SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
อาจารย์ นิธินพ ทองวาสนาส่ง
Product and Price Policy
นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา
สภาวะแวดล้อมทางการตลาด
หัวข้อสาคัญในบท
 ลักษณะสภาวะแวดล้อมทางการตลาด
 เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
 เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
 เครื่องมือวิเคราะห์ SWOT
2
ผู้ขายวัตถุดิบ ผู้บริหารทางธุรกิจ
ตัวแทนหรือคนกลาง ลูกค้า คู่แข่งขัน กลุ่มชุมชน กลุ่มบุคคลในกิจการ
เศรษฐกิจ กฎหมาย การเมือง
สังคม ประชากรศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติ
บริษัท
ลักษณะสภาวะแวดล้อมทางการตลาด
3
สภาวะแวดล้อมแบบจุลภาค
สภาวะแวดล้อมแบบมหภาค
สภาวะแวดล้อมจุลภาค
4
เป็นสภาวะแวดล้อมที่กิจการส่วนใหญ่สามารถควบคุมได้ ที่
อยู่ใกล้ชิดกับกิจการมากที่สุด
 สภาวะแวดล้อมภายในกิจการ
 สภาวะแวดล้อมส่วนประสมทางการตลาด
 สภาวะแวดล้อมจุลภาคอื่นๆ
สภาวะแวดล้อมจุลภาค
5
 สภาวะแวดล้อมภายในกิจการ
1) นโยบาย
2) เป้าหมายขององค์การ
3) เป้าหมายทางการตลาด
4) ตลาดเป้าหมาย
สภาวะแวดล้อมจุลภาค
6
 สภาวะแวดล้อมส่วนประสมทางการตลาด
สภาวะแวดล้อมจุลภาค
7
 สภาวะแวดล้อมจุลภาคอื่นๆ
1) ผู้จาหน่ายวัสดุ (Suppliers)
2) คนกลาง (Middlemen)
3) ลูกค้า (Customer)
4) กลุ่มสาธารณชน (Publics)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
8
แรงกระทบทั้ง 5 ในการทาธุรกิจ
(Five Force Model)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
9
Five Force Model
(Michael E. Porter’s)
2.คู่แข่งรายใหม่
1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม 5.ผู้ซื้อ/ลูกค้า4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ
3.สินค้าทดแทน
10
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
ผลกระทบจากคู่แข่งภายในอุตสาหกรรม
(Rivalry)
1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
11
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม
จานวนคู่แข่ง
 ถ้าคู่แข่งจานวนมากจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไร ส่วนมากเป็นสินค้า Low tech ไม่มี
นวัตกรรม ใครก็ทาได้ เช่น โรงานผลิตน้าดื่ม,สบู่,ยาสีฟัน,กระดาษ
 ถ้าคู่แข่งจานวนน้อยจะเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร ส่วนมากเป็นสินค้า High-tech มีนวัตกรรม
สินค้ามีความแตกต่าง คู่แข่งไม่มีมาก เช่น Computer, กล้องถ่ายรูป
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
12
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม
ราคาขายสินค้า
 ถ้าคู่แข่งขายราคาต่าจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไร เพราะลูกค้าจะเลือกซื้อ
สินค้าที่มีราคาถูกกว่าถ้าเป็นสินค้าเหมือนกัน
 ถ้าคู่แข่งขายราคาสูงถือเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร เพราะสินค้าเราถูกกว่า
ลูกค้าเลือกที่จะจ่ายเงินต่ากว่า
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
13
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม
ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่ง
 ถ้าคู่แข่งมีผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัยกว่า,คุณภาพดีกว่าสินค้าเรา ถือเป็นอุปสรรค (T) ใน
การทากาไร เพราะลูกค้าจะเลือกสินค้าที่ทันสมัยกว่าดีกว่า
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
14
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
คู่แข่งขันรายใหม่
(New Entrants)
2.คู่แข่งรายใหม่
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
15
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
2.คู่แข่งรายใหม่
การลงทุนในธุรกิจ
 ถ้าเป็นธุรกิจที่ลงทุนต่าจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไรเพราะ คู่แข่งหน้าใหม่เข้ามาแข่งขันมาก มี
สินค้าให้ลูกค้าเลือกมาก โอกาสขายได้น้อยลง เช่น ร้านขายเสื้อผ้า ร้านอาหาร
 ถ้าเป็นธุรกิจที่ลงทุนสูงจะเป็นโอกาส (O) ในการทากาไรเพราะ คู่แข่งหน้าใหม่จะเข้ามาแข่งขันยาก
คู่แข่งน้อย โอกาสขายได้มากขึ้น เช่น เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ TRUE, AIS, D-TAC
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
16
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
2.คู่แข่งรายใหม่
ต้นทุนของคู่แข่ง
 ถ้าคู่แข่งต้นทุนต่ากว่าจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไร เพราะคู่แข่งมีต้นทุนต่า
กว่าราคาขายย่อมต่ากว่าทาให้ผู้บริโภคตัดสินใจ
 ถ้าคู่แข่งต้นทุนสูงกว่าเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร เพราะเรามีต้นทุนต่ากว่าคู่แข่ง
ที่เข้ามาใหม่ราคาขายย่อมต่ากว่าทาให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือก
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
17
