SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม
(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม
» แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลมเป็นแบคทีเรียที่มีการติดสีย้อมแกรมบวกและมีรูปร่างกลม
หรือแบคทีเรียกลุ่มนี้เป็นแบคทีเรียอีกกลุ่มหนึ่งที่ก่อโรคติดเชื้อกับมนุษย์และมักพบในสิ่งส่ง
ตรวจทางการแพทย์ทั่วๆไปอยู่เสมอแต่มีลักษณะการเรียงตัวที่ค่อนข้างแตกต่างกัน
พยาธิกําเนิด
» การก่อโรคในคนและสัตว์
แหล่งอาศัย
» จากตัวสัตว์ โดยเฉพาะบริเวณเยื่อบุของท่อทางเดินอาหารส่วนต้น ตามผิวหนัง
» จากอาหาร โดยเฉพาะจากน้ํานมและผลิตภัณฑ์ของน้ํานม
หมวดหมู่
» หมวดหมู่ ของแบคทีเรียพวกนี้เมื่อเพาะบนอาหารแข็งจะมีลักษณะคล้ายกัน ขนาด ของ
หมวดหมู่โดยเฉลี่ยแล้วจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ในระหว่าง 0.5-2.0 มม. เมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
มี ขอบเรียบแต่หยักเล็กน้อย
ลักษณะ
แบคทีเรียพวกนี้จะมีรูปร่างค่อนข้างกลม (Sphere) เมื่อทําการย้อมสีและ
ตรวจดูด้วย กล้องจุลทัศน์ จะพบการเรียงตัวเป็นกลุ่ม (Cluster) เป็นคู่
(Diploid) หรือจับกันเป็นสายโซ่ (Chain) สั้นหรือยาวนั้นขึ้นอยู่กับตระกูล
1.ตระกูลสตาฟฟิลโลคอคคัส (The Genus Staphylococcus)
» ลักษณะเซลล์ของสตาฟฟิลโลคอคคัส เมื่อตรวจดูด้วยกล้องจุลทัศน์พบว่ามีการ
เรียงตัวเป็นกลุ่มคล้ายพวงองุ่น
» มีที่มารากศัพท์ของภาษากรีก คําว่า สตาฟฟิล (Staphyle) และมีรูปร่างกลม
(Coccus) สตาฟฟิลโลคอคคัสจะติดสีแกรมบวก
» ไม่สร้างสปอร์ ไม่เคลื่อนที่ สร้างน้ําย่อยคะตะเลส ใช้คาร์โบไฮเดรต โดยไม่
ต้องการออกซิเจนหรือเฟอร์เมนต์เตตีฟ (Fermentative)
» พวกสตาฟฟิลโลคอคคัส แต่เดิมนักวิชาการเคยจัดรวมไว้ในตระกูลไมโครคอคคัส (Micrococcus spp.)
แต่ปัจจุบันนี้ได้แยกจากกันโดยสิ้นเชิง เนื่องมาจากคุณสมบัติในการใช้ คาร์โบไฮเดรตแตกต่างกัน
» สายพันธุ์มาตรฐาน คือ สตาฟฟิลโลคอคคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus)
การจําแนกสายพันธ์ พวกสตาฟฟิลโลคอคคัสที่สําคัญมีเพียงแค่สองสายพันธุ์เท่านั้น คือ
1. เอส. ออเรียส
2. เอส. อิปิเดอร์มิดิส
โดยที่ เอส. ออเรียส นั้นเป็นสายพันธุ์ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคทั้งในคนและในสัตว์ ส่วนเอส. อิปิ
เดอร์มิดิส นั้นเป็นสายพันธุ์ที่กล่าวได้ว่าไม่สามารถเกิดโรคได้ในคนและสัตว์
»พยาธิกําเนิด
พวกสตาฟฟิลโลคอคคัสมีความสามารถในการสร้างผลิตภัณฑ์จากกระบวนการสันดาปได้หลาย อย่าง
โดยเฉพาะ เอส. ออเรียสนั้น สามารถ สร้างได้ทั้งพวกน้ําย่อย (Enzyme) และสารพิษ (Toxin) ได้
หลายชนิด ส่วนพวก เอส. อิปิเดอร์มิดิสนั้นพบว่าสามารสร้างพวกน้ําย่อยได้เพียงอย่างเดียว
เอส. ออเรียที่สร้างน้ําย่อย (Enzyme)
1.โคแอกกูเลส (Coagulase) เป็นน้ําย่อยชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นมามันมีคุณสมบัติเฉพาะในการที่จะ ทํา
ให้พลาสมาของคนและสัตว์เกิดการตกตะกอนจับตัวเป็นก้อน (Clot) น้ําย้อยชนิดนี้จะออกฤทธิ์ ได้ดี
ต่อพลาสมาของคน กระต่าย สุกร และม้า ตามลําดับ พลาสมาของสัตว์ชนิดอื่นจะ แสดงปฏิกิริยาได้
ไม่ดี ความสามารถในการทําให้พลาสมาจับตัวเป็นก้อนนั้นขึ้นอยู่กับ อายุของสัตว์
2.ไฮอะลูโรนิเดส (Hyaluronidase) หรือกรดไฮอะลูโรนิค (Hyaluronic Acid) เป็นน้ําย่อยที่ออกฤทธิ์
โดยตรงต่อเยื่อยึดระหว่างเซลล์ ผลจากการออกฤทธิ์ของมันจะทําให้เซลล์แยกตัวออกจากกัน เซลล์ที่
แยกตัวออกไปจะไม่สามารถได้รับอาหารก็จะตาย และจะเป็นแหล่งอาหารของของเอส. ออเรียสต่อไป
กระบวนการนี้จะพบได้จากการที่พบว่า มีการขยายอาณา เขตหรือขนาดไปเรื่อยๆ น้ําย่อยชนิดนี้บางครั้ง
เราอาจเรียกตามคุณสมบัติของมันว่า ตัวแพร่(Spreading Factor)
เอส. ออเรียที่สร้างสารพิษ (Toxin)
1.ฟิบริโนลัยซิน (Fribrinolysin) เป็นสารพิษที่สร้างขึ้นมาเพื่อย่อยสลายพวกไฟบริน โดยพบว่าพวก
เอส. ออเรียสมีความสามารถในการสร้างสารพิษนี้ได้ดีกว่าพวก เอส. อิปิเดอร์มิดิส
2. ลิวโคซิดิน (Leucocidin) เป็นสารพิษอีกชนิดหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาโดย เอส. ออเรียส มี คุณสมบัติ
ในการทําลายเม็ดเลือดขาว
3. เดอร์โมเนคโครติคทอกซิน (Dermonecrotictoxin) พวกเอส. ออเรียสก็เช่นเดียวกันกับ
แบคทีเรียอีกหลายชนิดที่มันสามารถสร้างสารพิษชนิดนี้ได้ สารพิษชนิดนี้จะออกฤทธิ์โดยตรง
ใน การย่อยสลาย สารเคราติน(Keratin) จะสังเกตได้ที่บริเวณหัวของฝีที่ผิวหนังถูกย่อยสลาย
จนบาง พร้อมที่ฝีจะเกิดการแตกได้ พบมากในสุนัขที่เป็นโรคผิวหนังอักเสบแบบมีหนอง
(Pustular Dermatitis)
4. ลีธัลทอกซิน (Lethaltoxin) เป็นสารพิษที่กล่าวถึงคุณสมบัติของการออกฤทธิ์ของมันที่
ก่อให้เกิดการตายของสัตว์หรือการถึงแก่ชีวิต (Lethal) แต่กระบวนการที่มันจะก่อให้เกิด
อันตรายแก่ ชีวิต นั้นยังไม่ทราบแน่นอน
5. ฮีโมลัยซิน (Hemolysin) เป็นสารที่ออกฤทธิ์ในการทําให้เม็ดเลือดแดงแตก เราอาจจัดหรือ เรียกว่า
เป็นสารพิษ (Haemotoxin) โดยพบว่า เอส. ออเรียส เท่านั้นที่สามารถสร้างสารพิษชนิดนี้ได้ ส่วน
เอส. อิปเดอร์มิดิส ไม่สามารถสร้างได้ สารพิษชนิดนี้ได้ถูกจําแนกออกไปได้เป็น 3 ชนิด ตาม ฤทธิ์และ
