SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน.............................I.HAVE.A.DREAM.....................................
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ………นางสาว…กวิศรา……ภูคาวงศ์…………เลขที่ 15…ชั้น ..6/5…ห้อง...5.
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวกวิศรา ภูคาวงศ์ เลขที่ 15 ม.6/5
2. นางสาวเบญจรัตน์ อวดผล เลขที่ 16 ม.6/5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ฉันมีความฝัน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
I HAVE A DREAM
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกวิศรา ภูคาวงศ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 – ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ความฝัน เป็นเรื่องที่พบเจอบ่อยๆในชีวิตประจาวัน มันคือกลไกของร่างกายในขณะที่เรานอนหลับ ซึ่งมัน
เกิดปรากฏการณ์ที่เราจะเหนภาพฉายในหัวของเรา ทั้งที่เปนเรื่องราวเกี่ยวกับตัวของเรา หรือเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่
เราเคยเห็นหรือผ่านตามาเช่น การอ่านหนังสือ การดูหนัง ซึ่งมันเหมือนเปนกลไกของร่างกายที่นำภาพความทรง จำ
มาฉายซ้ำ แต่ในขณะเดียวกัน ความฝันก็มาจากจินตนาการเหนือความเป็นจริง เหมือนกับเรื่องราวในเทพ นิยาย ที่
เราไม่สามารถเดาทิศทางของมันได้ ด้วยเหตุนี้ จึงทำใหเ้กิดเป็นโครงงานนี้ขึ้นมา เพราะต้องการที่จะ
ศึกษาปรากฏการณ์อันน่าทึ่งของสมองของเรานี้ ที่มีความซับซ้อนยากที่จะอธิบายให้กระจ่างในอีกหลายๆส่วนที่
วิทยาศาสตร์ยังตอบคำถามไม่ได้ และเรื่องความฝัน ยังเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเรา ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ง่าย ตามข้อมูลที่ กำ
ลังจะศึกษานี้ จึงคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องที่น่าสนุก และหลายๆคนอาจจะสนใจอยู่ จึงเป็นเหตุผลที่จัดทำโครงงาน
นี้ขึ้นมานั่นเองค่ะ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ศึกษากลไกสมองที่ทาให้เราฝัน
2.ทดลองการควบคุมความฝัน
3.ฝึกความจาจากความฝันของตนเอง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ความฝันคืออะไร Lucid Dream
ฝันร้าย ผลกระทบจากLucid dream
ประโยชน์ของความฝัน
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ฝัน เป็นลาดับภาพ ความคิด อารมณ์ และการรับรู้ที่เกิดขึ้นนอกเหนืออานาจจิตใจในจิตระหว่างช่วงที่แน่นอน
ของการหลับ ยังไม่เข้าใจเนื้อหาและความมุ่งหมายของฝันนั้นแน่ชัด
ฝันเกิดขึ้นในการหลับระยะ REM เป็นหลัก เมื่อกิจกรรมของสมองเพิ่มสูงขึ้นเสมือนว่ากาลังตื่นอยู่ การหลับ
ระยะ REM สามารถบอกได้จากการกลอกไปมาของลูกตาขณะหลับ ทั้งนี้ ฝันสามารถเกิดได้ในการหลับขั้นอื่น แต่ฝัน
เหล่านั้นมีแนวโน้มสมจริงหรือผู้ฝันจาได้น้อยกว่ามาก
ฝันกินระยะเวลาตั้งแต่ไม่กี่วินาทีไปจนถึงยี่สิบนาที บุคคลมักจาฝันได้มากกว่าเมื่อตื่นขึ้นหากฝันในระยะ REM
