SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
ตลาด
(market)
หมายถึง การที่ผู้ซื้อและผู้ขายมีทาง
ติดต่อกันได้โดยสะดวก จนสามารถทา
การแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้ากันได้
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
การแบ่งตลาด
1. ตลาดขายส่ง
2. ตลาดขายปลีก
- ทาการซื้อขายสินค้าให้กับผู้บริโภคโดยตรง ซื้อ
ขายในจานวนไม่มากนัก เช่น สบู่ ยาสีฟัน เสื้อผ้า
แบ่งตามลักษณะ
การขายสินค้า
- ทาการซื้อขายจานวนครั้งละมากๆ เพื่อขายส่ง
ให้กับพ่อค้าระดับรองลงไปเพื่อนาไปขายให้กับ
ผู้ขายปลีก เช่น เสื้อผ้า สินค้าเกษตร
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
การแบ่งตลาด
1. ตลาดสินค้าเกษตร
- ทาการซื้อขายสินค้าเกษตรเป็นหลัก เช่น ข้าว
ผลไม้ เนื้อสัตว์
2. ตลาดสินค้าอุตสาหกรรม
- ทาการซื้อขายสินค้าอุตสาหกรรม เช่น
เครื่องจักร รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า
แบ่งตามชนิด
สินค้า
3. ตลาดสินค้าบริการ
- มีการซื้อขายสินค้าบริการต่างๆ เช่น บริการ
ขนส่งสินค้า ประกันภัย ธนาคาร
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
การแบ่งตลาด
1. ตลาดสินค้าผู้บริโภค
- เป็นตลาดที่ผู้บริโภคซื้อสินค้าไปบริโภคโดยตรง เช่น
เสื้อผ้า อาหาร ของใช้ในชีวิตประจาวัน
2. ตลาดสินค้าผู้ผลิต
- เป็นตลาดที่ผู้ซื้อนาไปใช้ในการผลิตอีกทอดหนึ่งมัก
อยู่ในรูปของวัตถุดิบ เช่น น้ามัน เครื่องจักร
แบ่งตาม
วัตถุประสงค์ของ
การใช้สินค้า
3. ตลาดเงินและตลาดทุน
- ตลาดเงินเป็นตลาดที่มีการระดมทุนและให้กู้ยืมระยะ
สั้นๆ ไม่เกิน1ปี ส่วนตลาดทุนเป็นตลาดที่มีการระดม
ทุนและให้กู้ยืมยาวเกิน 1 ปี เช่น หุ้น เงินทุนของ
ธนาคาร
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
การแบ่งตลาด
1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
แบ่งตามลักษณะ
การแข่งขัน
2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
(1) ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
(2) ตลาดผู้ขายน้อยราย
(3) ตลาดผูกขาด
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
มีผู้ซื้อ+ผู้ขายจานวนมากนับไม่ถ้วน
สินค้ามีลักษณะเหมือนกันทุกประการ ราคาเท่ากัน ทดแทนกันได้
ผู้ซื้อ+ผู้ขายรู้สภาพตลาดเป็นอย่างดี ติดต่อซื้อขายกันได้สะดวก
เข้าออกจากธุรกิจการค้าได้โดยเสรี
เป็นตลาดในอุดมคติที่ไม่พบเห็นในโลกปัจจุบัน
การแข่งขัน
สูงมาก
สินค้าที่ใกล้เคียงกับสินค้าตลาดแข่งขันสมบูรณ์
อนุโลมให้เรียกสินค้าเกษตรขั้นปฐมภูมิได้
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ข้อดี
✿ ผู้ผลิตจะผลิตสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้ต้นทุนต่าที่สุด
✿ ผู้บริโภคจะได้รับความพึงพอใจสูงสุดในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
✿ ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการในราคาที่ต่าที่สุด
✿ การกระจายรายได้ค่อนข้างเสมอภาค
✿ เปิดโอกาสให้ผู้ผลิตรายใหม่เข้ามาแข่งขัน
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ข้อเสีย
✿ เป็นตลาดในอุดมคติ ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ตามสภาพความเป็นจริง
✿ สิ้นเปลืองทรัพยากรการผลิต เพราะสินค้าราคาไม่สูง บริโภคฟุ่มเฟือย
✿ ไม่มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตอย่างแท้จริง เพราะผู้ผลิตแต่ละรายมี
