SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
แนวทางปกป้องคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคของภาครัฐ
หน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคของภาคเอกชน
ความหมายของผู้บริโภค
ผู้บริโภค คือ ผู้ที่ซื้อสินค้าหรือ
ได้รับบริการจากผู้ประกอบการ
หรือได้รับการชักชวนจากผู้ประกอบการให้
ซื้อสินค้าหรือรับบริการ
ผู้บริโภค มีความหมายว่าอย่างไร
สิทธิผู้บริโภค
สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่าวสาร
สรรพคุณ ที่บรรยายถึงสินค้า
และบริการอย่างถูกต้อง
สิทธิที่จะมีอิสระในการ
เลือกซื้อสินค้าและบริการ
สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัย
จากการใช้สินค้าและบริการ
สิทธิได้รับความเป็นธรรมใน
การทาสัญญา
สิทธิได้รับการพิจารณาและ
ชดเชยความเสียหาย
สิทธิผู้บริโภค
ความหมายของการคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค หมายถึง
การที่หน่วยงานภาครัฐเข้ามาดูแลและปกป้องสิทธิผู้บริโภค
ไม่ให้ถูกผู้ประกอบการเอารัดเอาเปรียบในการบริโภคสินค้าและบริการ
และเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้บริโภคตระหนักและรักษาสิทธิของตน
ในการบริโภคสินค้าและบริการตามกฎหมาย
เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพและได้รับความเป็นธรรม
ความสาคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค
ผู้บริโภค
กระตุ้นให้ตระหนัก
ในสิทธิของตนเอง
และรักษาสิทธิตาม
กฎหมาย
ผู้ประกอบธุรกิจ
สร้างจิตสานึกให้ผลิต
สินค้าและบริการที่มี
คุณภาพ และมีความ
เป็นธรรมด้านราคา
สร้างพลังให้สามารถ
ป้องกันและต่อต้านการ
ถูกเอารัดเอาเปรียบจาก
ผู้ประกอบธุรกิจ
ผู้บริโภค
เป้าหมายในการคุ้มครองผู้บริโภค
เป้าหมายใน
การคุ้มครอง
ผู้บริโภค
ได้รับความเป็น
ธรรมจากการ
บริโภค
มีความ
ประหยัดในการ
บริโภคสินค้า
ได้รับความ
ปลอดภัยจาก
การบริโภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
(แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2541)
คุ้มครองผู้บริโภค
ด้านสัญญา
คุ้มครองผู้บริโภค
ด้านโฆษณา
คุ้มครองผู้บริโภค
ด้านฉลาก
พระราชบัญญัติราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. 2542
• เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการกาหนดราคาสินค้าและบริการเพื่อให้ผู้บริโภค
ได้รับความเป็นธรรม บริโภคสินค้าและบริการในราคาเหมาะสมและมีคุณภาพ
• คณะกรรมการว่าด้วยราคาสินค้าและบริการมีอานาจหน้าที่ในการประกาศ
กาหนดราคาสินค้าหรือบริการที่ควบคุมกาหนดมาตรการที่ใช้สาหรับสินค้าหรือบริการ
ที่ควบคุม กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการที่ถือว่าเป็นการทาให้ราคาสินค้าต่าเกินควรหรือสูง
เกินเกณฑ์หรือทาให้เกิดความปั่นป่วนขึ้นกับราคาสินค้าหรือบริการเพื่อป้องกันการกาหนด
ราคาซื้อ ราคาจาหน่าย หรือกาหนดเงื่อนไขและวิธีปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม
พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542
• เป็นกฎหมายที่ให้ความเป็นธรรมกับผู้ที่ทาการค้าและผู้บริโภค ป้องกันการผูกขาด
ป้องกันมิให้มีการกาหนดราคาซื้อหรือขายสินค้าและบริการอย่างไม่เป็นธรรม ป้องกัน
การแทรกแซงการประกอบธุรกิจของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร และห้ามไม่ให้
ผู้ประกอบธุรกิจทาการรวมธุรกิจ อันก่อให้เกิดการผูกขาดหรือความไม่เป็นธรรมในการ
แข่งขัน
• สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า เป็นผู้มีอานาจหน้าที่ในการกาหนด
ระเบียบเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ติดตามความเคลื่อนไหวและสอดส่องพฤติการณ์
ของผู้ประกอบธุรกิจ
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
• เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการผลิต นาเข้า จาหน่ายยาแผนปัจจุบัน และหน้าที่
ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับยา หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
ควบคุมมิให้มิการผลิต นาเข้า หรือจาหน่ายยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน
• พ.ร.บ. ฉบับนี้กาหนดลักษณะของการโฆษณายาที่จะขายให้กับผู้บริโภค
ดังนี้
 ไม่เป็นการโอ้อวดสรรพคุณของยาว่าสามารถบาบัดบรรเทา รักษา
หรือป้องกันโรคให้หายขาดได้
 ไม่แสดงสรรพคุณยาอันเป็นข้อมูลเท็จหรือเกินจริง
 ผู้ขายต้องไม่แสดงสรรพคุณว่าสามารถบาบัดบรรเทา รักษา หรือ
ป้องกันโรคใดได้บ้าง
 ผู้ขายต้องไม่ขายยาโดยไม่สุภาพหรือโดยการร้องราทาเพลง หรือการ
แสดงความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
 ต้องไม่โฆษณาขายยาโดยมีของแถมหรือมีการออกสลากรางวัลเพื่อ
ดึงดูดใจให้ผู้บริโภคมาซื้อ
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
• เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองแก่
ผู้บริโภค โดยควบคุมคุณภาพของอาหาร
ให้มีความปลอดภัยกับผู้บริโภค ตั้งแต่
ขั้นตอนกระบวนการผลิตที่ต้องควบคุม