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
3.สินค้าทดแทน
สินค้าทดแทน
(Replacement Product)
18
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
3.สินค้าทดแทน
ราคาและคุณภาพ
 ถ้ามีสินค้าทดแทนที่มีราคาถูกกว่าหรือคุณภาพใกล้เคียงกันทดแทนกันได้ เป็นอุปสรรค
(T) ในการทากาไร เช่น น้าอัดลมทดแทนน้าดื่ม เนื้อไก่ทดแทนเนื้อหมู
19
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ
ผู้จัดหาวัตถุดิบ
(Suppliers)
20
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ
จานวนผู้จัดหาวัตถุดิบ
 ถ้ามีจานวนมากจะเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร เพราะมีหลายรายให้เราเลือกมาก
เลือกรายที่ถูกที่สุด และดีที่สุด เรามีอานาจในการต่อรองสูงกว่า Supplier เช่น
ร้านขายผ้าสาเพ็ง
21
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ
เอกลักษณ์เฉพาะตัวของผู้จัดหาวัตถุดิบ
 ถ้าผู้ชายวัตถุดิบมี เอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนรายอื่นๆ จะเป็นจะอุปสรรค(T) ใน
การทากาไร เพราะยังไงก็ต้องซื้อ เปลี่ยนไม่ได้ มีผลต่อคุณภาพ หรือรูปลักษณ์
สินค้า Supplier มีอานาจการต่อรองสูง กาหนดราคาเองได้ เช่น สูตรน้าอัดลม
สูตรน้าผลไม้
22
Five Force Model (Michael E. Porter’s)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
5.ผู้ซื้อ/ลูกค้า
จานวนผู้ซื้อ
 ถ้าจานวนน้อย จะเป็นอุปสรรค(T) ในการทากาไร เพราะแย่งลูกค้ากัน ถ้าไม่ให้ไม่
ซื้อ ขายราคาถูกก็ต้องขาย ผู้ซื้อ/ลูกค้ามีอานาจในการต่อรองสูง โอกาสในการทา
กาไรของเรามีน้อยลง
สภาวะแวดล้อมมหภาค
23
PEST + LDE
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
24
PEST + LDE Analysis
=Political (การเมือง)
 สถานการณ์ทางการเมือง ม็อบประท้วง (เช่น กกปส. นปช.)
 นโยบายรัฐบาล เอื้อประโยชน์ต่อธุรกิจ
(พิจารณาว่าปัจจัยทางการเมืองเป็นโอกาสหรืออุปสรรคในการทากาไรของธุรกิจเรา)
8
PEST + LDE Analysis
ปัจจัยแวดล้อม
มหภาค
สถานการณ์ โอกาส อุปสรรค
การเมือง
(Political)
การประท้วง
ทางการเมือง
ผู้ชุมนุมทาเสื้อ หรือ
ของที่ระลึกจากการ
ประท้วงขาย
กระทบต่อความเชื่อมั่น
ในการลงทุน
การเปลี่ยนแปลง
ทางการเมือง
ผู้บริโภคระวังในการใช้
จ่ายเงิน
นโยบายกระตุ้น
เศรษฐกิจของรัฐบาล
คนมีรายได้เพิ่มขึ้น
25
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
8
PEST + LDE Analysis
26
=Economic (เศรษฐกิจ)
 ราคาน้ามัน
 อัตราแลกเปลี่ยน ค่าเงินบาท
 อัตราดอกเบี้ย
 อัตราเงินเฟ้อ ของแพง
(พิจารณาว่าปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นโอกาสหรืออุปสรรคในการทากาไรของธุรกิจเรา)
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
ปัจจัยแวดล้อม
มหภาค
สถานการณ์ โอกาส อุปสรรค
เศรษฐกิจ
(Economic)
เศรษฐกิจประเทศและโลก เศรษฐกิจดีกาลังซื้อสูง ไม่ดีขายของได้น้อยลง
กาไรน้อยลง
ราคาน้ามัน ราคาลดลงกาลังซื้อเพิ่ม ราคาสูงต้นทุนแพงกาไร
น้อยลง
อัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทอ่อน แลกเงินไทยได้
มากขึ้น
เงินบาทแข็ง แลกเงินไทย
ได้น้อยลง
อัตราเงินเฟ้อ ขายของได้น้อยลง
กาไรน้อยลง
อัตราดอกเบี้ย ดอกเบี้ยต่า กาไรมากขึ้น ดอกเบี้ยสูง ต้นทุนสูง
827
PEST + LDE Analysis
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
28
PEST + LDE Analysis
=Social (สังคม)
 รูปแบบการใช้ชีวิต
 วัฒนธรรมของแต่ละท้องที่
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
29
PEST + LDE Analysis
=Technology (เทคโนโลยี)
 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่รวดเร็ว
 นวัตกรรมใหม่
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
30
PEST + LDE Analysis
=Legal (กฎหมาย)
 ข้อกาหนด
 ข้อบังคับ
 ระเบียบต่างๆ ของแต่ละท้องที่
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
31
PEST + LDE Analysis
=Demographic (ประชากรศาสตร์)
 การเพิ่ม/ลด จานวนประชากร
 ความแตกต่างของกลุ่มประชากร
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
32
PEST + LDE Analysis
=Environment (ปัจจัยทางธรรมชาติ)
 ดิน ฟ้า อากาศ
 อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย ฯลฯ
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
33
PEST + LDE Analysis
เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
การวิเคราะห์ ความหมาย
S-Strength
การวิเคราะห์ภายในองค์กรว่ามีอะไรเป็นจุดแข็ง ที่ได้เปรียบ
คู่แข่ง
W-Weakness การวิเคราะห์จุดอ่อนหรือจุดด้อยภายในองค์กรที่ด้อยกว่าคู่แข่ง
O-Opportunity การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาสในการทากาไร
T-Threat การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่เป็นอุปสรรคในการทากาไร
34
เครื่องมือวิเคราะห์ SWOT
SWOT Analysis
Q&Aอาจารย์ นิธินพ ทองวาสนาส่ง
E-mail: Nitinop.inova@gmail.com
Tel: 085-352-1050