โดยเฉลี่ย บุคคลมีฝัน 3 ถึง 5 ฝันต่อคืน ฝันมีแนวโน้มนานขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป ระหว่างการหลับ 8 ชั่วโมง บุคคลจะใช้
เวลากับการฝันสองชั่วโมง
มีผู้มองว่า ฝันเชื่อมโยงกับจิตไร้สานึก โดยมีตั้งแต่ปกติและสามัญไปจนถึงเหนือจริงหรือแปลกประหลาดเกิน
ฝันสามารถมีได้หลายอารมณ์ เช่น กลัว ตื่นเต้น สนุกสนาน เศร้าโศก ผจญภัยหรือเกี่ยวกับเพศ เหตุการณ์ในฝัน
โดยทั่วไปอยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้ฝัน ยกเว้น lucid dream ที่ผู้ฝันรู้สึกตัว ฝันบางครั้งได้สร้างความคิดริเริ่มแก่
บุคคลหรือให้ความรู้สึกถึงแรงบันดาลใจ
จากการวิจัยพบว่าสัตว์กมีฝันเช่นเดียวกับมนุษย์ โดยเมื่อสัตว์หลับอยู่ในสถานะ REM สัตว์จะมีฝันเกิดขึ้น
สัตว์ที่มีระยะของสถานะ REM นานที่สุดคือตัว อาร์มาดิลโล ที่มีลักษณะคล้ายตัวตุ่น สัตว์ที่มีฝันบ่อยที่สุดคือสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนมและสัตว์ประเภทนกจากการทดสอบฝันของแมวพบว่ามันมักจะฝันถึงการล่าเหยื่อโดยอ้างอิงจากลักษณะ
การเคลื่อนไหวของขาและร่างกาย ในขณะที่สุนัขได้มีการเคลื่อนไหวของช่วงขาในลักษณะของการวิ่งรวมถึงการเห่า
ในขณะหลับ
ชาวกรีกและโรมันโบราณเชื่อกันว่า ฝันคือสารจากพระเจ้า ชาวอียิปต์โบราณ เชื่อว่าผู้ที่เข้าใจฝัน คือบุคคล
พิเศษ ในประเทศจีน เชื่อกันว่าฝัน คือการผละวิญญาณจากร่างหนึ่ง ไปสู่อีกร่างในโลกแห่งฝัน ที่ซึ่งร่างนั้นเพิ่งตื่น ชน
เผ่าพื้นเมืองอเมริกันบางชนเผ่า และชาวเมกซิกันที่เจริญแล้ว เชื่อว่า ฝันคืออีกโลกหนึ่ง ที่เราไปเยือนในยามหลับ และ
ในยุโรป ผู้คนเชื่อกันว่า ฝันคือสิ่งชั่วร้าย และอาจชักนาให้คนหันไปทาสิ่งเลวร้ายได้
คาอธิบายหนึ่งของที่น่าสนใจของความฝันคือ ‘กระบวนการทางานของสมองที่ใช้ลบข้อมูลที่ไม่จาเป็นในแต่
ละวันทิ้งไป และเลือกชุดข้อมูลที่เป็นประโยชน์ซึ่งจะถูกจัดเกบในคลังของหน่วยความจาระยะยาว’ ซึ่งนักวิจัยและ
นักวิทยาศาสตร์ต่างพยายามหาความเชื่อมโยงระหว่างความฝันและการทางานของสมอง โดยเฉพาะในส่วนของฮิปโป
แคมปัส (Hippocampus) ที่ควบคุมความจา และนีโอคอร์เทกซ์ (Neocortex) ที่ควบคุมความรู้สึกนึกคิดขั้นสูงของ
มนุษย์
จากการทดสอบของสถาบันทางการแพทย์ Max Planck ในเมืองไฮเดลเบิร์ก ของเยอรมนีที่ได้ทาการทดลอง
กับหนูที่ถูกวางยาสลบ พบว่าสมองส่วนนีโอคอร์เทกซ์สามารถทางานได้ดีในขณะที่นอนหลับ ซึ่งจะส่งกระแสประสาท
ไปกระตุ้นสมองส่วนฮิปโปแคมปัสให้ประมวลผลและเกบข้อมูลระยะสั้น โดยสมองส่วนนีโอคอร์เทกซ์นี้จะเป็นตัว
ตัดสินใจว่าข้อมูลความทรงจาชุดใดที่จะถูกส่งไปจัดเกบเป็นข้อมูลระยะยาว และความทรงจาใดควรจะถูกลบและถูก
ลืมในที่สุด ซึ่งภาพความฝันเสมือนจริงที่เราเหนขณะที่หลับจึงเกิดขึ้นจากความทรงจาบางชุดถูกสุ่มและตรวจจับได้
เป็นพิเศษขณะที่ถูกส่งผ่าน โดยจะถูกผสมผสานและปรุงแต่งเรื่องราวตามประสบการณ์ที่แต่ละคนนึกคิดและพบเจอ
โดยสมองสองส่วนนี้กจะทางานร่วมกันกับสมองส่วนอื่นๆ อีกด้วย เช่น ในขณะที่มีการถ่ายโอนข้อมูลความ
ทรงจาและสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัวถูกกระตุ้น คุณอาจจะฝันว่ากาลังเล่นรถไฟเหาะที่สวนสนุก หรืออาจจะ
