SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน........การใช้สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนในการไล่กิ้งกือ........
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1……สุพิชญา แก้วมณีศรีสกุล……เลขที่ …13…ชั้น ……6……ห้อง....9......
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การใช้สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนในการกาจัดกิ้งกือ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
remove the millipede
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุพิชญา แก้วมณีศรีสกุล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
กิ้งกือเป็นสัตว์ที่ลาตัวมีเปลือกแข็งสีดาหุ้มอยู่ภายนอก มีจุดสีที่แตกต่างกัน ส่วนขามีสีแดงหรือสีเหลือง ใน
เปลือกหุ้มถูกเคลือบไว้ด้วยสารไซยาไนด์ (Cyanide) ที่เป็นพิษ ทั้งนี้เกิดจากกลไกการป้องกันตัวที่พบได้ทั่วไปในกิ้งกือ
และสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่จะมีการหลั่งของสารเคมีอย่างเช่น ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) หรือเบนซิล
ไซยาไนด์ (Benzoyl cyanide) นอกจากนี้กิ้งกือยังปล่อยสารเคมีอื่น ๆ เช่น เมนดีโลไนไตรล์เบนโซเอต
(Mandelonitrile benzoate) และเบนซาลดีไฮด์ (Benzaldehyde) ที่เป็นทั้งสารพิษในการป้องกันตัวซึ่งงานวิจัยที่มี
เกี่ยวกับการกาจัดกิ้งกือทั้งโดยการใช้สารเคมีและใช้สมุนไพร ผู้จัดทาพบว่าสารที่ใช้กาจัดกิ้งกือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ต่างๆล้วนเป็นสารที่มีกลิ่นฉุนทั้งสิ้น
และจากข้อมูลข้างต้นที่ได้กล่าวมาผู้จัดทาจึงต้องการศึกษาเกี่ยวกับสมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนและการออกฤทธิ์ใน
การไล่กิ้งกือว่าสมุนไพรในตระกูลใดจะมีประสิทธิภาพในการกาจัดกิ้งกือสูงที่สุด ซึ่งเหตุผลที่ผู้จัดทาเลือกศึกษา
สมุนไพรที่อยู่ในท้องถิ่นเพราะสมุนไพรเป็นพืชที่หาง่าย ปลูกง่าย และคนรู้จักกันเป็นอย่างดี ซึ่งผู้จัดทาจะเพียงแค่ทา
การไล่กิ้งกือเท่านั้นไม่ได้กาจัดหรือฆ่าทิ้งเพื่อป้องกันไม่การศึกษาครั้งนี้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและสายใย
อาหาร
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
เพื่อศึกษาว่าสมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนในตระกูลใดจะสามารถไล่กิ้งกือได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. สายพันธุ์และอายุของกิ้งกือ
2. สายพันธุ์ของสมุนไพรที่มีกลิ่นฉุน
3
3. สถานที่ที่ทาการทดลอง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
"กิ้งกือ" สัตว์ตัวจิ๋วแสนอันตราย
“สวยซ่อนคม” เป็นประโยคที่อาจใช้อธิบายถึงความอันตรายของกิ้งกือสีสันสดใสที่ถูกค้นพบใหม่ทางตะวันออกเฉียง
ใต้ของสหรัฐอเมริกาได้อย่างชัดเจน เนื่องด้วยรูปแบบที่โดดเด่นและมีความหลากหลายมากกว่ากิ้งกือชนิดอื่น ๆ ที่เคย
พบมาก่อนหน้านั้นเป็นทั้งแรงดึงดูดและคาเตือนสาหรับนักล่าในห่วงโซ่อาหาร
ภาพที่ 1 กิ้งกือ
ที่มา https://pixabay.com/th/ ,ROverhate
สิ่งมีชีวิตหลายขาที่เรียกว่า Apheloria polychrome นั้นเป็นหนึ่งในสายพันธุ์ของกิ้งกือที่เพิ่งถูกค้นพบในพื้น