สุขอนามัย ส่วนผสมของอาหารต้องไม่มี
สิ่งปลอมปน ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
มีฉลากที่ระบุคุณสมบัติและปริมาตรของ
สินค้าอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมถึงมี
บรรจุภัณฑ์ที่สะอาดปลอดภัยต่อผู้บริโภค
โฆษณา
อาหารที่ควร
ระวัง
โฆษณาว่า
ป้องกันและ
รักษาโรคได้
มีอ้างถึง
สรรพคุณทาง
การแพทย์ที่
ไม่จริง
โฆษณาใน
เชิงสวยงาม
พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง พ.ศ. 2535
• เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องสาอาง
ที่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้หรือมีส่วนประกอบของ
วัตถุมีพิษ ซึ่งจะถูกกาหนดให้เป็นเครื่องสาอาง
ควบคุมพิเศษ ผู้ที่จะผลิตหรือนาเข้าเพื่อจาหน่าย
ต้องขึ้นทะเบียนเครื่องสาอางให้ถูกต้อง เครื่องสาอางที่
อาจก่อให้เกิด
อันตราย
เครื่องสาอาง
ที่ไม่ได้
ขึ้นทะเบียน
เครื่องสาอาง
ปลอม
เครื่องสาอาง
ผิดมาตรฐาน
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)
อานาจหน้าที่ของ สคบ.
สนับสนุนหรือทาการศึกษาและวิจัยปัญหา
เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับ
สถาบันการศึกษาและหน่วยงานอื่น
ติดตามและสอดส่องพฤติการณ์ของ
ผู้ประกอบการธุรกิจถึงการกระทาที่มีลักษณะ
เป็นการละเมิดสิทธิผู้บริโภค
รับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับ
ความเดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องมา
จากการกระทาของผู้ประกอบธุรกิจ
ประสานงานกับส่วนราชการหรือหน่วยงานของ
รัฐที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุม ส่งเสริม
หรือกาหนดมาตรฐานของสินค้าหรือบริการ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคทกระดับ
การศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยและอันตรายที่อาจได้รับจาก
สินค้าหรือบริการ และเผยแพร่ให้ความรู้กับผู้บริโภค
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (คคบ.)
อานาจหน้าที่ของ สคบ.
พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับ
ความเดือดร้อนเสียหาย อันเนื่องมาจากการ
กระทาของผู้ประกอบธุรกิจ
ดาเนินการเกี่ยวกับสินค้า
ที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
รับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความ
เดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องมาจากการ
กระทาของผู้ประกอบธุรกิจ
ดาเนินคดีเกี่ยวกับ
การละเมิดสิทธิของผู้บริโภค
เสนอความคิดเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย
และมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภค
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
อานาจหน้าที่ของ อย.
กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของ
อาหาร โดยควบคุมตามชื่อ ประเภท
ชนิด หรือลักษณะของอาหาร
กาหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไขและ
วิธีการผลิต เพื่อจาหน่าย นาเข้า
หรือการจาหน่าย เป็นต้น
กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และ
เงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิต ขาย นาเข้า
หรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร
การนายามาเป็นตัวอย่างเพื่อทาการ
ตรวจสอบสถานที่ผลิต สถานที่ขาย
และสถานที่เก็บยา
สานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.)
อานาจหน้าที่ของ สมอ.
กาหนดมาตรฐานได้แก่
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(มอก.)
และมาตรฐานระดับสากล ISO
รับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์โดยอนุญาตให้แสดง
เครื่องหมายมาตรฐานตามชนิดของผลิตภัณฑ์
นั้นๆ ซึ่งมีทั้งแบบบังคับและไม่บังคับ
รับจดทะเบียนผลิตภัณฑ์
เป็นหน่วยตรวจสอบให้กับ
สถาบันมาตรฐานต่างประเทศ
ให้การรับรองฉลากเขียว
แก่ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม
กรมการค้าภายใน
เสนอความคิดเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย
และมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภค
อานาจหน้าที่ของกรมการค้าภายใน
จัดระเบียบส่งเสริมระบบการค้า การตลาด
และตลาดในประเทศให้เกิดความเป็นธรรม
ส่งเสริมการค้าอย่างเป็นธรรม
และป้องกันการผูกขาดทางเศรษฐกิจ
จัดระเบียบการค้า การตลาดกากับตรวจสอบ
และควบคุมการประกอบธุรกิจ
จัดระเบียบและส่งเสริมระบบการค้าสินค้า
เพื่อรักษาระดับราคาสินค้าเกษตร
มูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค
• เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนสาธารณประโยชน์ เริ่มดาเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2526 ในชื่อ
“คณะกรรมการประสานองค์กรเอกชนเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน”หรือ คปอส.
• มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาสาธารณสุข เช่น ผลักดันนโยบายห้ามผสมสารคาเฟอีนในยา