กาลังถูกผลักให้ตกลงมาจากหน้าผาสูงจนต้องสะดุ้งตื่นกลางดึก
ความฝันจึงเป็นการออกกาลังกายรูปแบบหนึ่งของเซลล์สมองและระบบประสาทนั่นเอง บ่อยครั้งที่ความฝัน
กินเวลานาน และยิ่งถ้าความฝันนั้นเป็นเหตุการณ์หวาดเสียวและลุ้นระทึกมากๆ ด้วยแล้วกจะทาให้เรารู้สึกเหนื่อยล้า
4
ได้ง่ายเหมือนไม่ได้พักผ่อน เพราะสมองยังคงทางานตลอดเวลา ดังนั้นถ้าใกล้ถึงช่วงเวลาพักผ่อน เราควรจะทาให้
สมองและจิตใจว่างโดยการฟังเพลงเบาๆ ชิลล์ๆ ก่อนนอน กอาจจะทาให้นอนหลับได้เตมอิ่มมากยิ่งขึ้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
สืบค้นข้อมูลในอินเทอร์เนต และเลือกนาข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาทาโครงงาน
ทดลองทากับตัวบุคคล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
อุปกรณ์อิเลกโทรนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาทโฟน
ตัวบุคคล
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้รับฟังการนาเสนอจะได้รับความรู้ที่เราตั้งใจทา และสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประวันได้ เพื่อพัฒนา
ศักยภาพของตนเองและผู้อื่น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.วิทยาศาสตร์
2.คอมพิวเตอร์
3.สังคมศึกษาและจริยธรรม
4.ภาษาอังกฤษ
5.จิตวิทยา
5
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
“กลไกความฝัน”
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://rainydream888.blogspot.com/2017/04/blog-post.html (2
กันยายน 2562).
“ความฝันของเราคืออะไรกันแน่ ทาไมเรามักจะฝันบ่อยๆ”
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://thestandard.co/whatisourdream/ (2 กันยายน 2562).
“ฝันร้าย สัญญาณร่างกายกับปัญหาสุขภาพ”
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.pobpad.com/ (2 กันยายน 2562).
“Lucid Dream ในฝันฉันรู้ตัวว่าฝัน”
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.wurkon.com/blog/45-lucid-dream (2 กันยายน 2562).
“ผลกระทบจากความฝันแบบรู้ตัว”
[ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.facebook.com/188701177945070/posts/232997930182061/ (2
กันยายน 2562).
“ประโยชน์ความฝัน ยิ่งฝัน ยิ่งดีต่อสมอง ความจา สุขภาพจิต”
[ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://undubzapp.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%
E0%B8%9D%E0%B8%B1%E0%B8%99-
%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B
9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88/
(2 กันยายน 2562).
“ความฝัน เข้าใจวงจรของการนอนหลับ ประโยชน์ของการนอนและความฝัน”
[ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.nicetofit.com/%E0%B8%9D%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84
%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%B0/ (2 กันยายน 2562).