ป่าของเทือกเขาคัมเบอร์แลนด์ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของรัฐเวสเวอร์จิเนีย โดยพบลาตัวมีเปลือกแข็งสีดาหุ้มอยู่ภายนอก
มีจุดสีที่แตกต่างกัน ส่วนขามีสีแดงหรือสีเหลือง ซึ่งในส่วนของเปลือกหุ้มที่มีลวดลายหลากหลายจะถูกเคลือบไว้ด้วย
สารไซยาไนด์ (Cyanide) ที่เป็นพิษ ทั้งนี้เกิดจากกลไกการป้องกันตัวที่พบได้ทั่วไปในกิ้งกือและสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่
จะมีการหลั่งของสารเคมีอย่างเช่น ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) หรือเบนซิลไซยาไนด์ (Benzoyl
cyanide) เมื่อพวกมันรู้สึกถึงภัยคุกคามและถูกรบกวน นอกจากนี้กิ้งกือยังปล่อยสารเคมีอื่น ๆ เช่น เมนดีโลไนไตรล์
เบนโซเอต (Mandelonitrile benzoate) และเบนซาลดีไฮด์ (Benzaldehyde) ที่เป็นทั้งสารพิษในการป้องกันตัว
และเป็นยาปฏิชีวนะในบางครั้ง
กิ้งกือจะใช้อาวุธเคมีของพวกมันแตกต่างกัน บางตัวจะค่อย ๆ ปล่อยสารออกมาจากต่อมชนิดพิเศษ ในขณะที่
บางตัวจะม้วนตัวเพื่อบีบสารพิษออกมา หรือพ่นสารไปยังผู้ล่าโดยตรง ทั้งนี้ตัวของพวกมันเองจะไม่ได้รับอันตราย
เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันต่อสารพิษที่ผลิตขึ้นเอง และนั่นจึงเป็นความพิเศษที่ทาให้กิ้งกือแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ
ยิ่งกว่านั้นกิ้งกือชนิดนี้ยังมีรูปแบบของสีสันที่พวกมันใช้หลบเลี่ยงต่อนักล่าอย่างน้อย 6 รูปแบบที่แตกต่างกันอาทิ มี
ลาตัวสีดา มีจุดแต้มตามลาตัวสีเหลือง ขาสีเหลือง หรือมีลาตัวสีดา จุดแต้มสีขาว และมีขาสีแดง เป็นต้น
4
กิ้งกือ A. polychrome หรือได้รับการขนานนามว่าเป็น "Colorful Cherry Millipede” โดยในส่วนเชอร์รี่นั้น
ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับสีสัน แต่หมายถึงกลิ่นของเบนซาลดีไฮด์จากเบนซาลดีไฮด์ ไซยาโนไฮดริน (benzaldehyde
cyanohydrin) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นที่สังเคราะห์ขึ้นและเก็บไว้ในต่อมพิเศษ เมื่อพวกมันรู้สึกว่ากาลังถูกคุกคามมัน มันจะ
หลั่ง cyanohydrins ออกมาจากต่อมพิเศษ และแตกตัวโดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่งเพื่อสร้าง Hydrogen cyanide
(HCN) และปล่อยแก๊สนั้นออกสู่สภาพแวดล้อมในทันทีเพื่อป้องกันตัวเองจากนักล่าทั้งหลายที่เข้าใกล้มัน
ภาพที่ 2 ภาพแสดงการแตกตัวของ Benzaldehyde cyanohydrin
ที่มา พรรณพร
ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) เป็นแก็สไม่มีสี มีกลิ่นฉุน และเป็นพิษ ซึ่งสามารถดูดซึมได้ดีผ่าน
การหายใจและการสัมผัส ก่อให้เกิดผลกระทบแตกต่างกันตามปริมาณที่ได้รับตั้งแต่มีอาการไอ มีเสมหะ หลอดลม
อักเสบเรื้อรัง คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ ระคายเคืองตา หายใจไม่ออก กระทั่งสูญเสียการทางานของระบบต่าง ๆ
ภายในร่างกาย และเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
นอกจากนี้ทีมนักวิจัยยังพบกิ้งกือสายพันธุ์อื่น ๆ ที่มีการปรับตัวให้มีลวดลายและสีสันที่สะดุดตาเพื่อหลีกเลี่ยง
อันตรายจากผู้ล่าได้เช่นเดียวกับสายพันธุ์ที่พบ เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า Müllerian mimicry ซึ่งเป็นหนึ่งใน
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการคัดเลือกตามธรรมชาติที่เกิดจากสัตว์สองชนิดหรือมากกว่าที่ทั้งมีและไม่ได้มี
ความสัมพันธุ์ใกล้ชิดหรือเกี่ยวข้องกัน โดยสัตว์ชนิดหนึ่งมีการปรับตัวเลียนแบบสิ่งมีชีวิตที่เป็นแม่แบบเพื่อประโยชน์ใน
เรื่องการป้องกันตัวเองจากนักล่า อย่างไรก็ดีหากสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีความจาเป็นต้องใช้อาวุธในการป้องกันตัวสามารถ
ปรับตัวเลียนแบบได้ จึงเป็นที่น่าสนใจสาหรับสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายมากกว่า
5
ภาพที่ 3 ภาพด้านซ้ายคือผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดา (Danaus chrysippus) และภาพด้านขวาคือผีเสื้อหนอนข้าวสาร
ลายเสือ (Danaus genutia) เป็นตัวอย่างการปรับตัวเลียนแบบที่เรียกว่า Müllerian mimicry
ที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Mullerian_mimicry
แม้ว่าลวดลายหรือสีสันดังกล่าวจะสามารถป้องกันอันตรายที่มาถึงตัวได้ แต่ก็ดูเหมือนว่าประโยชน์นั้นจะเป็น
ประโยชน์ในทางเดียว ที่อาจใช้ได้ผลกับสัตว์ชนิดเดิม ทั้งนี้การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดก็ทาให้นักล่าสามารถจดจา
รูปแบบและหลีกเลี่ยงอันตรายได้มากขึ้นเช่นกัน
กิ้งกือสายพันธุ์ A. polychrome ถูกค้นพบโดย Paul Marek นักวิจัยจากสถาบันโพลีเทคนิคและมหาวิทยาลัย
รัฐเวอร์จิเนีย ผู้ซึ่งเคยค้นพบกิ้งกือที่มีขามากที่สุดเท่าที่เคยพบมาก่อนหน้า และเป็นผู้ที่พยายามค้นหาสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่
อาจสูญพันธุ์ไปจากโลกนี้ก่อนที่จะได้รับการระบุตัวตน เขากล่าวว่า “มันเป็นความจาเป็นที่ต้องอธิบายและจัด
หมวดหมู่สายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ทราบถึงบทบาทของพวกมันในระบบนิเวศ รวมทั้งผลกระทบของมนุษย์ที่มีต่อ
ตัวพวกมันด้วย”
กิ้งกืออาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่ทาให้ใครคนรู้สึกกลัวหรือขยะแขยง แต่บทบาทของกิ้งกือในธรรมชาตินั้นมีประโยชน์
ต่อระบบนิเวศมาอย่างยาวนาน ด้วยการเป็นสิ่งมีชีวิตที่ช่วยย่อยสลายและกินเศษซากพืช ใบไม้ และถ่ายออกมาเป็น
มูลสารอินทรีย์ที่ช่วยเพิ่มแร่ธาตุในดิน รวมทั้งยังเป็นอาหารให้แก่เชื้อจุลินทรีย์ เชื้อรา และพืชต่างๆ
แหล่งที่มา http://www.scimath.org/article-biology/item/7932-2018-03-19-04-05-13
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาสายพันธุ์สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุน พบได้ง่าย และมีฤทธิ์ในการไล่กิ้งกือ
2. ศึกษาสายพันธุ์กิ้งกือและคัดเลือกสายพันธุ์ที่จะนามาศึกษา
3. ทาการทดลอง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุน
งบประมาณ
300 บาท
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้รู้ว่าสมุนไพรในตระกูลใดมีกลไกลการออกฤทธิ์ไล่กิ้งกือได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยาและเคมี)
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
"กิ้งกือ" สัตว์ตัวจิ๋วแสนอันตราย(2561)[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก
http://www.scimath.org/article-biology/item/7932-2018-03-19-04-05-13

More Related Content

What's hot

งานคอม นะจ๊ะะะะ
งานคอม นะจ๊ะะะะงานคอม นะจ๊ะะะะ
งานคอม นะจ๊ะะะะ
Varia TheVongola
 
โปรเจกงานคอม1
โปรเจกงานคอม1โปรเจกงานคอม1
โปรเจกงานคอม1
ruth12874
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Boonyarat Thongyoung
 

What's hot (20)

2562 final-project work 1
2562 final-project  work 12562 final-project  work 1
2562 final-project work 1
 
5555 อิสัส
5555 อิสัส5555 อิสัส
5555 อิสัส
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
งานคอม นะจ๊ะะะะ
งานคอม นะจ๊ะะะะงานคอม นะจ๊ะะะะ
งานคอม นะจ๊ะะะะ
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โปรเจกงานคอม1
โปรเจกงานคอม1โปรเจกงานคอม1
โปรเจกงานคอม1
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10
 
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
Pp
PpPp
Pp
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 

Similar to Taokingkue

Similar to Taokingkue (20)

2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18
 
Ausanee
AusaneeAusanee
Ausanee
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2561 kosun-34
2561 kosun-342561 kosun-34
2561 kosun-34
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Rt
RtRt
Rt
 
Job
JobJob
Job
 
Dddddd
DdddddDddddd
Dddddd
 
Music therapy
Music therapyMusic therapy
Music therapy
 
2561 project 04
2561 project 042561 project 04
2561 project 04
 
2561 project (10) (2)
2561 project  (10) (2)2561 project  (10) (2)
2561 project (10) (2)
 
2561 project com-02
2561 project  com-022561 project  com-02
2561 project com-02
 
2561 project -
2561 project -2561 project -
2561 project -
 
project 11
project 11project 11
project 11
 
Natchalida
NatchalidaNatchalida
Natchalida
 
2561 project -4
2561 project -42561 project -4
2561 project -4
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Good sleep
Good sleepGood sleep
Good sleep
 

More from thitichaya2442 (7)

Happy
HappyHappy
Happy
 
2561 project -5
2561 project -52561 project -5
2561 project -5
 
Kosan
KosanKosan
Kosan
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2561 project 1909
2561 project 19092561 project 1909
2561 project 1909
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 

Taokingkue

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน........การใช้สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนในการไล่กิ้งกือ........ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1……สุพิชญา แก้วมณีศรีสกุล……เลขที่ …13…ชั้น ……6……ห้อง....9...... ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การใช้สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนในการกาจัดกิ้งกือ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) remove the millipede ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุพิชญา แก้วมณีศรีสกุล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน กิ้งกือเป็นสัตว์ที่ลาตัวมีเปลือกแข็งสีดาหุ้มอยู่ภายนอก มีจุดสีที่แตกต่างกัน ส่วนขามีสีแดงหรือสีเหลือง ใน เปลือกหุ้มถูกเคลือบไว้ด้วยสารไซยาไนด์ (Cyanide) ที่เป็นพิษ ทั้งนี้เกิดจากกลไกการป้องกันตัวที่พบได้ทั่วไปในกิ้งกือ และสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่จะมีการหลั่งของสารเคมีอย่างเช่น ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) หรือเบนซิล ไซยาไนด์ (Benzoyl cyanide) นอกจากนี้กิ้งกือยังปล่อยสารเคมีอื่น ๆ เช่น เมนดีโลไนไตรล์เบนโซเอต (Mandelonitrile benzoate) และเบนซาลดีไฮด์ (Benzaldehyde) ที่เป็นทั้งสารพิษในการป้องกันตัวซึ่งงานวิจัยที่มี เกี่ยวกับการกาจัดกิ้งกือทั้งโดยการใช้สารเคมีและใช้สมุนไพร ผู้จัดทาพบว่าสารที่ใช้กาจัดกิ้งกือได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่างๆล้วนเป็นสารที่มีกลิ่นฉุนทั้งสิ้น และจากข้อมูลข้างต้นที่ได้กล่าวมาผู้จัดทาจึงต้องการศึกษาเกี่ยวกับสมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนและการออกฤทธิ์ใน การไล่กิ้งกือว่าสมุนไพรในตระกูลใดจะมีประสิทธิภาพในการกาจัดกิ้งกือสูงที่สุด ซึ่งเหตุผลที่ผู้จัดทาเลือกศึกษา สมุนไพรที่อยู่ในท้องถิ่นเพราะสมุนไพรเป็นพืชที่หาง่าย ปลูกง่าย และคนรู้จักกันเป็นอย่างดี ซึ่งผู้จัดทาจะเพียงแค่ทา การไล่กิ้งกือเท่านั้นไม่ได้กาจัดหรือฆ่าทิ้งเพื่อป้องกันไม่การศึกษาครั้งนี้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและสายใย อาหาร วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) เพื่อศึกษาว่าสมุนไพรที่มีกลิ่นฉุนในตระกูลใดจะสามารถไล่กิ้งกือได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. สายพันธุ์และอายุของกิ้งกือ 2. สายพันธุ์ของสมุนไพรที่มีกลิ่นฉุน
  • 3. 3 3. สถานที่ที่ทาการทดลอง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) "กิ้งกือ" สัตว์ตัวจิ๋วแสนอันตราย “สวยซ่อนคม” เป็นประโยคที่อาจใช้อธิบายถึงความอันตรายของกิ้งกือสีสันสดใสที่ถูกค้นพบใหม่ทางตะวันออกเฉียง ใต้ของสหรัฐอเมริกาได้อย่างชัดเจน เนื่องด้วยรูปแบบที่โดดเด่นและมีความหลากหลายมากกว่ากิ้งกือชนิดอื่น ๆ ที่เคย พบมาก่อนหน้านั้นเป็นทั้งแรงดึงดูดและคาเตือนสาหรับนักล่าในห่วงโซ่อาหาร ภาพที่ 1 กิ้งกือ ที่มา https://pixabay.com/th/ ,ROverhate สิ่งมีชีวิตหลายขาที่เรียกว่า Apheloria polychrome นั้นเป็นหนึ่งในสายพันธุ์ของกิ้งกือที่เพิ่งถูกค้นพบในพื้น ป่าของเทือกเขาคัมเบอร์แลนด์ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของรัฐเวสเวอร์จิเนีย โดยพบลาตัวมีเปลือกแข็งสีดาหุ้มอยู่ภายนอก มีจุดสีที่แตกต่างกัน ส่วนขามีสีแดงหรือสีเหลือง ซึ่งในส่วนของเปลือกหุ้มที่มีลวดลายหลากหลายจะถูกเคลือบไว้ด้วย สารไซยาไนด์ (Cyanide) ที่เป็นพิษ ทั้งนี้เกิดจากกลไกการป้องกันตัวที่พบได้ทั่วไปในกิ้งกือและสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่ จะมีการหลั่งของสารเคมีอย่างเช่น ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) หรือเบนซิลไซยาไนด์ (Benzoyl cyanide) เมื่อพวกมันรู้สึกถึงภัยคุกคามและถูกรบกวน นอกจากนี้กิ้งกือยังปล่อยสารเคมีอื่น ๆ เช่น เมนดีโลไนไตรล์ เบนโซเอต (Mandelonitrile benzoate) และเบนซาลดีไฮด์ (Benzaldehyde) ที่เป็นทั้งสารพิษในการป้องกันตัว และเป็นยาปฏิชีวนะในบางครั้ง กิ้งกือจะใช้อาวุธเคมีของพวกมันแตกต่างกัน บางตัวจะค่อย ๆ ปล่อยสารออกมาจากต่อมชนิดพิเศษ ในขณะที่ บางตัวจะม้วนตัวเพื่อบีบสารพิษออกมา หรือพ่นสารไปยังผู้ล่าโดยตรง ทั้งนี้ตัวของพวกมันเองจะไม่ได้รับอันตราย เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันต่อสารพิษที่ผลิตขึ้นเอง และนั่นจึงเป็นความพิเศษที่ทาให้กิ้งกือแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ยิ่งกว่านั้นกิ้งกือชนิดนี้ยังมีรูปแบบของสีสันที่พวกมันใช้หลบเลี่ยงต่อนักล่าอย่างน้อย 6 รูปแบบที่แตกต่างกันอาทิ มี ลาตัวสีดา มีจุดแต้มตามลาตัวสีเหลือง ขาสีเหลือง หรือมีลาตัวสีดา จุดแต้มสีขาว และมีขาสีแดง เป็นต้น
  • 4. 4 กิ้งกือ A. polychrome หรือได้รับการขนานนามว่าเป็น "Colorful Cherry Millipede” โดยในส่วนเชอร์รี่นั้น ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับสีสัน แต่หมายถึงกลิ่นของเบนซาลดีไฮด์จากเบนซาลดีไฮด์ ไซยาโนไฮดริน (benzaldehyde cyanohydrin) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นที่สังเคราะห์ขึ้นและเก็บไว้ในต่อมพิเศษ เมื่อพวกมันรู้สึกว่ากาลังถูกคุกคามมัน มันจะ หลั่ง cyanohydrins ออกมาจากต่อมพิเศษ และแตกตัวโดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่งเพื่อสร้าง Hydrogen cyanide (HCN) และปล่อยแก๊สนั้นออกสู่สภาพแวดล้อมในทันทีเพื่อป้องกันตัวเองจากนักล่าทั้งหลายที่เข้าใกล้มัน ภาพที่ 2 ภาพแสดงการแตกตัวของ Benzaldehyde cyanohydrin ที่มา พรรณพร ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) เป็นแก็สไม่มีสี มีกลิ่นฉุน และเป็นพิษ ซึ่งสามารถดูดซึมได้ดีผ่าน การหายใจและการสัมผัส ก่อให้เกิดผลกระทบแตกต่างกันตามปริมาณที่ได้รับตั้งแต่มีอาการไอ มีเสมหะ หลอดลม อักเสบเรื้อรัง คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ ระคายเคืองตา หายใจไม่ออก กระทั่งสูญเสียการทางานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย และเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ นอกจากนี้ทีมนักวิจัยยังพบกิ้งกือสายพันธุ์อื่น ๆ ที่มีการปรับตัวให้มีลวดลายและสีสันที่สะดุดตาเพื่อหลีกเลี่ยง อันตรายจากผู้ล่าได้เช่นเดียวกับสายพันธุ์ที่พบ เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า Müllerian mimicry ซึ่งเป็นหนึ่งใน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการคัดเลือกตามธรรมชาติที่เกิดจากสัตว์สองชนิดหรือมากกว่าที่ทั้งมีและไม่ได้มี ความสัมพันธุ์ใกล้ชิดหรือเกี่ยวข้องกัน โดยสัตว์ชนิดหนึ่งมีการปรับตัวเลียนแบบสิ่งมีชีวิตที่เป็นแม่แบบเพื่อประโยชน์ใน เรื่องการป้องกันตัวเองจากนักล่า อย่างไรก็ดีหากสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีความจาเป็นต้องใช้อาวุธในการป้องกันตัวสามารถ ปรับตัวเลียนแบบได้ จึงเป็นที่น่าสนใจสาหรับสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายมากกว่า
  • 5. 5 ภาพที่ 3 ภาพด้านซ้ายคือผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดา (Danaus chrysippus) และภาพด้านขวาคือผีเสื้อหนอนข้าวสาร ลายเสือ (Danaus genutia) เป็นตัวอย่างการปรับตัวเลียนแบบที่เรียกว่า Müllerian mimicry ที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Mullerian_mimicry แม้ว่าลวดลายหรือสีสันดังกล่าวจะสามารถป้องกันอันตรายที่มาถึงตัวได้ แต่ก็ดูเหมือนว่าประโยชน์นั้นจะเป็น ประโยชน์ในทางเดียว ที่อาจใช้ได้ผลกับสัตว์ชนิดเดิม ทั้งนี้การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดก็ทาให้นักล่าสามารถจดจา รูปแบบและหลีกเลี่ยงอันตรายได้มากขึ้นเช่นกัน กิ้งกือสายพันธุ์ A. polychrome ถูกค้นพบโดย Paul Marek นักวิจัยจากสถาบันโพลีเทคนิคและมหาวิทยาลัย รัฐเวอร์จิเนีย ผู้ซึ่งเคยค้นพบกิ้งกือที่มีขามากที่สุดเท่าที่เคยพบมาก่อนหน้า และเป็นผู้ที่พยายามค้นหาสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่ อาจสูญพันธุ์ไปจากโลกนี้ก่อนที่จะได้รับการระบุตัวตน เขากล่าวว่า “มันเป็นความจาเป็นที่ต้องอธิบายและจัด หมวดหมู่สายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ทราบถึงบทบาทของพวกมันในระบบนิเวศ รวมทั้งผลกระทบของมนุษย์ที่มีต่อ ตัวพวกมันด้วย” กิ้งกืออาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่ทาให้ใครคนรู้สึกกลัวหรือขยะแขยง แต่บทบาทของกิ้งกือในธรรมชาตินั้นมีประโยชน์ ต่อระบบนิเวศมาอย่างยาวนาน ด้วยการเป็นสิ่งมีชีวิตที่ช่วยย่อยสลายและกินเศษซากพืช ใบไม้ และถ่ายออกมาเป็น มูลสารอินทรีย์ที่ช่วยเพิ่มแร่ธาตุในดิน รวมทั้งยังเป็นอาหารให้แก่เชื้อจุลินทรีย์ เชื้อรา และพืชต่างๆ แหล่งที่มา http://www.scimath.org/article-biology/item/7932-2018-03-19-04-05-13 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาสายพันธุ์สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุน พบได้ง่าย และมีฤทธิ์ในการไล่กิ้งกือ 2. ศึกษาสายพันธุ์กิ้งกือและคัดเลือกสายพันธุ์ที่จะนามาศึกษา 3. ทาการทดลอง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. สมุนไพรที่มีกลิ่นฉุน งบประมาณ 300 บาท
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้รู้ว่าสมุนไพรในตระกูลใดมีกลไกลการออกฤทธิ์ไล่กิ้งกือได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยาและเคมี) แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) "กิ้งกือ" สัตว์ตัวจิ๋วแสนอันตราย(2561)[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.scimath.org/article-biology/item/7932-2018-03-19-04-05-13