แก้ปวดลดไข้การรณรงค์ให้ชื่อสามัญทางยาในฉลากเอกสารกากับยาการรณรงค์ให้มี
นโยบายลดใช้สารเคมีในการเกษตร ฯลฯ
• ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้จดทะเบียนเป็นมูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค
• วัตถุประสงค์หลัก ได้แก่
─ ส่งเสริมให้ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองตามสิทธิอันพึงมีพึงได้
─ สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้บริโภคและองค์กรต่างๆ ได้มีส่วนร่วมในการคุ้มครอง
ผู้บริโภค
─ ส่งเสริมการศึกษา วิจัย และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้
ผู้บริโภคคุ้มครองดูแลตัวเองได้
การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคของตนเอง
• ผู้บริโภคต้องมีความเข้าใจในสิทธิของตนเองในการบริโภคสินค้าและบริการ ในกรณีที่
ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการบริโภคก็สามารถร้องเรียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• การที่ผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจในสิทธิของตนเอง จะทาให้ผู้ประกอบการผลิตสินค้า
ที่มีคุณภาพและไม่เอาเปรียบผู้บริโภค
• ผู้บริโภคต้องหมั่นติดตามข่าวสารจากสื่อต่างๆ หรือเข้ารับการศึกษาอบรมจะทาให้
รู้และตระหนักถึงสิทธิของตนเอง ทาให้ไม่ถูกผู้ประกอบการเอาเปรียบ
การกาหนดมาตรการด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของหน่วยงานภาครัฐ
มาตรการ
ป้องกันก่อนการซื้อขาย
• กาหนดและควบคุม
มาตรฐานสินค้า
• กาหนดข้อห้ามในทาง
การค้า
• ให้ผู้ประกอบการแจ้ง
การปรับราคาล่วงหน้า
• ให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์ต่อการ
ตัดสินใจในการเลือกซื้อ
มาตรการ
ที่เกี่ยวเนื่องกับสินค้า
• กากับดูแลการขายตรง
การเช่าซื้อสินค้า
• กาหนดเงื่อนไขในการ
ขายสินค้าที่ชัดเจน
• กาหนดมาตรฐานของ
สัญญาที่เป็นธรรม
มาตรการ
แก้ปัญหาหลังการซื้อขาย
• จัดตั้งระบบและขั้นตอน
ในการฟ้องร้องและ
ชดเชยความเสียหายที่
อาจเกิดขึ้น
• กาหนดกรอบความ
รับผิดชอบของผู้ผลิตที่
มีต่อสินค้าหรือบริการที่
บกพร่อง
การส่งเสริมสิทธิผู้บริโภค
• จัดให้มีปีรณรงค์สิทธิผู้บริโภค
• จัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลด้านสิทธิผู้บริโภคและข้อมูลแก่
ผู้ประกอบการในส่วนที่เกี่ยวกับมาตรฐานของสินค้าและบริการ
การโฆษณาและการใช้ฉลากที่ถูกต้องพร้อมบทลงโทษ
• ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบกระบวนการผลิตและการจาหน่าย
สินค้าและบริการให้เป็นไปตามที่มาตรฐานกาหนด
• จัดให้มีการทดสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับปริมาณและคุณภาพของ
สินค้าและบริการ
• จัดให้มีการแนะนาผู้บริโภคด้านวิธีการร้องทุกข์ที่ได้ผลสะดวก
ไม่เสียเวลา และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และให้มีการติดตาม
ประสานงาน เร่งรัดดาเนินการเรื่องราวร้องทุกข์แทนผู้บริโภค
• จัดให้มีตัวแทนผู้บริโภคจากกลุ่มผู้บริโภคหรือองค์กรเอกชน
ที่ดาเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
การสร้างเสริมองค์กรเพื่อดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค
• จัดให้มีการพิจารณาปรับปรุงระบบงานและกระบวนการบริหารภายในของสานักงาน
คณะกรรมการเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งสามารถสนับสนุนหน่วยงานส่วน
ภูมิภาคได้อย่างแท้จริง
• จัดให้มีการประสานประโยชน์จากหน่วยงานอื่นๆที่ดาเนินงานเกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง
ผู้บริโภคอยู่แล้ว โดยเฉพาะการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
• พัฒนาระบบการจัดเก็บรวบรวมและการนาข้อมูลข่าวสารมาใช้ในงานคุ้มครองผู้บริโภค
ได้ทันที โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
• จัดให้มีการประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านการคุ้มครองผู้บริโภคใน
ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ และจัดส่งบุคลากรเข้ารับ
การอบรม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
• จัดสรรงบประมาณเพื่อการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้องกับสภาพการณ์
ปัจจุบัน
การส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรเอกชนเพื่อดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค
• จัดตั้งองค์กรเอกชนที่ดาเนินงานเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับต่างๆ
เช่น ในหน่วยงานราชการ โรงพยาบาล เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่ปลอดภัย
• จัดให้การสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรเอกชนที่ดาเนินงานเกี่ยวข้องกับการ
คุ้มครองผู้บริโภคในด้านข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางด้านกฎหมายและมีการประชุม
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างองค์กรเอกชนที่
ดาเนินงานเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค

More Related Content

What's hot

เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่Lilrat Witsawachatkun
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกmutod
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 

What's hot (20)

เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

Similar to สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค

หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค Terapong Piriyapan
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
เจตนารมณ์
เจตนารมณ์เจตนารมณ์
เจตนารมณ์joansr9
 
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาดkroowachirongkham
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6praphol
 
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคเรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคsupatra39
 

Similar to สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค (10)

หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
 
Consumer Rights
Consumer RightsConsumer Rights
Consumer Rights
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
Consumer protection actnmind
Consumer protection actnmindConsumer protection actnmind
Consumer protection actnmind
 
เจตนารมณ์
เจตนารมณ์เจตนารมณ์
เจตนารมณ์
 
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
602 การบริโภคอย่างชาญฉลาด
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคเรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
 

More from krupeem

10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจkrupeem
 
9.1 เศรษฐกดิจพอเพียง
9.1 เศรษฐกดิจพอเพียง9.1 เศรษฐกดิจพอเพียง
9.1 เศรษฐกดิจพอเพียงkrupeem
 
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุนkrupeem
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการkrupeem
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจkrupeem
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นkrupeem
 

More from krupeem (7)

10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
10.1 การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
 
9.1 เศรษฐกดิจพอเพียง
9.1 เศรษฐกดิจพอเพียง9.1 เศรษฐกดิจพอเพียง
9.1 เศรษฐกดิจพอเพียง
 
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุน
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 

สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค