทัดฐานเพื่อความถูกต้องของข้อมูล เมื่อมีการปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 3.1 แบบจาลองข้อมูลอีอาร์ดี (Entity-Relationship Diagram -ERD) ระบบฐานข้อมูลที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (relational database) และฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (object- oriented database) และแบบผสมของฐานข้อมูลเชิงวัตถุสัมพันธ์(hybrid object-relational DBMS) การ ออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะเกี่ยวข้องกับเอนทิตี (entity) แอททริบิวท์ (attribute) และความสัมพันธ์ของ เอนทิ ตี (entity relationships) ตัวแบบจาลองข้อมูล (data model) ที่ใช้ คือ อีอาร์ดี การออกแบบฐานข้อมูล โดยอี อาร์ดีจะแสดงแบบจาลองข้อมูลซึ่งแสดงให้เห็นในระดับแนวคิด (conceptual design) คือเอนทิตีและแอททริบิวท์ และ ข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร โดยในขั้นวิเคราะห์ยังไม่ได้คานึงถึงความซ้าซ้อนของข้อมูล
  • 10. 3.2 การทาข้อมูลให้เป็นบรรทัดฐาน (normalization) ข้อมูลที่ได้จากตัวแบบจาลองข้อมูลอีอาร์ดี จะนามากาหนดเป็นตารางความสัมพันธ์ (relational table) หรือ เรียกว่า รีเลชัน หลักการบรรทัดฐานหรือการนอร์มัลไลเซชัน คือขจัดความสัมพันธ์ซ้าซ้อนของข้อมูลจากแบบกลุ่ม ให้อยู่ในแบบเดี่ยวให้มากที่สุดระบบโครงสร้างข้อมูลพิจารณาได้ ดังนี้ คือ ตารางหรือเอนทิตี เป็นหน่วยที่ใช้จัดเก็บ ชุดข้อมูลในระบบ อาจมีได้หลายตารางหรือขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของรายการข้อมูลที่ประกอบขึ้นเป็น ระเบียนข้อมูล (เร็คคอร์ด) และตารางความสัมพันธ์ระหว่างตารางซึ่งเรียกว่ารีเลชัน (relation)แอทริบิวท์หรือ รายการข้อมูลที่อยู่ในรีเลชันอาจมีลักษณะเหมือนกันหรือซ้ากัน ซึ่งจะต้องแก้ไขโดยการสร้างรีเลชันใหม่ เช่น นักศึกษา 1 คน สามารถเรียนได้หลายวิชาการสร้างคีย์ (key) เพื่อระบุความสัมพันธ์ของรีเลชัน มีหลักดังนี้ - คีย์หลัก (primary key / unique key) เป็นแอทริบิวท์ของระเบียนข้อมูลที่มีลักษณะข้อมูลที่มีลักษณะเด่น เฉพาะตัวที่ใช้สาหรับอ้างอิง เช่น รหัสนักศึกษา จะมีค่าเฉพาะตัวค่าเดียวเพื่อใช้อ้างอิงว่าเป็นระบียนของนักศึกษา คนไหน - คีย์นอก (foreign key) เป็นแอทริบิวท์ที่กาหนดความสัมพันธ์กับรีเลชันอื่นและจะกลายเป็นคีย์หลักของรีเล ชันนั้น เช่น รหัสวิชาเป็นคีย์นอกใช้ระบุความสัมพันธ์กับรีเลชันที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับวิชาที่เปิดสอนได้ - คีย์อื่น ๆ เช่น คีย์รอง (secondary key) เป็นแอทริบิวท์ที่ช่วยให้การเรียกใช้ข้อมูลเป็นไปได้สะดวก รวดเร็วและชัดเจน เช่น กาหนดชื่อนักศึกษาเป็นคีย์รองในการเรียกใช้ข้อมูล
  • 11. รายชื่อสมาชิก นาย ชัชวาล ทองสวัสดิ์ เลขที่ 3 นาย ทยาวีร์ เจียจารูญ เลขที่ 5 นาย อาทิตย์ ประเสริฐโยธิน เลขที่ 9 น.ส. กาญจนา จั่นหยวก เลขที่ 13 น.ส. ดรุณี สังข์สนั่น เลขที่ 15 น.ส. สุพิชญา คุ้มครอง เลขที่ 22 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4