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Com project
Com projectCom project
Com project
 
Pp
PpPp
Pp
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
605 15projectcom
605 15projectcom605 15projectcom
605 15projectcom
 
2562 final-project 12
2562 final-project 122562 final-project 12
2562 final-project 12
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Project com nakaa
Project com nakaaProject com nakaa
Project com nakaa
 
Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
แบบร างโครงงานคอม(1)
แบบร างโครงงานคอม(1)แบบร างโครงงานคอม(1)
แบบร างโครงงานคอม(1)
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
Aonnart
AonnartAonnart
Aonnart
 

Similar to 2562 final-project

กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดกิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดAntoineYRC04
 
ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกMathawat
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1AntoineYRC04
 
2562 final-project work 1
2562 final-project  work 12562 final-project  work 1
2562 final-project work 1ChayanitPintana
 
2562 final-project -22-610
2562 final-project -22-6102562 final-project -22-610
2562 final-project -22-610noey2846
 
2562 final-project -golf-1
2562 final-project -golf-12562 final-project -golf-1
2562 final-project -golf-1guntjetnipat
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5JetsadaJinaka
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นMathawat
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1TongrakRuento
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project guntjetnipat
 

Similar to 2562 final-project (20)

กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดกิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
 
ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออก
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
2562 final-project -2
2562 final-project -22562 final-project -2
2562 final-project -2
 
2562 final-project work 1
2562 final-project  work 12562 final-project  work 1
2562 final-project work 1
 
604 19 nipitpon
604 19 nipitpon604 19 nipitpon
604 19 nipitpon
 
Chutimon-com-project
Chutimon-com-projectChutimon-com-project
Chutimon-com-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project -4
2561 project -42561 project -4
2561 project -4
 
2562 final-project -22-610
2562 final-project -22-6102562 final-project -22-610
2562 final-project -22-610
 
2562 final-project norapat-12
2562 final-project norapat-122562 final-project norapat-12
2562 final-project norapat-12
 
2562 final-project -golf-1
2562 final-project -golf-12562 final-project -golf-1
2562 final-project -golf-1
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้น
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
Comwork5
Comwork5Comwork5
Comwork5
 
Music therapy
Music therapyMusic therapy
Music therapy
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

