SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย
ใบความรู้ที่ 11
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน 1
ง 32141
การจัดเก็บข้อมูล
ใช้ประกอบ
แผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ 11
เวลา 20 นาที
การจัดเก็บข้อมูล
เมื่อเห็นความสําคัญของข้อมูลแล้ว ทําอย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูลเหล่านั้นให้คงอยู่ รวมถึงทําให้
สามารถประมวลผลข้อมูลนั้นได้อย่างรวดเร็วโดยมากและจะรวมอยู่ใน ระบบฐานข้อมูล ซึ่งนํามาใช้ในการจัดเก็บ
การเข้าถึงและการประมวลผล ข้อดีในการนําฐานข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น
- การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป้นกระดาษได้ รวมถึงการทําซ้ํา
เพื่อสํารองข้อมูล สามารถทําได้สะดวกและรวดเร็ว
- การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการบํารุงรักษารถยนต์และข้อมูล
ประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องการนําข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลและนําข้อมูลที่ต้องการไป
ใช้ได้
- การจํากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหารสามารถเข้าถึง
ข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปในแผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวิติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น
รูปที่ 14 ข้อดีในการนําฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กร
(http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/pic/082.jpg)
ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย
1. ลําดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล ก่อนจะกล่าวถึงลําดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่ต้อง
กล่าวถึงก่อน คือ ลําดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วย
ตัวเลขสองตัว คือ '0' และ '1' ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็น
หน่วยเล็กที่สุดของข้อมูล และหากนําบิตมาต่อกันจํานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1 ไบต์ (byte) ตัวอย่างการแทนข้อมูล
ทางคอมพิวเตอร์ ดังรูปที่ 15
รูปที่ 15 ตัวอย่างการแทนข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
(http://www.doteenee.com/help/pichelp/help00088.jpg)
1.1 เขตข้อมูล (field) เมื่อนําข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บใน
ฐานข้อมูล เราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความหมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมายใน
ฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล
โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้
- จํานวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของตัวเลขนี้อาจ
เปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต สามารถแทนตัวเลขจํานวน
เต็มได้ตั้งแต่ -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า เป็นตัวเลขจํานวนเต็มไม่ระบุ
เครื่องหมาย (unsigned integer) เท่านั้นจะสามารถแทนตัวเลขจํานวนเต็มได้ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295
- จํานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์ จะเก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบโฟลททิง
พอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกําหนดตําแหน่งตายตัวสําหรับตําแหน่งของจุด โดยทั่วไป
การเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต
ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย
- ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักขระแต่
ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่งต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด
(Unicode) ที่สามารถแทนภาษได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี
ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจํานวนตัวอักขระในข้อความ
- วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และเวลาที่ซื้อสินค้า
มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวันเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลที่ต้องการ
เก็บข้อมูลเป็นวันเวลา
- ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้จะ เป็นเขต
ข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่นๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลใน
ลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน
1.2 ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะ
เป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน ตัวอย่างระเบียน ดัง
รูปที่ 16
รูปที่ 16 ตัวอย่างระเบียน (http://61.7.157.234/pornsak/41201/images/pet.gif)
1.3 ตาราง (table) คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์
กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆระเบียน แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูล
หลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน ดังรูปที่ 17
ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย
รูปที่ 17 ตัวอย่างข้อมูลนักเรียน
http://school.obec.go.th/muangkrabi/webbased/picture/image025.jpg
1.4 ฐานข้อมูล (database) เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมี
ความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือน กันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตารางที่
เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับ ตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขตข้อมูล
ของตารางอื่น

More Related Content

What's hot

คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่
Boom Sar
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
Ko Kung
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
chanoot29
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
Wareerut Suwannalop
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Timmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Timmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Timmy Printhong
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
hattayagif
 

What's hot (16)

คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 

Viewers also liked

Fluoride anyone
Fluoride anyoneFluoride anyone
Fluoride anyone
Igor
 
Typologie Du Genre Masculin
Typologie Du Genre MasculinTypologie Du Genre Masculin
Typologie Du Genre Masculin
guest837b0c
 
T34 co bao giangsinh hoat lop
T34 co bao giangsinh hoat lopT34 co bao giangsinh hoat lop
T34 co bao giangsinh hoat lop
Lê Tiếng
 
《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)
Chada Chiu
 
Ser Mujer Con Epilepsia
Ser Mujer Con EpilepsiaSer Mujer Con Epilepsia
Ser Mujer Con Epilepsia
guest59c58a4
 
ท่องเที่ยวทั่วไทย
ท่องเที่ยวทั่วไทยท่องเที่ยวทั่วไทย
ท่องเที่ยวทั่วไทย
chutiwan
 
《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)
Chada Chiu
 
《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)
Chada Chiu
 
Multicultural Week
Multicultural WeekMulticultural Week
Multicultural Week
gabriela
 
Top8
Top8Top8
Top8
Igor
 

Viewers also liked (20)

หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
Edelman 2010 Capital Staffers Index Presentation
Edelman 2010 Capital Staffers Index PresentationEdelman 2010 Capital Staffers Index Presentation
Edelman 2010 Capital Staffers Index Presentation
 
Fluoride anyone
Fluoride anyoneFluoride anyone
Fluoride anyone
 
Netiesioginė reklama socialiniuose tinkluose + f8 konferencijos mini apžvalga
Netiesioginė reklama socialiniuose tinkluose + f8 konferencijos mini apžvalgaNetiesioginė reklama socialiniuose tinkluose + f8 konferencijos mini apžvalga
Netiesioginė reklama socialiniuose tinkluose + f8 konferencijos mini apžvalga
 
Festival of Friendship
Festival of FriendshipFestival of Friendship
Festival of Friendship
 
Typologie Du Genre Masculin
Typologie Du Genre MasculinTypologie Du Genre Masculin
Typologie Du Genre Masculin
 
T34 co bao giangsinh hoat lop
T34 co bao giangsinh hoat lopT34 co bao giangsinh hoat lop
T34 co bao giangsinh hoat lop
 
《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第64期)
 
Ser Mujer Con Epilepsia
Ser Mujer Con EpilepsiaSer Mujer Con Epilepsia
Ser Mujer Con Epilepsia
 
ท่องเที่ยวทั่วไทย
ท่องเที่ยวทั่วไทยท่องเที่ยวทั่วไทย
ท่องเที่ยวทั่วไทย
 
PresentacióNova
PresentacióNovaPresentacióNova
PresentacióNova
 
Business Card Samples Show
Business Card  Samples  ShowBusiness Card  Samples  Show
Business Card Samples Show
 
《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第73期)
 
《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)
《氪周刊:互联网创业必读》(第68期)
 
Multicultural Week
Multicultural WeekMulticultural Week
Multicultural Week
 
Top8
Top8Top8
Top8
 
Engaging with your audience
Engaging with your audienceEngaging with your audience
Engaging with your audience
 
Copy of collaborative tools
Copy of collaborative toolsCopy of collaborative tools
Copy of collaborative tools
 
4ดุษณีย์
4ดุษณีย์4ดุษณีย์
4ดุษณีย์
 
Testing Delphix: easy data virtualization
Testing Delphix: easy data virtualizationTesting Delphix: easy data virtualization
Testing Delphix: easy data virtualization
 

Similar to ใบความรู้ที่ 11

ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
สุเมธ แก้วระดี
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
daykrm
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
Wareerut Suwannalop
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
Kewalin Kaewwijit
 
ฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศ
nawapat arjsri
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
Wareerut Suwannalop
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Stn PT
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
chushi1991
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
chushi1991
 

Similar to ใบความรู้ที่ 11 (20)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Vision 1
Vision 1Vision 1
Vision 1
 