ความสามารถในการแข่งขันเพื่อลดต้นทุนไม่เท่ากัน
ธุรกิจเล็กเสียเปรียบ เลิกกิจการไปในที่สุด
✿ ผู้ผลิตมักจะไม่ลงทุนจานวนมาก เนื่องจากได้กาไรน้อย
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
1. ตลาดผูกขาด
มีผู้ขายรายเดียว มีอานาจตลาดสูงสุด
มีอิทธิพลเหนือราคา
มีสินค้าเพียงยี่ห้อเดียว
1 คน
ตัวอย่างสินค้าในตลาดผูกขาด
เช่น รถไฟ ไฟฟ้า น้าประปา
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
2. ตลาดผู้ขายน้อยราย
มีผู้ขายน้อยราย ไม่กี่ราย
สินค้าคล้ายคลึงกัน ราคาใกล้เคียงกัน
ผู้ขายรายใดเปลี่ยนแปลงราคาจะกระทบกับผู้ขายรายอื่น
แต่ไม่นิยมตัดราคากันเอง
3คน+
ตัวอย่างสินค้าในตลาดผู้ขายน้อยราย
เช่น น้าอัดลม เครือข่ายมือถือ สถานีบริการน้ามัน
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
2. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
มีผู้ขายจานวนมาก แต่มีผู้ขายรายใหญ่รายหนึ่ง
ที่มีส่วนแบ่งตลาดมากที่สุด
สินค้าหลากหลาย ราคาแตกต่างกัน มีหลายยี่ห้อ
นิยมใช้การโฆษณาเพื่อแข่งขันกัน
10คน+
ตัวอย่างสินค้าในตลาดผู้ขายน้อยราย
เช่น สบู่ ยาสีฟัน แชมพู ครีมนวด
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ข้อดี
✿ สามารถควบคุมการบริโภคและการให้สวัสดิการโดยเป็นกิจการที่รัฐ
เข้าไปผูกขาดการผลิต เพื่อควบคุมการบริโภค
✿ เป็นการสร้างแรงจูงใจให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุน
การผลิตในประเทศเพิ่มขึ้น
✿ สามารถควบคุมสภาพแวดล้อม โดยรัฐควบคุมไม่ให้มีการผลิต
ที่มากเกินไปจนเกิดปัญหาสภาพแวดล้อมตามมา
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ข้อเสีย
✿ มีการแข่งขันน้อย เพราะมีการกีดกันจากผู้ผลิต ผู้บริโภคจึงต้อง
บริโภคสินค้าที่มีราคาสูง
✿ ผู้ผลิตมีจานวนน้อย ส่งผลให้มีการจ้างงานน้อย
✿ ผู้ผลิตหรือผู้บริโภคมีอิทธิพลเหนือราคาสินค้า
✿ ผู้บริโภคขาดทางเลือกในการบริโภคสินค้า โดยซื้อสินค้า
ในราคาสูงขึ้น
ตลาดผูกขาด
ตลาดผู้ขายน้อยราย
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การแข่งขัน
อานาจตลาด เรียงตามจานวนผู้ขาย
ตลาดแข่งขัน
สมบูรณ์
ตลาดผูกขาด ตลาดที่มีผู้ขาย
น้อยราย
ตลาดกึ่งแข่งขัน
กึ่งผูกขาด
จานวนผู้ขาย
ลักษณะสินค้า
และราคา
การแข่งขัน
ข้อจากัด
มากราย
เหมือนกัน
- คุณภาพ
- ราคา
ทดแทนกันได้
ผซ/ผข มีความรอบรู้
โฆษณาไม่จาเป็น
เป็นสินค้า
ในอุดมคติ
รายเดียว
ไม่สามารถ
ทดแทนได้
การแข่งขันน้อยมาก
ไม่จาเป็นต้องโฆษณา
ผู้ซื้อขาดอานาจใน
การต่อรอง
น้อยราย
ราคาถูกกาหนด
โดยผู้ขาย
ทดแทนกันได้
Ex. เครือข่ายมือถือ
สูงมาก
ควบกิจการได้
-สินค้าใช้ทุน
สูงมาก
มากราย
ทดแทนกันได้
- คุณภาพสินค้า
+ราคาแตกต่าง
สูง
ควบกิจการได้

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn999
 
Econ Presentation 6
Econ Presentation 6Econ Presentation 6
Econ Presentation 6
wowwilawanph
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
ธนิสร ยางคำ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
krupeem
 

What's hot (20)

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
Stp การตลาด
Stp การตลาดStp การตลาด
Stp การตลาด
 
Econ Presentation 6
Econ Presentation 6Econ Presentation 6
Econ Presentation 6
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
swot
swotswot
swot
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