ความสามารถของมันในการที่ทําให้เม็ดเลือดแดงแตก
5.1 อัลฟา-ฮีโมลัยซิน (Alfa-hemolysin) หรือ อัลฟา-ฮีโมทอกซิน (Alfa-hemotoxin) สารพิษชนิด
นี้ในความเข้มข้นที่สูงจึงจะสลาย เม็ดเลือดแดงได้สมบูรณ์
5.2 เบต้า –ฮีโมลัยซิน (Beta-Heamolysin) หรือ เบต้า-ฮีโมทอกซิน (Beta-Heamotoxin) สารพิษ
ชนิดนี้สามารถทําให้เห็ดเลือดแดง แตกได้เป็นบางส่วน (Partial Haemolysis)
5.3 เดลต้า-ฮีโมลัยซิน (Delta-haemolysin) หรือ เดลต้า-ฮีโมทอกซิน (Delta-haemolysin)
สารพิษชนิดนี้มีคุณสมบัติในการทําให้เม็ดเลือดแดงแตกอย่างสมบูรณ์
ในความเป็นจริงแล้ว สเตรนของ เอส. ออเรียส แต่ละสเตรนสามารถสร้างฮีโมลัยซินได้ หลายอย่าง
แต่ความสามารถในสร้างแต่ละชนิดได้แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับชนิด ของเม็ดเลือดแดง
สัตว์แต่ละชนิดก็จะมีความไว (Sensitivity) ต่อฮีโมลัยซินได้ต่างกัน และอายุของสัตว์ โดยพบว่า
สัตว์ที่มีอายุมากจะมีการสร้างสารต่อต้าน ฮีโมลัยซินชนิดต่างๆได้ ดังนั้นเราจึง อาจพบลักษณะการ
แตกของเม็ดเลือดแดงได้แบบใดแบบหนึ่ง
แต่ในบางครั้ง เราอาจพบลักษณะของเม็ดเลือดแดงที่แตกได้สองรูปแบบ ซึ่งจะเห็นลักษณะ ของวง
ซ้อนกัน (Double Zone Haemolysis) เช่น แบบที่เรียกว่า อัลฟ้า-เบต้า-ฮีโมลัยซิส หรือเป็น แบบ
เบต้า-เดลต้า-ฮีโมลัยซิส
6. เอ็นเตอร์โรทอกซิน (Enterotoxin) พบว่า เอส. ออเรียส เท่านั้นที่สามารถสร้างสารพิษนี้ได้
และ ก็ยังเป็นเพียงบางสเตรนเท่านั้น สารพิษชนิดนี้ส่วนใหญ่จะตรวจพบได้ในอาหาร และน้ํานม
และ ผลิตภัณฑ์นมที่มีการปนเปื้อนของเอส. ออเรียส สารพิษชนิดนี้มีความทนทานต่อความร้อนได้
สูง ที่ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส มันป็นสาเหตุของการเกิดโรคอาหารเป็นพิษแบบเฉียบพลันทั้ง
ในคน และสัตว์
พยาธิสภาพ
เอส. ออเรียส เป็นเพียงสายพันธุเดียวในตระกูลนี้ที่เป็นตัวก่อโรคได้ ปฐมสาเหตุที่สําคัญได้แก่ การที่มันเป็น
สาเหตุของ การเกิดอาหารเป็นพิษในคนและในสัตว์จากสารพิษเอ็นเตอร์โร การติดเชื้อที่บาดแผล การ
อักเสบ ของอวัยวะต่างๆ มักจะเกิดจากการที่มันเป็นสาเหตุแทร้ซ่อน บางครั้งเมื่อทําการเพาะแยกจะพบ
เชื้อ เอส. ออเรียส ซึ่งแสดงว่า มันเป็นสาเหตุแทรกซ้อนซ้ําเติมจากไวรัส โดยทั่วไปแล้วกลุ่ม อาการและ
รอยโรค (lesion) ที่ตรวจพบว่า เอส. ออเรียสเป็เนสาเหตุนั้น ได้แก่ การอักเสบแบบมี หนองที่อวัยวะ
ต่างๆ เช่น ทอนซิลอักเสบ ปอดอักเสบ การติดเชื้อในกระแสโลหิตก็พบได้บ่อยว่า พวกเอส. ออเรียสเป็น
สาเหตุ
สารพิษเอ็นเตอร์โร นับว่าเป็นสารพิษที่มีความสําคัญอย่างยิ่งในแง่ของสุขศาสตร์
เนื่องจาก มันเป็นสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษหรือกระเพาะลําไส้อักเสบแบบเฉียบพลัน (Acute
Gastroenteritis)
ถึงแม้ว่านักวิชาการส่วนใหญ่จะจัด เอส. อิปิเดอร์มิดิส ว่าเป็นพวกที่ไม่สามารก่อโรคได้
แต่ ในปัจจุบันนี้มีรายงานหลายรายงานที่ตรวจพบว่า เอส.อิปเดอร์มิดิส เป็นสาเหตุของการเกิดแผล
อักเสบ ปอดบวม และเต้านมอักเสบในโค
พวกสตาฟฟิลโลคอคคัส สามารถเจริญได้ในอาหารเลี้ยงเชื้อธรรมดาเราอาจเพาะเชื้อนี้ได้ บน
อาหาร นิวเตรี้ยนท์ อะการ์ (Nutrient Agar) หรือในอาหาร นิวเตรี้ยนท์ บรอธ (Nutrient
Broth) ในห้องปฏิบัติการทั่วไป นิยมเพาะเลี้ยงบนอาหารวุ้นผสมเลือด (Blood Agar)
การเพาะแล้วพิสูจน์เชื้อ
2.ตระกูลสเตรปโตคอคคัส (The Genus Streptococcus)
การแบ่งกลุ่มย่อย ตามลักษณะของการ Hemolysis
1.Beta – hemolysis (clear)
2. Alpha – hemolysis (green)
3. Gamma– hemolysis (non– hemolysis)
Streptococcus เป็นชื่อสกุล (genus) ของแบคทีเรียในวงศ์ (family) Streptococcaceae
ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมบวก (Gram positive bacteria)
- จัดอยู่ในกลุ่ม lactic acid bacteria ที่สามารถหมัก น้ําตาลกลูโคส (glucose) น้ําตาลแล็กโทส
(lactose) ให้เกิดกรดแล็กทิก (lactic acid fermentation) ประเภท homofermentation
- รูปร่างเป็นทรงกลม (coccus) หรือรูปไข่ ต่อกันเป็นสายหรือเป็นคู่
- เจริญได้ทั้งสภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน (facultative anaerobe)
- ต้องการสารอาหารที่มีโครงสร้างซับซ้อน
- ไม่สร้างสปอร์ (non spore forming bacteria)
- มักจะไม่เคลื่อนที่
- ทนต่อการฉายรังสี (food irradiation) สายพันธุ์ที่ทนต่อรังสีได้ดี ได้แก่ Streptococcus faecalis
พบในลําไส้ นํ้าลาย และอุจจาระของ มนุษย์ และสัตว์ พืชบางชนิด และ อาหารสัตว์ เครื่องมือที่ใช้ในโรงนม
ความสําคัญต่ออุตสาหกรรมอาหาร
1. ใช้ในการหมัก (fermentation) ผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ซาวเคราท์ (sauerkraut) แตกกวาดอง เนยแข็ง
(cheese) น้ํานมหมัก
(fermented milk) โยเกิร์ต (yogurt) cultured butter, ครีมเปรี้ยว แหนม เป็นต้น
2. เป็นสาเหตุของการเสื่อมเสีย (microbial spoilage) ของอาหารหลายชนิด เช่น การเสื่อมเสียของน้ํานม การ
เสื่อมเสียของเนื้อสัตว์
แปรรูป เช่น แฮม ไส้กรอก นํ้าผลไม้เข้มข้น อาหารกึ่งแห้ง ครีม ผลไม้บรรจุกระป๋อง เป็นต้น
แหล่งที่พบ
Streptococcus แบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้