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11
 
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
 
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
 
ฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
 
โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์
 

More from somdetpittayakom school

More from somdetpittayakom school (20)

ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
M1 59
M1 59M1 59
M1 59
 
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
 
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
 
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
 
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 5901  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
 
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
 
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558 รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
 
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
 
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
 

ใบความรู้ที่ 11

  • 1. ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย ใบความรู้ที่ 11 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน 1 ง 32141 การจัดเก็บข้อมูล ใช้ประกอบ แผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ 11 เวลา 20 นาที การจัดเก็บข้อมูล เมื่อเห็นความสําคัญของข้อมูลแล้ว ทําอย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูลเหล่านั้นให้คงอยู่ รวมถึงทําให้ สามารถประมวลผลข้อมูลนั้นได้อย่างรวดเร็วโดยมากและจะรวมอยู่ใน ระบบฐานข้อมูล ซึ่งนํามาใช้ในการจัดเก็บ การเข้าถึงและการประมวลผล ข้อดีในการนําฐานข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น - การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป้นกระดาษได้ รวมถึงการทําซ้ํา เพื่อสํารองข้อมูล สามารถทําได้สะดวกและรวดเร็ว - การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการบํารุงรักษารถยนต์และข้อมูล ประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องการนําข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลและนําข้อมูลที่ต้องการไป ใช้ได้ - การจํากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหารสามารถเข้าถึง ข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปในแผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวิติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น รูปที่ 14 ข้อดีในการนําฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กร (http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/pic/082.jpg)
  • 2. ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย 1. ลําดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล ก่อนจะกล่าวถึงลําดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่ต้อง กล่าวถึงก่อน คือ ลําดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วย ตัวเลขสองตัว คือ '0' และ '1' ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็น หน่วยเล็กที่สุดของข้อมูล และหากนําบิตมาต่อกันจํานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1 ไบต์ (byte) ตัวอย่างการแทนข้อมูล ทางคอมพิวเตอร์ ดังรูปที่ 15 รูปที่ 15 ตัวอย่างการแทนข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ (http://www.doteenee.com/help/pichelp/help00088.jpg) 1.1 เขตข้อมูล (field) เมื่อนําข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บใน ฐานข้อมูล เราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความหมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมายใน ฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้ - จํานวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของตัวเลขนี้อาจ เปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต สามารถแทนตัวเลขจํานวน เต็มได้ตั้งแต่ -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า เป็นตัวเลขจํานวนเต็มไม่ระบุ เครื่องหมาย (unsigned integer) เท่านั้นจะสามารถแทนตัวเลขจํานวนเต็มได้ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295 - จํานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์ จะเก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบโฟลททิง พอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกําหนดตําแหน่งตายตัวสําหรับตําแหน่งของจุด โดยทั่วไป การเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต
  • 3. ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย - ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักขระแต่ ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่งต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด (Unicode) ที่สามารถแทนภาษได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจํานวนตัวอักขระในข้อความ - วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และเวลาที่ซื้อสินค้า มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวันเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลที่ต้องการ เก็บข้อมูลเป็นวันเวลา - ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้จะ เป็นเขต ข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่นๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลใน ลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน 1.2 ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะ เป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน ตัวอย่างระเบียน ดัง รูปที่ 16 รูปที่ 16 ตัวอย่างระเบียน (http://61.7.157.234/pornsak/41201/images/pet.gif) 1.3 ตาราง (table) คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆระเบียน แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูล หลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน ดังรูปที่ 17
  • 4. ใบความรู้ที 11 ครูกนกรัตน์ บุญไชโย รูปที่ 17 ตัวอย่างข้อมูลนักเรียน http://school.obec.go.th/muangkrabi/webbased/picture/image025.jpg 1.4 ฐานข้อมูล (database) เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมี ความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือน กันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตารางที่ เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับ ตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขตข้อมูล ของตารางอื่น