2562 final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน.............................I.HAVE.A.DREAM..................................... ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ………นางสาว…กวิศรา……ภูคาวงศ์…………เลขที่ 15…ชั้น ..6/5…ห้อง...5. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวกวิศรา ภูคาวงศ์ เลขที่ 15 ม.6/5 2. นางสาวเบญจรัตน์ อวดผล เลขที่ 16 ม.6/5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ฉันมีความฝัน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) I HAVE A DREAM ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกวิศรา ภูคาวงศ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 – ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ความฝัน เป็นเรื่องที่พบเจอบ่อยๆในชีวิตประจาวัน มันคือกลไกของร่างกายในขณะที่เรานอนหลับ ซึ่งมัน เกิดปรากฏการณ์ที่เราจะเหนภาพฉายในหัวของเรา ทั้งที่เปนเรื่องราวเกี่ยวกับตัวของเรา หรือเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่ เราเคยเห็นหรือผ่านตามาเช่น การอ่านหนังสือ การดูหนัง ซึ่งมันเหมือนเปนกลไกของร่างกายที่นำภาพความทรง จำ มาฉายซ้ำ แต่ในขณะเดียวกัน ความฝันก็มาจากจินตนาการเหนือความเป็นจริง เหมือนกับเรื่องราวในเทพ นิยาย ที่ เราไม่สามารถเดาทิศทางของมันได้ ด้วยเหตุนี้ จึงทำใหเ้กิดเป็นโครงงานนี้ขึ้นมา เพราะต้องการที่จะ ศึกษาปรากฏการณ์อันน่าทึ่งของสมองของเรานี้ ที่มีความซับซ้อนยากที่จะอธิบายให้กระจ่างในอีกหลายๆส่วนที่ วิทยาศาสตร์ยังตอบคำถามไม่ได้ และเรื่องความฝัน ยังเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเรา ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ง่าย ตามข้อมูลที่ กำ ลังจะศึกษานี้ จึงคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องที่น่าสนุก และหลายๆคนอาจจะสนใจอยู่ จึงเป็นเหตุผลที่จัดทำโครงงาน นี้ขึ้นมานั่นเองค่ะ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ศึกษากลไกสมองที่ทาให้เราฝัน 2.ทดลองการควบคุมความฝัน 3.ฝึกความจาจากความฝันของตนเอง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ความฝันคืออะไร Lucid Dream ฝันร้าย ผลกระทบจากLucid dream ประโยชน์ของความฝัน
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ฝัน เป็นลาดับภาพ ความคิด อารมณ์ และการรับรู้ที่เกิดขึ้นนอกเหนืออานาจจิตใจในจิตระหว่างช่วงที่แน่นอน ของการหลับ ยังไม่เข้าใจเนื้อหาและความมุ่งหมายของฝันนั้นแน่ชัด ฝันเกิดขึ้นในการหลับระยะ REM เป็นหลัก เมื่อกิจกรรมของสมองเพิ่มสูงขึ้นเสมือนว่ากาลังตื่นอยู่ การหลับ ระยะ REM สามารถบอกได้จากการกลอกไปมาของลูกตาขณะหลับ ทั้งนี้ ฝันสามารถเกิดได้ในการหลับขั้นอื่น แต่ฝัน เหล่านั้นมีแนวโน้มสมจริงหรือผู้ฝันจาได้น้อยกว่ามาก ฝันกินระยะเวลาตั้งแต่ไม่กี่วินาทีไปจนถึงยี่สิบนาที บุคคลมักจาฝันได้มากกว่าเมื่อตื่นขึ้นหากฝันในระยะ REM โดยเฉลี่ย บุคคลมีฝัน 3 ถึง 5 ฝันต่อคืน ฝันมีแนวโน้มนานขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป ระหว่างการหลับ 8 ชั่วโมง บุคคลจะใช้ เวลากับการฝันสองชั่วโมง มีผู้มองว่า ฝันเชื่อมโยงกับจิตไร้สานึก โดยมีตั้งแต่ปกติและสามัญไปจนถึงเหนือจริงหรือแปลกประหลาดเกิน ฝันสามารถมีได้หลายอารมณ์ เช่น กลัว ตื่นเต้น สนุกสนาน เศร้าโศก ผจญภัยหรือเกี่ยวกับเพศ เหตุการณ์ในฝัน โดยทั่วไปอยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้ฝัน ยกเว้น lucid dream ที่ผู้ฝันรู้สึกตัว ฝันบางครั้งได้สร้างความคิดริเริ่มแก่ บุคคลหรือให้ความรู้สึกถึงแรงบันดาลใจ จากการวิจัยพบว่าสัตว์กมีฝันเช่นเดียวกับมนุษย์ โดยเมื่อสัตว์หลับอยู่ในสถานะ REM สัตว์จะมีฝันเกิดขึ้น สัตว์ที่มีระยะของสถานะ REM นานที่สุดคือตัว อาร์มาดิลโล ที่มีลักษณะคล้ายตัวตุ่น สัตว์ที่มีฝันบ่อยที่สุดคือสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนมและสัตว์ประเภทนกจากการทดสอบฝันของแมวพบว่ามันมักจะฝันถึงการล่าเหยื่อโดยอ้างอิงจากลักษณะ การเคลื่อนไหวของขาและร่างกาย ในขณะที่สุนัขได้มีการเคลื่อนไหวของช่วงขาในลักษณะของการวิ่งรวมถึงการเห่า ในขณะหลับ ชาวกรีกและโรมันโบราณเชื่อกันว่า ฝันคือสารจากพระเจ้า ชาวอียิปต์โบราณ เชื่อว่าผู้ที่เข้าใจฝัน คือบุคคล พิเศษ ในประเทศจีน เชื่อกันว่าฝัน คือการผละวิญญาณจากร่างหนึ่ง ไปสู่อีกร่างในโลกแห่งฝัน ที่ซึ่งร่างนั้นเพิ่งตื่น ชน เผ่าพื้นเมืองอเมริกันบางชนเผ่า และชาวเมกซิกันที่เจริญแล้ว เชื่อว่า ฝันคืออีกโลกหนึ่ง