Group A streptococci (S. pyogenes) สเตรปโธรท หรือ โรคเจ็บคอสเตรปโธรท (Strep
throat) เป็นโรคเกิดจากร่างกายติดเชื้อแบคทีเรียชนิด กรุ๊ป เอ สเตรปโตคอกคัส (Group A
beta-hemolytic streptococcus หรือ เรียกย่อว่า แกส/GAS หรือ GABHS) จากการสัมผัสสาร
คัดหลั่งจากทางเดินหายใจ โดยการคลุกคลี ใกล้ชิด หรืออยู่ร่วมกันในสถานที่แออัด (เช่น โรงเรียน)
กับคนป่วยด้วยโรคสเตรป โธรท หรือกับคนที่ติดเชื้อสเตรปโธรทแต่ไม่มีอาการ (พาหะโรค) หรือคน
ที่เป็นรังโรคของเชื้อ สเตรปโธรท
เชื้อสเตรปฯ มีคนเป็นรังโรค โดยพบอยู่ในลําคอ ในโพรงหลังจมูก และบนผิวหนัง แต่บาง
การศึกษาพบว่า สุนัข และแมวเลี้ยง อาจเป็นรังโรคได้เช่นเดียวกับคน
สเตรปโธรท เป็นโรคพบบ่อยโรคหนึ่ง พบได้ในคนทุกอายุ แต่พบได้บ่อยที่สุดในช่วงอายุ 5-15 ปี
โดยพบได้ทั้งในผู้หญิงและในผู้ชายใกล้เคียงกัน
โดยพบเป็นสาเหตุของอาการเจ็บคอหรือต่อมทอนซิลอักเสบได้ประมาณ 15-30%ของอาการ
เจ็บคอในเด็กทั้งหมดและเป็นประมาณ5-20%สําหรับในผู้ใหญ่ ทั้งนี้อาการเจ็บคอส่วนใหญ่ทั้ง
ในเด็กและในผู้ใหญ่ เกิดจากติดเชื้อไวรัสเป็นส่วนใหญ่
Group A streptococci (S. pyogenes)
ก่อโรคออักเสบ โรคติดเชื้อที่ผิวหนัง ไข้รูมาติดชนิดเฉียบพลัน โรคกรวยไตอักเสบ
ชนิดเฉียบพลัน
- Pharyngitis (strep throat)
- Tonsillitis
- Impetigo โรคผิวตุ่มพอง
- Septicemia
- Scarlet fever ไข้ดําแดงภาวะแทรกซ้อนหลังติดเชื้อ Group A Rheumatic
fever
- Glomerulonephritis (ไตอักเสบ)
โรคเจ็บคอสเตรปโธรท ที่ไม่รุนแรง โรคหายได้เองภายใน 1 สัปดาห์ แต่แพทย์ส่วนใหญ่แนะนําให้
ได้รับยาปฏิชีวนะ เพราะจะช่วยให้โรคหายเร็วขึ้นภายใน 1-3 วัน ลดระยะเวลาในการหยุดเรียน ใน
การหยุดงาน ลดการแพร่เชื้อ และยังลดโอกาสเกิดผลข้างเคียงแทรกซ้อนจากการติดเชื้อตัวนี้ ซึ่งการ
ได้รับยาปฏิชีวนะจําเป็นต้องได้รับจากแพทย์ จึงจะได้ชนิด ปริมาณ และระยะเวลาในการกินยาที่
ถูกต้อง ไม่ควรซื้อยาปฏิชีวนะกินเอง ดังนั้นจึงควรพบแพทย์เสมอภายใน 1-3 วัน เมื่อมีอาการสําคัญ
ดังกล่าวแล้ว
การรักษาโรค streptococcus
คือ การป้องกันการติดเชื้อสเตรปฯ โดย
- รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ)
- ล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อนกินอาหาร และหลังเข้าห้องน้ํา
- ไม่คลุกคลีกับคนป่วยด้วยโรคสเตรปโธรท
- เก็บแปรงสีฟันไม่ปะปนกับคนอื่น ไม่ใช้แปรงสีฟันร่วมกัน เพราะเชื้อสเตรปฯ มักติดอยู่ในแปรงสีฟัน
ดังกล่าวแล้ว และเราไม่รู้ว่าใครเป็นพาหะโรค หรือเป็น รังโรค
การป้องกันโรคสเตรปโธรท
เป็นเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง รูปร่างกลม สั้นๆ หากนําไปย้อมสีที่เรียกว่า สีกรัม (Gram stain) จะติดสี
น้ําเงิน หรือเรียกว่า กรัมบวก ทั้งนี้ สามารถพบเชื้อตัวนี้ได้ (โดยไม่ก่ออาการ) ใน ลําไส้ ช่องคลอด
และบริเวณก้น ในสตรีปกติได้ประมาณ 25 %อนึ่ง การติดเชื้อ GBS ระหว่างตั้งครรภ์ ไม่มี
ความสัมพันธ์กับการติดเชื้อในต่อมทอนซิลอักเสบ (สเตรปโธรท/Strep throat) เป็นคนละโรคกัน
เชื้อสเตรปโตคอคคัสกรุ๊ป บี (Group B streptococcus หรือ ย่อ
ว่า GBS) หรือ Strepto coccus agalactiae
Group B streptococcus : streptococcus agalactiae ก่อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบในทารา
แรกเกิด
ทาราที่ติดเชื้อจะมาอาการ ดังต่อไปนี้
- มีไข้
- ซึม
- ปอดบวม
- หายใจเร็ว มีอาการเขียวคล้ํา
- ชัก
การรักษาของแพทย์
ในกรณีที่สตรีมีครรภ์มีการติดเชื้อ GBS และเกิดอาการปัสสาวะผิดปกติ หรือ ปอดอักเสบ/ปอด
บวม แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะรักษาอาการนั้นๆ หากสตรีตั้งครรภ์ไม่มีอาการผิดปกติ แต่มีความ
เสี่ยงที่จะทําให้ทารกติดเชื้อ GBS (ดังได้กล่าวแล้วในข้อ ปัจจัยเสี่ยงของทารกต่อการติดเชื้อ)
แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะเข้าหลอดเลือดดํา เช่น Ampicillin 2 กรัม ทันที และอีก 1 กรัมทุก 4
ชั่วโมงจนกว่าจะคลอด
การป้องกันไม่ให้ทารกเกิดการติดเชื้อ streptococcus Group B หากสตรีตั้งครรภ์ ถูกตรวจพบว่า
เป็นพาหะโรค คือ มีเชื้อ GBS ในตัวสตรีเอง แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะระหว่างคลอด เพื่อลดการติด
เชื้อ GBS ต่อมารดาและต่อทารก และหากมีถุงน้ําคร่ําแตกต้องรีบไปโรงพยาบาล เพื่อแพทย์จะได้ให้
ยาปฏิชีวนะได้อย่างรวดเร็ว
การป้องกัน
streptococcus pneumonia
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส (Invasive pneumococcal infection) หรือโรคไอพีดี (IPD,
Invasive pneumococcal disease) คือโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ที่เกิดจากการ
ติดต่อกันระหว่างคนสู่คน เชื้อโรคสามารถก่อโรคได้ในหลายอวัยวะ โดยส่วนใหญ่จะทําให้
เกิดปอดอักเสบ หรือ ปอดบวม โรคนี้มียาปฏิชีวนะสําหรับรักษาและมีวัคซีนสําหรับ
ป้องกัน
โรค โรคนี้พบได้ทั่วโลก ทุกเชื้อชาติ แต่พบว่าคนพื้นเมืองอลาสกา (Native Alaskan) คน
พื้นเมืองของอเมริกา (Native American) และคนผิวดําเชื้อสายแอฟริกัน-อเมริกัน (African
American) มีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าเชื้อชาติอื่นๆ วัยที่พบเป็นโรคนี้ได้มากมี 2 ช่วงคือ ช่วง
วัยทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 2 ปี และในวัยผู้ใหญ่อายุมากกว่า 55 ปี
streptococcus pneumonia ก่อนโรคปอดบวม โรคหุ้มสมองอักเสบ ได้แก่
• Otitis media หรือการติดเชื้อในหูชั้นกลาง
• Sinusitis หรือการติดเชื้อในไซนัส
• Pneumonia หรือการติดเชื้อในปอด
• Meningitis หรือการติดเชื้อที่เยื่อหุ้มสมอง
• Bacteremia และ sepsis หรือการติดเชื้อในกระแสเลือด
ภาวะแทรกซ้อนของโรค pneumococcus
โรคติดเชื้อในปอด โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และโรคติดเชื้อในกระแสเลือด ถือเป็นโรค
pneumococcal ที่มีการติดเชื้อแบบรุนแรง และอาจทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึง
ชีวิต ประมาณ 10 เปอร์เซนต์ของเด็กอายุต่ํากว่า 5 ปี ที่ติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ
pneumococcus เสียชีวิตจากการติดเชื้อดังกล่าว จากข้อมูลของ CDC และในผู้ที่รอดชีวิต
จะสูญเสียการได้ยิน หรือมีพัฒนาการช้า การติดเชื้อในกระแสเลือดก็สามารถทําให้เสียชีวิตได้
ประมาณ 4 รายในเด็ก 100 รายที่ติดเชื้อ จากข้อมูลของ CDC
ยกตัวอย่าง ได้แก่
- ผู้ป่วยที่น้ําในสมองและไขสันหลังรั่วไหล (Cerebrospinal fluid/CSF leaks)
- ผู้ป่วยที่ได้รับการฝังเครื่องมือแพทย์ทดแทนหูชั้นในส่วนที่เรียกว่าคอเคลีย (Cochlear
Implant)
- ผู้ป่วยโรคเม็ดเลือดแดงผิดปกติคือมีรูปร่างเป็นรูปเคียว (Sickle Cell Disease) ซึ่งเม็ดเลือด
แดงปกติจะมีรูปร่างกลม
- ผู้ป่วยไม่มีม้าม (Asplenia)
- ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบภูมิคุ้มกัน
ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงในการติดเชื้อนิวโมคอกคัส
ได้แก่
- Empyema หรือภาวะหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
- Pericarditis หรือภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
- Endobronchial obstruction หรือภาวะที่หลอดลมส่วนบรองคัสมีการอุดตัน อาจทําให้ปอด
แฟบและมีฝี(บริเวณที่มีการอักเสบและมีหนองขัง)ในปอด
ภาวะแทรกซ้อนของโรคติดเชื้อในปอดจากเชื้อ pneumococcus
กลุ่ม “superbug”CDC ถือให้เชื้อ S. pneumoniae เป็นเชื้อในกลุ่ม “superbug” ที่เป็นที่น่า
กังวลเป็นอย่างมาก เพราะบางสายพันธุ์เริ่มดื้อต่อยาปฏิชีวนะกลุ่ม penicillin และ macrolide
ได้แก่ amoxicillin และ azithromycin เช่นเดียวกับยาตัวอื่นๆที่เป็นที่นิยมน้อยกว่า
การรักษาและป้องกันโรคติดเชื้อจาก pneumococcus
- ห้ามใช้วัคซีนนี้หากผู้ป่วยแพ้ยา/แพ้วัคซีนหรือส่วนประกอบของวัคซีน
- หากมีอาการป่วยหรือมีการติดเชื้อ ให้เลื่อนการฉีดวัคซีนนี้ออกไปจนกว่าจะหายเป็นปกติ
- ผู้ป่วยควรระลึกว่าไม่มีวัคซีนใดป้องกันโรคได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ วัคซีนเพียงช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางานของระบบภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงการติดเชื้อโรคให้ลดน้อยลง
เท่านั้น
- ควรหลีกเลี่ยงการใช้วัคซีนนี้ในสตรีตั้งครรภ์หรืออยู่ในระหว่างการให้นมบุตร
ข้อห้ามหรือข้อควรระวังในการใช้วัคซีนนิวโมคอกคัส
- ผลข้างเคียงเฉพาะที่: ได้แก่ มีอาการเจ็บ/ปวดหรือบวมบริเวณที่ฉีด
- ผลข้างเคียงทั่วไป: เช่น อาจทําให้เกิดอาการรู้สึกไม่สบายตัว มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ความอยากอาหารลดลง
โดยทั่วไปอาการเหล่านี้จะหายไปเองภายในช่วงระยะเวลา 3 - 5 วันหลังได้รับวัคซีน การดูแล
ตนเองเพียงกินยาแก้ปวดยาลดไข้เช่น ยา Paracetamol อย่างไรก็ดีหากอาการเหล่านี้เกิดขึ้น
อย่างต่อเนื่องและไม่มีท่าทีว่าจะทุเลาลงหรือมีอาการุนแรงขึ้น ผู้ป่วยควรรีบพบแพทย์/มา
โรงพยาบาลโดยเร็ว
วัคซีนนิวโมคอกคัสอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียง
3.Enterococcus spp.
เป็นเชื้อแบคทีเรียติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม (cocci) ขนาด 0.5-1 µm เรียงตัวเป็นสาย
สั้นๆอาจพบอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือคู่พบได้ในคน สัตว์พืชและสิ่งแวดล้อมทั่วไป ไม่สร้างสปอร์
เจริญได้ทั้งในสภาวะที่มีอากาศ และไม่มีอากาศความทนทานต่ออุณหภูมิสูงและความเสี่ยง
ของเกลือและกรดเป็นแบคทีเรียที่สําคัญในอาหาร เป็นสาเหตุของการเน่าเสียของอาหาร
Enterococci เป็นเชื้อโรคของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ โรคติดเชื้อในช่องท้องและ
อุ้งเชิงกราน การติดเชื้อของบาดแผลและเนื้อเยื่ออ่อน โรคติดเชื้อในกระแสเลือด(septicemia)
โรคลิ้นหัวใจอักเสบ(endocarditis)กลายเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อดื้อต่อยากลุ่ม Cephalosporins กลุ่ม Glycopeptides (Vancomycin และ
Teicoplanin) เพิ่มสูงขึ้น เรียกเชื้อดังกล่าวว่าVancomycinresistantenterococci(VRE)
1.นางสาว นพมาศ ภาคีธรรม เลขที่ 21
2.นาย นฤเบศ ธราพร เลขที่ 22
3.นางสาว นัฏฐาภรณ์ ศรีมาลัย เลขที่ 23
4.นาย นันทวัฒน์ มุละชีวะ เลขที่ 24
5.นางสาว ณัฏฐนารา สมต๊ะแก้ว เลขที่ 25
นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาเวชระเบียน
ชั้นปีที่ 2
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
จบการนําเสนอ

More Related Content

What's hot

เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆAidah Madeng
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บหลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บpop Jaturong
 
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งpeter dontoom
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
Handbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chineseHandbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chineseUtai Sukviwatsirikul
 
Breast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapyBreast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapyUtai Sukviwatsirikul
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
Ppt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPpt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPrachaya Sriswang
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยUtai Sukviwatsirikul
 
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)atirachonpanyayom
 
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550Warangkana Chaiwan
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546Trd Wichai
 

What's hot (20)

Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บหลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
 
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
Gram negative cocci
 Gram negative cocci Gram negative cocci
Gram negative cocci
 
Handbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chineseHandbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chinese
 
Breast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapyBreast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapy
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ประชากร
ประชากรประชากร
ประชากร
 
Ppt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยักPpt. บาดทะยัก
Ppt. บาดทะยัก
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
 
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
 

Similar to แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)

โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนUtai Sukviwatsirikul
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisijack114
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุงStamp Tamp
 
Gram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positiveGram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positivePim Nuttha
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaissoshepatites
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...pitsanu duangkartok
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2elearning obste
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartokpitsanu duangkartok
 

Similar to แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci) (20)

โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosis
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุง
 
Gram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positiveGram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positive
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Infection
InfectionInfection
Infection
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandais
 
จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
 

แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)

  • 2. แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม » แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลมเป็นแบคทีเรียที่มีการติดสีย้อมแกรมบวกและมีรูปร่างกลม หรือแบคทีเรียกลุ่มนี้เป็นแบคทีเรียอีกกลุ่มหนึ่งที่ก่อโรคติดเชื้อกับมนุษย์และมักพบในสิ่งส่ง ตรวจทางการแพทย์ทั่วๆไปอยู่เสมอแต่มีลักษณะการเรียงตัวที่ค่อนข้างแตกต่างกัน
  • 3. พยาธิกําเนิด » การก่อโรคในคนและสัตว์ แหล่งอาศัย » จากตัวสัตว์ โดยเฉพาะบริเวณเยื่อบุของท่อทางเดินอาหารส่วนต้น ตามผิวหนัง » จากอาหาร โดยเฉพาะจากน้ํานมและผลิตภัณฑ์ของน้ํานม
  • 4. หมวดหมู่ » หมวดหมู่ ของแบคทีเรียพวกนี้เมื่อเพาะบนอาหารแข็งจะมีลักษณะคล้ายกัน ขนาด ของ หมวดหมู่โดยเฉลี่ยแล้วจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ในระหว่าง 0.5-2.0 มม. เมื่ออายุ 24 ชั่วโมง มี ขอบเรียบแต่หยักเล็กน้อย
  • 5. ลักษณะ แบคทีเรียพวกนี้จะมีรูปร่างค่อนข้างกลม (Sphere) เมื่อทําการย้อมสีและ ตรวจดูด้วย กล้องจุลทัศน์ จะพบการเรียงตัวเป็นกลุ่ม (Cluster) เป็นคู่ (Diploid) หรือจับกันเป็นสายโซ่ (Chain) สั้นหรือยาวนั้นขึ้นอยู่กับตระกูล
  • 6. 1.ตระกูลสตาฟฟิลโลคอคคัส (The Genus Staphylococcus) » ลักษณะเซลล์ของสตาฟฟิลโลคอคคัส เมื่อตรวจดูด้วยกล้องจุลทัศน์พบว่ามีการ เรียงตัวเป็นกลุ่มคล้ายพวงองุ่น » มีที่มารากศัพท์ของภาษากรีก คําว่า สตาฟฟิล (Staphyle) และมีรูปร่างกลม (Coccus) สตาฟฟิลโลคอคคัสจะติดสีแกรมบวก » ไม่สร้างสปอร์ ไม่เคลื่อนที่ สร้างน้ําย่อยคะตะเลส ใช้คาร์โบไฮเดรต โดยไม่ ต้องการออกซิเจนหรือเฟอร์เมนต์เตตีฟ (Fermentative)
  • 7. » พวกสตาฟฟิลโลคอคคัส แต่เดิมนักวิชาการเคยจัดรวมไว้ในตระกูลไมโครคอคคัส (Micrococcus spp.) แต่ปัจจุบันนี้ได้แยกจากกันโดยสิ้นเชิง เนื่องมาจากคุณสมบัติในการใช้ คาร์โบไฮเดรตแตกต่างกัน » สายพันธุ์มาตรฐาน คือ สตาฟฟิลโลคอคคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) การจําแนกสายพันธ์ พวกสตาฟฟิลโลคอคคัสที่สําคัญมีเพียงแค่สองสายพันธุ์เท่านั้น คือ 1. เอส. ออเรียส 2. เอส. อิปิเดอร์มิดิส
  • 8. โดยที่ เอส. ออเรียส นั้นเป็นสายพันธุ์ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคทั้งในคนและในสัตว์ ส่วนเอส. อิปิ เดอร์มิดิส นั้นเป็นสายพันธุ์ที่กล่าวได้ว่าไม่สามารถเกิดโรคได้ในคนและสัตว์ »พยาธิกําเนิด พวกสตาฟฟิลโลคอคคัสมีความสามารถในการสร้างผลิตภัณฑ์จากกระบวนการสันดาปได้หลาย อย่าง โดยเฉพาะ เอส. ออเรียสนั้น สามารถ สร้างได้ทั้งพวกน้ําย่อย (Enzyme) และสารพิษ (Toxin) ได้ หลายชนิด ส่วนพวก เอส. อิปิเดอร์มิดิสนั้นพบว่าสามารสร้างพวกน้ําย่อยได้เพียงอย่างเดียว
  • 9. เอส. ออเรียที่สร้างน้ําย่อย (Enzyme) 1.โคแอกกูเลส (Coagulase) เป็นน้ําย่อยชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นมามันมีคุณสมบัติเฉพาะในการที่จะ ทํา ให้พลาสมาของคนและสัตว์เกิดการตกตะกอนจับตัวเป็นก้อน (Clot) น้ําย้อยชนิดนี้จะออกฤทธิ์ ได้ดี ต่อพลาสมาของคน กระต่าย สุกร และม้า ตามลําดับ พลาสมาของสัตว์ชนิดอื่นจะ แสดงปฏิกิริยาได้ ไม่ดี ความสามารถในการทําให้พลาสมาจับตัวเป็นก้อนนั้นขึ้นอยู่กับ อายุของสัตว์
  • 10. 2.ไฮอะลูโรนิเดส (Hyaluronidase) หรือกรดไฮอะลูโรนิค (Hyaluronic Acid) เป็นน้ําย่อยที่ออกฤทธิ์ โดยตรงต่อเยื่อยึดระหว่างเซลล์ ผลจากการออกฤทธิ์ของมันจะทําให้เซลล์แยกตัวออกจากกัน เซลล์ที่ แยกตัวออกไปจะไม่สามารถได้รับอาหารก็จะตาย และจะเป็นแหล่งอาหารของของเอส. ออเรียสต่อไป กระบวนการนี้จะพบได้จากการที่พบว่า มีการขยายอาณา เขตหรือขนาดไปเรื่อยๆ น้ําย่อยชนิดนี้บางครั้ง เราอาจเรียกตามคุณสมบัติของมันว่า ตัวแพร่(Spreading Factor)
  • 11. เอส. ออเรียที่สร้างสารพิษ (Toxin) 1.ฟิบริโนลัยซิน (Fribrinolysin) เป็นสารพิษที่สร้างขึ้นมาเพื่อย่อยสลายพวกไฟบริน โดยพบว่าพวก เอส. ออเรียสมีความสามารถในการสร้างสารพิษนี้ได้ดีกว่าพวก เอส. อิปิเดอร์มิดิส 2. ลิวโคซิดิน (Leucocidin) เป็นสารพิษอีกชนิดหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาโดย เอส. ออเรียส มี คุณสมบัติ ในการทําลายเม็ดเลือดขาว
  • 12. 3. เดอร์โมเนคโครติคทอกซิน (Dermonecrotictoxin) พวกเอส. ออเรียสก็เช่นเดียวกันกับ แบคทีเรียอีกหลายชนิดที่มันสามารถสร้างสารพิษชนิดนี้ได้ สารพิษชนิดนี้จะออกฤทธิ์โดยตรง ใน การย่อยสลาย สารเคราติน(Keratin) จะสังเกตได้ที่บริเวณหัวของฝีที่ผิวหนังถูกย่อยสลาย จนบาง พร้อมที่ฝีจะเกิดการแตกได้ พบมากในสุนัขที่เป็นโรคผิวหนังอักเสบแบบมีหนอง (Pustular Dermatitis) 4. ลีธัลทอกซิน (Lethaltoxin) เป็นสารพิษที่กล่าวถึงคุณสมบัติของการออกฤทธิ์ของมันที่ ก่อให้เกิดการตายของสัตว์หรือการถึงแก่ชีวิต (Lethal) แต่กระบวนการที่มันจะก่อให้เกิด อันตรายแก่ ชีวิต นั้นยังไม่ทราบแน่นอน
  • 13. 5. ฮีโมลัยซิน (Hemolysin) เป็นสารที่ออกฤทธิ์ในการทําให้เม็ดเลือดแดงแตก เราอาจจัดหรือ เรียกว่า เป็นสารพิษ (Haemotoxin) โดยพบว่า เอส. ออเรียส เท่านั้นที่สามารถสร้างสารพิษชนิดนี้ได้ ส่วน เอส. อิปเดอร์มิดิส ไม่สามารถสร้างได้ สารพิษชนิดนี้ได้ถูกจําแนกออกไปได้เป็น 3 ชนิด ตาม ฤทธิ์และ ความสามารถของมันในการที่ทําให้เม็ดเลือดแดงแตก 5.1 อัลฟา-ฮีโมลัยซิน (Alfa-hemolysin) หรือ อัลฟา-ฮีโมทอกซิน (Alfa-hemotoxin) สารพิษชนิด นี้ในความเข้มข้นที่สูงจึงจะสลาย เม็ดเลือดแดงได้สมบูรณ์
  • 14. 5.2 เบต้า –ฮีโมลัยซิน (Beta-Heamolysin) หรือ เบต้า-ฮีโมทอกซิน (Beta-Heamotoxin) สารพิษ ชนิดนี้สามารถทําให้เห็ดเลือดแดง แตกได้เป็นบางส่วน (Partial Haemolysis) 5.3 เดลต้า-ฮีโมลัยซิน (Delta-haemolysin) หรือ เดลต้า-ฮีโมทอกซิน (Delta-haemolysin) สารพิษชนิดนี้มีคุณสมบัติในการทําให้เม็ดเลือดแดงแตกอย่างสมบูรณ์
  • 15. ในความเป็นจริงแล้ว สเตรนของ เอส. ออเรียส แต่ละสเตรนสามารถสร้างฮีโมลัยซินได้ หลายอย่าง แต่ความสามารถในสร้างแต่ละชนิดได้แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับชนิด ของเม็ดเลือดแดง สัตว์แต่ละชนิดก็จะมีความไว (Sensitivity) ต่อฮีโมลัยซินได้ต่างกัน และอายุของสัตว์ โดยพบว่า สัตว์ที่มีอายุมากจะมีการสร้างสารต่อต้าน ฮีโมลัยซินชนิดต่างๆได้ ดังนั้นเราจึง อาจพบลักษณะการ แตกของเม็ดเลือดแดงได้แบบใดแบบหนึ่ง
  • 16. แต่ในบางครั้ง เราอาจพบลักษณะของเม็ดเลือดแดงที่แตกได้สองรูปแบบ ซึ่งจะเห็นลักษณะ ของวง ซ้อนกัน (Double Zone Haemolysis) เช่น แบบที่เรียกว่า อัลฟ้า-เบต้า-ฮีโมลัยซิส หรือเป็น แบบ เบต้า-เดลต้า-ฮีโมลัยซิส 6. เอ็นเตอร์โรทอกซิน (Enterotoxin) พบว่า เอส. ออเรียส เท่านั้นที่สามารถสร้างสารพิษนี้ได้ และ ก็ยังเป็นเพียงบางสเตรนเท่านั้น สารพิษชนิดนี้ส่วนใหญ่จะตรวจพบได้ในอาหาร และน้ํานม และ ผลิตภัณฑ์นมที่มีการปนเปื้อนของเอส. ออเรียส สารพิษชนิดนี้มีความทนทานต่อความร้อนได้ สูง ที่ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส มันป็นสาเหตุของการเกิดโรคอาหารเป็นพิษแบบเฉียบพลันทั้ง ในคน และสัตว์
  • 17. พยาธิสภาพ เอส. ออเรียส เป็นเพียงสายพันธุเดียวในตระกูลนี้ที่เป็นตัวก่อโรคได้ ปฐมสาเหตุที่สําคัญได้แก่ การที่มันเป็น สาเหตุของ การเกิดอาหารเป็นพิษในคนและในสัตว์จากสารพิษเอ็นเตอร์โร การติดเชื้อที่บาดแผล การ อักเสบ ของอวัยวะต่างๆ มักจะเกิดจากการที่มันเป็นสาเหตุแทร้ซ่อน บางครั้งเมื่อทําการเพาะแยกจะพบ เชื้อ เอส. ออเรียส ซึ่งแสดงว่า มันเป็นสาเหตุแทรกซ้อนซ้ําเติมจากไวรัส โดยทั่วไปแล้วกลุ่ม อาการและ รอยโรค (lesion) ที่ตรวจพบว่า เอส. ออเรียสเป็เนสาเหตุนั้น ได้แก่ การอักเสบแบบมี หนองที่อวัยวะ ต่างๆ เช่น ทอนซิลอักเสบ ปอดอักเสบ การติดเชื้อในกระแสโลหิตก็พบได้บ่อยว่า พวกเอส. ออเรียสเป็น สาเหตุ
  • 18. สารพิษเอ็นเตอร์โร นับว่าเป็นสารพิษที่มีความสําคัญอย่างยิ่งในแง่ของสุขศาสตร์ เนื่องจาก มันเป็นสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษหรือกระเพาะลําไส้อักเสบแบบเฉียบพลัน (Acute Gastroenteritis) ถึงแม้ว่านักวิชาการส่วนใหญ่จะจัด เอส. อิปิเดอร์มิดิส ว่าเป็นพวกที่ไม่สามารก่อโรคได้ แต่ ในปัจจุบันนี้มีรายงานหลายรายงานที่ตรวจพบว่า เอส.อิปเดอร์มิดิส เป็นสาเหตุของการเกิดแผล อักเสบ ปอดบวม และเต้านมอักเสบในโค
  • 19. พวกสตาฟฟิลโลคอคคัส สามารถเจริญได้ในอาหารเลี้ยงเชื้อธรรมดาเราอาจเพาะเชื้อนี้ได้ บน อาหาร นิวเตรี้ยนท์ อะการ์ (Nutrient Agar) หรือในอาหาร นิวเตรี้ยนท์ บรอธ (Nutrient Broth) ในห้องปฏิบัติการทั่วไป นิยมเพาะเลี้ยงบนอาหารวุ้นผสมเลือด (Blood Agar) การเพาะแล้วพิสูจน์เชื้อ
  • 20. 2.ตระกูลสเตรปโตคอคคัส (The Genus Streptococcus) การแบ่งกลุ่มย่อย ตามลักษณะของการ Hemolysis 1.Beta – hemolysis (clear) 2. Alpha – hemolysis (green) 3. Gamma– hemolysis (non– hemolysis)
  • 21. Streptococcus เป็นชื่อสกุล (genus) ของแบคทีเรียในวงศ์ (family) Streptococcaceae ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมบวก (Gram positive bacteria) - จัดอยู่ในกลุ่ม lactic acid bacteria ที่สามารถหมัก น้ําตาลกลูโคส (glucose) น้ําตาลแล็กโทส (lactose) ให้เกิดกรดแล็กทิก (lactic acid fermentation) ประเภท homofermentation - รูปร่างเป็นทรงกลม (coccus) หรือรูปไข่ ต่อกันเป็นสายหรือเป็นคู่ - เจริญได้ทั้งสภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน (facultative anaerobe) - ต้องการสารอาหารที่มีโครงสร้างซับซ้อน - ไม่สร้างสปอร์ (non spore forming bacteria) - มักจะไม่เคลื่อนที่ - ทนต่อการฉายรังสี (food irradiation) สายพันธุ์ที่ทนต่อรังสีได้ดี ได้แก่ Streptococcus faecalis
  • 22. พบในลําไส้ นํ้าลาย และอุจจาระของ มนุษย์ และสัตว์ พืชบางชนิด และ อาหารสัตว์ เครื่องมือที่ใช้ในโรงนม ความสําคัญต่ออุตสาหกรรมอาหาร 1. ใช้ในการหมัก (fermentation) ผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ซาวเคราท์ (sauerkraut) แตกกวาดอง เนยแข็ง (cheese) น้ํานมหมัก (fermented milk) โยเกิร์ต (yogurt) cultured butter, ครีมเปรี้ยว แหนม เป็นต้น 2. เป็นสาเหตุของการเสื่อมเสีย (microbial spoilage) ของอาหารหลายชนิด เช่น การเสื่อมเสียของน้ํานม การ เสื่อมเสียของเนื้อสัตว์ แปรรูป เช่น แฮม ไส้กรอก นํ้าผลไม้เข้มข้น อาหารกึ่งแห้ง ครีม ผลไม้บรรจุกระป๋อง เป็นต้น แหล่งที่พบ