More Related Content

What's hot

1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคkrupeem
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยKruthai Kidsdee
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 

What's hot (20)

1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอ
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 

Viewers also liked

วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์Juѕтzіиє Athitiya
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
การวิเคราะห์  Swot chicken little groupการวิเคราะห์  Swot chicken little group
การวิเคราะห์ Swot chicken little groupjanjirapansri
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)tumetr1
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน) DrDanai Thienphut
 
Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..
Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..
Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..Bidhu Bhushan Binit
 

Viewers also liked (20)

วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
Risk Management 53
Risk Management 53Risk Management 53
Risk Management 53
 
Risk Management
Risk ManagementRisk Management
Risk Management
 
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
การวิเคราะห์  Swot chicken little groupการวิเคราะห์  Swot chicken little group
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
 
Swot
SwotSwot
Swot
 
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
 
Market
MarketMarket
Market
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
 
Effective Problem Solving
Effective Problem SolvingEffective Problem Solving
Effective Problem Solving
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Prin.mkt mid term exam review
Prin.mkt mid term exam review Prin.mkt mid term exam review
Prin.mkt mid term exam review
 
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
 
Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..
Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..
Product-Mix & Product line analysis of United Phosphorus Ltd..
 

More from Nitinop Tongwassanasong

8 การเขียนรายงาน
8 การเขียนรายงาน8 การเขียนรายงาน
8 การเขียนรายงานNitinop Tongwassanasong
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูลNitinop Tongwassanasong
 
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่างNitinop Tongwassanasong
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสารNitinop Tongwassanasong
 
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิดNitinop Tongwassanasong
 
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อNitinop Tongwassanasong
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจNitinop Tongwassanasong
 

More from Nitinop Tongwassanasong (9)

9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
8 การเขียนรายงาน
8 การเขียนรายงาน8 การเขียนรายงาน
8 การเขียนรายงาน
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
 
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
 
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
 

Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3

  • 1. อาจารย์ นิธินพ ทองวาสนาส่ง Product and Price Policy นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา สภาวะแวดล้อมทางการตลาด
  • 2. หัวข้อสาคัญในบท  ลักษณะสภาวะแวดล้อมทางการตลาด  เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค  เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค  เครื่องมือวิเคราะห์ SWOT 2
  • 3. ผู้ขายวัตถุดิบ ผู้บริหารทางธุรกิจ ตัวแทนหรือคนกลาง ลูกค้า คู่แข่งขัน กลุ่มชุมชน กลุ่มบุคคลในกิจการ เศรษฐกิจ กฎหมาย การเมือง สังคม ประชากรศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติ บริษัท ลักษณะสภาวะแวดล้อมทางการตลาด 3 สภาวะแวดล้อมแบบจุลภาค สภาวะแวดล้อมแบบมหภาค
  • 5. สภาวะแวดล้อมจุลภาค 5  สภาวะแวดล้อมภายในกิจการ 1) นโยบาย 2) เป้าหมายขององค์การ 3) เป้าหมายทางการตลาด 4) ตลาดเป้าหมาย
  • 7. สภาวะแวดล้อมจุลภาค 7  สภาวะแวดล้อมจุลภาคอื่นๆ 1) ผู้จาหน่ายวัสดุ (Suppliers) 2) คนกลาง (Middlemen) 3) ลูกค้า (Customer) 4) กลุ่มสาธารณชน (Publics)
  • 9. เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค 9 Five Force Model (Michael E. Porter’s) 2.คู่แข่งรายใหม่ 1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม 5.ผู้ซื้อ/ลูกค้า4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ 3.สินค้าทดแทน
  • 10. 10 Five Force Model (Michael E. Porter’s) ผลกระทบจากคู่แข่งภายในอุตสาหกรรม (Rivalry) 1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
  • 11. 11 Five Force Model (Michael E. Porter’s) 1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม จานวนคู่แข่ง  ถ้าคู่แข่งจานวนมากจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไร ส่วนมากเป็นสินค้า Low tech ไม่มี นวัตกรรม ใครก็ทาได้ เช่น โรงานผลิตน้าดื่ม,สบู่,ยาสีฟัน,กระดาษ  ถ้าคู่แข่งจานวนน้อยจะเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร ส่วนมากเป็นสินค้า High-tech มีนวัตกรรม สินค้ามีความแตกต่าง คู่แข่งไม่มีมาก เช่น Computer, กล้องถ่ายรูป เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
  • 12. 12 Five Force Model (Michael E. Porter’s) 1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม ราคาขายสินค้า  ถ้าคู่แข่งขายราคาต่าจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไร เพราะลูกค้าจะเลือกซื้อ สินค้าที่มีราคาถูกกว่าถ้าเป็นสินค้าเหมือนกัน  ถ้าคู่แข่งขายราคาสูงถือเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร เพราะสินค้าเราถูกกว่า ลูกค้าเลือกที่จะจ่ายเงินต่ากว่า เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
  • 13. 13 Five Force Model (Michael E. Porter’s) 1.คู่แข่งภายในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่ง  ถ้าคู่แข่งมีผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัยกว่า,คุณภาพดีกว่าสินค้าเรา ถือเป็นอุปสรรค (T) ใน การทากาไร เพราะลูกค้าจะเลือกสินค้าที่ทันสมัยกว่าดีกว่า เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
  • 14. 14 Five Force Model (Michael E. Porter’s) คู่แข่งขันรายใหม่ (New Entrants) 2.คู่แข่งรายใหม่ เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
  • 15. 15 Five Force Model (Michael E. Porter’s) 2.คู่แข่งรายใหม่ การลงทุนในธุรกิจ  ถ้าเป็นธุรกิจที่ลงทุนต่าจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไรเพราะ คู่แข่งหน้าใหม่เข้ามาแข่งขันมาก มี สินค้าให้ลูกค้าเลือกมาก โอกาสขายได้น้อยลง เช่น ร้านขายเสื้อผ้า ร้านอาหาร  ถ้าเป็นธุรกิจที่ลงทุนสูงจะเป็นโอกาส (O) ในการทากาไรเพราะ คู่แข่งหน้าใหม่จะเข้ามาแข่งขันยาก คู่แข่งน้อย โอกาสขายได้มากขึ้น เช่น เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ TRUE, AIS, D-TAC เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
  • 16. 16 Five Force Model (Michael E. Porter’s) 2.คู่แข่งรายใหม่ ต้นทุนของคู่แข่ง  ถ้าคู่แข่งต้นทุนต่ากว่าจะเป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไร เพราะคู่แข่งมีต้นทุนต่า กว่าราคาขายย่อมต่ากว่าทาให้ผู้บริโภคตัดสินใจ  ถ้าคู่แข่งต้นทุนสูงกว่าเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร เพราะเรามีต้นทุนต่ากว่าคู่แข่ง ที่เข้ามาใหม่ราคาขายย่อมต่ากว่าทาให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือก เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค
  • 17. 17 Five Force Model (Michael E. Porter’s) เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค 3.สินค้าทดแทน สินค้าทดแทน (Replacement Product)
  • 18. 18 Five Force Model (Michael E. Porter’s) เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค 3.สินค้าทดแทน ราคาและคุณภาพ  ถ้ามีสินค้าทดแทนที่มีราคาถูกกว่าหรือคุณภาพใกล้เคียงกันทดแทนกันได้ เป็นอุปสรรค (T) ในการทากาไร เช่น น้าอัดลมทดแทนน้าดื่ม เนื้อไก่ทดแทนเนื้อหมู
  • 19. 19 Five Force Model (Michael E. Porter’s) เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค 4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ ผู้จัดหาวัตถุดิบ (Suppliers)
  • 20. 20 Five Force Model (Michael E. Porter’s) เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค 4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ จานวนผู้จัดหาวัตถุดิบ  ถ้ามีจานวนมากจะเป็นโอกาส (O) ในการทากาไร เพราะมีหลายรายให้เราเลือกมาก เลือกรายที่ถูกที่สุด และดีที่สุด เรามีอานาจในการต่อรองสูงกว่า Supplier เช่น ร้านขายผ้าสาเพ็ง
  • 21. 21 Five Force Model (Michael E. Porter’s) เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค 4.ผู้จัดหาวัตถุดิบ เอกลักษณ์เฉพาะตัวของผู้จัดหาวัตถุดิบ  ถ้าผู้ชายวัตถุดิบมี เอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนรายอื่นๆ จะเป็นจะอุปสรรค(T) ใน การทากาไร เพราะยังไงก็ต้องซื้อ เปลี่ยนไม่ได้ มีผลต่อคุณภาพ หรือรูปลักษณ์ สินค้า Supplier มีอานาจการต่อรองสูง กาหนดราคาเองได้ เช่น สูตรน้าอัดลม สูตรน้าผลไม้
  • 22. 22 Five Force Model (Michael E. Porter’s) เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุลภาค 5.ผู้ซื้อ/ลูกค้า จานวนผู้ซื้อ  ถ้าจานวนน้อย จะเป็นอุปสรรค(T) ในการทากาไร เพราะแย่งลูกค้ากัน ถ้าไม่ให้ไม่ ซื้อ ขายราคาถูกก็ต้องขาย ผู้ซื้อ/ลูกค้ามีอานาจในการต่อรองสูง โอกาสในการทา กาไรของเรามีน้อยลง
  • 24. เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค 24 PEST + LDE Analysis =Political (การเมือง)  สถานการณ์ทางการเมือง ม็อบประท้วง (เช่น กกปส. นปช.)  นโยบายรัฐบาล เอื้อประโยชน์ต่อธุรกิจ (พิจารณาว่าปัจจัยทางการเมืองเป็นโอกาสหรืออุปสรรคในการทากาไรของธุรกิจเรา)
  • 25. 8 PEST + LDE Analysis ปัจจัยแวดล้อม มหภาค สถานการณ์ โอกาส อุปสรรค การเมือง (Political) การประท้วง ทางการเมือง ผู้ชุมนุมทาเสื้อ หรือ ของที่ระลึกจากการ ประท้วงขาย กระทบต่อความเชื่อมั่น ในการลงทุน การเปลี่ยนแปลง ทางการเมือง ผู้บริโภคระวังในการใช้ จ่ายเงิน นโยบายกระตุ้น เศรษฐกิจของรัฐบาล คนมีรายได้เพิ่มขึ้น 25 เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 26. 8 PEST + LDE Analysis 26 =Economic (เศรษฐกิจ)  ราคาน้ามัน  อัตราแลกเปลี่ยน ค่าเงินบาท  อัตราดอกเบี้ย  อัตราเงินเฟ้อ ของแพง (พิจารณาว่าปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นโอกาสหรืออุปสรรคในการทากาไรของธุรกิจเรา) เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 27. ปัจจัยแวดล้อม มหภาค สถานการณ์ โอกาส อุปสรรค เศรษฐกิจ (Economic) เศรษฐกิจประเทศและโลก เศรษฐกิจดีกาลังซื้อสูง ไม่ดีขายของได้น้อยลง กาไรน้อยลง ราคาน้ามัน ราคาลดลงกาลังซื้อเพิ่ม ราคาสูงต้นทุนแพงกาไร น้อยลง อัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทอ่อน แลกเงินไทยได้ มากขึ้น เงินบาทแข็ง แลกเงินไทย ได้น้อยลง อัตราเงินเฟ้อ ขายของได้น้อยลง กาไรน้อยลง อัตราดอกเบี้ย ดอกเบี้ยต่า กาไรมากขึ้น ดอกเบี้ยสูง ต้นทุนสูง 827 PEST + LDE Analysis เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 28. 28 PEST + LDE Analysis =Social (สังคม)  รูปแบบการใช้ชีวิต  วัฒนธรรมของแต่ละท้องที่ เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 29. 29 PEST + LDE Analysis =Technology (เทคโนโลยี)  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่รวดเร็ว  นวัตกรรมใหม่ เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 30. 30 PEST + LDE Analysis =Legal (กฎหมาย)  ข้อกาหนด  ข้อบังคับ  ระเบียบต่างๆ ของแต่ละท้องที่ เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 31. 31 PEST + LDE Analysis =Demographic (ประชากรศาสตร์)  การเพิ่ม/ลด จานวนประชากร  ความแตกต่างของกลุ่มประชากร เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 32. 32 PEST + LDE Analysis =Environment (ปัจจัยทางธรรมชาติ)  ดิน ฟ้า อากาศ  อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย ฯลฯ เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 33. 33 PEST + LDE Analysis เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมมหภาค
  • 34. การวิเคราะห์ ความหมาย S-Strength การวิเคราะห์ภายในองค์กรว่ามีอะไรเป็นจุดแข็ง ที่ได้เปรียบ คู่แข่ง W-Weakness การวิเคราะห์จุดอ่อนหรือจุดด้อยภายในองค์กรที่ด้อยกว่าคู่แข่ง O-Opportunity การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาสในการทากาไร T-Threat การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่เป็นอุปสรรคในการทากาไร 34 เครื่องมือวิเคราะห์ SWOT SWOT Analysis