ที่เราไปเยือนในยามหลับ และ ในยุโรป ผู้คนเชื่อกันว่า ฝันคือสิ่งชั่วร้าย และอาจชักนาให้คนหันไปทาสิ่งเลวร้ายได้ คาอธิบายหนึ่งของที่น่าสนใจของความฝันคือ ‘กระบวนการทางานของสมองที่ใช้ลบข้อมูลที่ไม่จาเป็นในแต่ ละวันทิ้งไป และเลือกชุดข้อมูลที่เป็นประโยชน์ซึ่งจะถูกจัดเกบในคลังของหน่วยความจาระยะยาว’ ซึ่งนักวิจัยและ นักวิทยาศาสตร์ต่างพยายามหาความเชื่อมโยงระหว่างความฝันและการทางานของสมอง โดยเฉพาะในส่วนของฮิปโป แคมปัส (Hippocampus) ที่ควบคุมความจา และนีโอคอร์เทกซ์ (Neocortex) ที่ควบคุมความรู้สึกนึกคิดขั้นสูงของ มนุษย์ จากการทดสอบของสถาบันทางการแพทย์ Max Planck ในเมืองไฮเดลเบิร์ก ของเยอรมนีที่ได้ทาการทดลอง กับหนูที่ถูกวางยาสลบ พบว่าสมองส่วนนีโอคอร์เทกซ์สามารถทางานได้ดีในขณะที่นอนหลับ ซึ่งจะส่งกระแสประสาท ไปกระตุ้นสมองส่วนฮิปโปแคมปัสให้ประมวลผลและเกบข้อมูลระยะสั้น โดยสมองส่วนนีโอคอร์เทกซ์นี้จะเป็นตัว ตัดสินใจว่าข้อมูลความทรงจาชุดใดที่จะถูกส่งไปจัดเกบเป็นข้อมูลระยะยาว และความทรงจาใดควรจะถูกลบและถูก ลืมในที่สุด ซึ่งภาพความฝันเสมือนจริงที่เราเหนขณะที่หลับจึงเกิดขึ้นจากความทรงจาบางชุดถูกสุ่มและตรวจจับได้ เป็นพิเศษขณะที่ถูกส่งผ่าน โดยจะถูกผสมผสานและปรุงแต่งเรื่องราวตามประสบการณ์ที่แต่ละคนนึกคิดและพบเจอ โดยสมองสองส่วนนี้กจะทางานร่วมกันกับสมองส่วนอื่นๆ อีกด้วย เช่น ในขณะที่มีการถ่ายโอนข้อมูลความ ทรงจาและสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัวถูกกระตุ้น คุณอาจจะฝันว่ากาลังเล่นรถไฟเหาะที่สวนสนุก หรืออาจจะ กาลังถูกผลักให้ตกลงมาจากหน้าผาสูงจนต้องสะดุ้งตื่นกลางดึก ความฝันจึงเป็นการออกกาลังกายรูปแบบหนึ่งของเซลล์สมองและระบบประสาทนั่นเอง บ่อยครั้งที่ความฝัน กินเวลานาน และยิ่งถ้าความฝันนั้นเป็นเหตุการณ์หวาดเสียวและลุ้นระทึกมากๆ ด้วยแล้วกจะทาให้เรารู้สึกเหนื่อยล้า
  • 4. 4 ได้ง่ายเหมือนไม่ได้พักผ่อน เพราะสมองยังคงทางานตลอดเวลา ดังนั้นถ้าใกล้ถึงช่วงเวลาพักผ่อน เราควรจะทาให้ สมองและจิตใจว่างโดยการฟังเพลงเบาๆ ชิลล์ๆ ก่อนนอน กอาจจะทาให้นอนหลับได้เตมอิ่มมากยิ่งขึ้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน สืบค้นข้อมูลในอินเทอร์เนต และเลือกนาข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาทาโครงงาน ทดลองทากับตัวบุคคล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ อุปกรณ์อิเลกโทรนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาทโฟน ตัวบุคคล ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้รับฟังการนาเสนอจะได้รับความรู้ที่เราตั้งใจทา และสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประวันได้ เพื่อพัฒนา ศักยภาพของตนเองและผู้อื่น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.วิทยาศาสตร์ 2.คอมพิวเตอร์ 3.สังคมศึกษาและจริยธรรม 4.ภาษาอังกฤษ 5.จิตวิทยา
  • 5. 5 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) “กลไกความฝัน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://rainydream888.blogspot.com/2017/04/blog-post.html (2 กันยายน 2562). “ความฝันของเราคืออะไรกันแน่ ทาไมเรามักจะฝันบ่อยๆ” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://thestandard.co/whatisourdream/ (2 กันยายน 2562). “ฝันร้าย สัญญาณร่างกายกับปัญหาสุขภาพ” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.pobpad.com/ (2 กันยายน 2562). “Lucid Dream ในฝันฉันรู้ตัวว่าฝัน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.wurkon.com/blog/45-lucid-dream (2 กันยายน 2562). “ผลกระทบจากความฝันแบบรู้ตัว” [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.facebook.com/188701177945070/posts/232997930182061/ (2 กันยายน 2562). “ประโยชน์ความฝัน ยิ่งฝัน ยิ่งดีต่อสมอง ความจา สุขภาพจิต” [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://undubzapp.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1% E0%B8%9D%E0%B8%B1%E0%B8%99- %E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B 9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88/ (2 กันยายน 2562). “ความฝัน เข้าใจวงจรของการนอนหลับ ประโยชน์ของการนอนและความฝัน” [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.nicetofit.com/%E0%B8%9D%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84 %E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%B0/ (2 กันยายน 2562).