  • 23. Streptococcus แบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้ Group A streptococci (S. pyogenes) สเตรปโธรท หรือ โรคเจ็บคอสเตรปโธรท (Strep throat) เป็นโรคเกิดจากร่างกายติดเชื้อแบคทีเรียชนิด กรุ๊ป เอ สเตรปโตคอกคัส (Group A beta-hemolytic streptococcus หรือ เรียกย่อว่า แกส/GAS หรือ GABHS) จากการสัมผัสสาร คัดหลั่งจากทางเดินหายใจ โดยการคลุกคลี ใกล้ชิด หรืออยู่ร่วมกันในสถานที่แออัด (เช่น โรงเรียน) กับคนป่วยด้วยโรคสเตรป โธรท หรือกับคนที่ติดเชื้อสเตรปโธรทแต่ไม่มีอาการ (พาหะโรค) หรือคน ที่เป็นรังโรคของเชื้อ สเตรปโธรท
  • 24. เชื้อสเตรปฯ มีคนเป็นรังโรค โดยพบอยู่ในลําคอ ในโพรงหลังจมูก และบนผิวหนัง แต่บาง การศึกษาพบว่า สุนัข และแมวเลี้ยง อาจเป็นรังโรคได้เช่นเดียวกับคน สเตรปโธรท เป็นโรคพบบ่อยโรคหนึ่ง พบได้ในคนทุกอายุ แต่พบได้บ่อยที่สุดในช่วงอายุ 5-15 ปี โดยพบได้ทั้งในผู้หญิงและในผู้ชายใกล้เคียงกัน โดยพบเป็นสาเหตุของอาการเจ็บคอหรือต่อมทอนซิลอักเสบได้ประมาณ 15-30%ของอาการ เจ็บคอในเด็กทั้งหมดและเป็นประมาณ5-20%สําหรับในผู้ใหญ่ ทั้งนี้อาการเจ็บคอส่วนใหญ่ทั้ง ในเด็กและในผู้ใหญ่ เกิดจากติดเชื้อไวรัสเป็นส่วนใหญ่
  • 25. Group A streptococci (S. pyogenes) ก่อโรคออักเสบ โรคติดเชื้อที่ผิวหนัง ไข้รูมาติดชนิดเฉียบพลัน โรคกรวยไตอักเสบ ชนิดเฉียบพลัน - Pharyngitis (strep throat) - Tonsillitis - Impetigo โรคผิวตุ่มพอง - Septicemia - Scarlet fever ไข้ดําแดงภาวะแทรกซ้อนหลังติดเชื้อ Group A Rheumatic fever - Glomerulonephritis (ไตอักเสบ)
  • 26. โรคเจ็บคอสเตรปโธรท ที่ไม่รุนแรง โรคหายได้เองภายใน 1 สัปดาห์ แต่แพทย์ส่วนใหญ่แนะนําให้ ได้รับยาปฏิชีวนะ เพราะจะช่วยให้โรคหายเร็วขึ้นภายใน 1-3 วัน ลดระยะเวลาในการหยุดเรียน ใน การหยุดงาน ลดการแพร่เชื้อ และยังลดโอกาสเกิดผลข้างเคียงแทรกซ้อนจากการติดเชื้อตัวนี้ ซึ่งการ ได้รับยาปฏิชีวนะจําเป็นต้องได้รับจากแพทย์ จึงจะได้ชนิด ปริมาณ และระยะเวลาในการกินยาที่ ถูกต้อง ไม่ควรซื้อยาปฏิชีวนะกินเอง ดังนั้นจึงควรพบแพทย์เสมอภายใน 1-3 วัน เมื่อมีอาการสําคัญ ดังกล่าวแล้ว การรักษาโรค streptococcus
  • 27. คือ การป้องกันการติดเชื้อสเตรปฯ โดย - รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) - ล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อนกินอาหาร และหลังเข้าห้องน้ํา - ไม่คลุกคลีกับคนป่วยด้วยโรคสเตรปโธรท - เก็บแปรงสีฟันไม่ปะปนกับคนอื่น ไม่ใช้แปรงสีฟันร่วมกัน เพราะเชื้อสเตรปฯ มักติดอยู่ในแปรงสีฟัน ดังกล่าวแล้ว และเราไม่รู้ว่าใครเป็นพาหะโรค หรือเป็น รังโรค การป้องกันโรคสเตรปโธรท
  • 28. เป็นเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง รูปร่างกลม สั้นๆ หากนําไปย้อมสีที่เรียกว่า สีกรัม (Gram stain) จะติดสี น้ําเงิน หรือเรียกว่า กรัมบวก ทั้งนี้ สามารถพบเชื้อตัวนี้ได้ (โดยไม่ก่ออาการ) ใน ลําไส้ ช่องคลอด และบริเวณก้น ในสตรีปกติได้ประมาณ 25 %อนึ่ง การติดเชื้อ GBS ระหว่างตั้งครรภ์ ไม่มี ความสัมพันธ์กับการติดเชื้อในต่อมทอนซิลอักเสบ (สเตรปโธรท/Strep throat) เป็นคนละโรคกัน เชื้อสเตรปโตคอคคัสกรุ๊ป บี (Group B streptococcus หรือ ย่อ ว่า GBS) หรือ Strepto coccus agalactiae
  • 29. Group B streptococcus : streptococcus agalactiae ก่อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบในทารา แรกเกิด ทาราที่ติดเชื้อจะมาอาการ ดังต่อไปนี้ - มีไข้ - ซึม - ปอดบวม - หายใจเร็ว มีอาการเขียวคล้ํา - ชัก
  • 30. การรักษาของแพทย์ ในกรณีที่สตรีมีครรภ์มีการติดเชื้อ GBS และเกิดอาการปัสสาวะผิดปกติ หรือ ปอดอักเสบ/ปอด บวม แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะรักษาอาการนั้นๆ หากสตรีตั้งครรภ์ไม่มีอาการผิดปกติ แต่มีความ เสี่ยงที่จะทําให้ทารกติดเชื้อ GBS (ดังได้กล่าวแล้วในข้อ ปัจจัยเสี่ยงของทารกต่อการติดเชื้อ) แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะเข้าหลอดเลือดดํา เช่น Ampicillin 2 กรัม ทันที และอีก 1 กรัมทุก 4 ชั่วโมงจนกว่าจะคลอด
  • 31. การป้องกันไม่ให้ทารกเกิดการติดเชื้อ streptococcus Group B หากสตรีตั้งครรภ์ ถูกตรวจพบว่า เป็นพาหะโรค คือ มีเชื้อ GBS ในตัวสตรีเอง แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะระหว่างคลอด เพื่อลดการติด เชื้อ GBS ต่อมารดาและต่อทารก และหากมีถุงน้ําคร่ําแตกต้องรีบไปโรงพยาบาล เพื่อแพทย์จะได้ให้ ยาปฏิชีวนะได้อย่างรวดเร็ว การป้องกัน
  • 32. streptococcus pneumonia โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส (Invasive pneumococcal infection) หรือโรคไอพีดี (IPD, Invasive pneumococcal disease) คือโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ที่เกิดจากการ ติดต่อกันระหว่างคนสู่คน เชื้อโรคสามารถก่อโรคได้ในหลายอวัยวะ โดยส่วนใหญ่จะทําให้ เกิดปอดอักเสบ หรือ ปอดบวม โรคนี้มียาปฏิชีวนะสําหรับรักษาและมีวัคซีนสําหรับ ป้องกัน
  • 33. โรค โรคนี้พบได้ทั่วโลก ทุกเชื้อชาติ แต่พบว่าคนพื้นเมืองอลาสกา (Native Alaskan) คน พื้นเมืองของอเมริกา (Native American) และคนผิวดําเชื้อสายแอฟริกัน-อเมริกัน (African American) มีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าเชื้อชาติอื่นๆ วัยที่พบเป็นโรคนี้ได้มากมี 2 ช่วงคือ ช่วง วัยทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 2 ปี และในวัยผู้ใหญ่อายุมากกว่า 55 ปี
  • 34. streptococcus pneumonia ก่อนโรคปอดบวม โรคหุ้มสมองอักเสบ ได้แก่ • Otitis media หรือการติดเชื้อในหูชั้นกลาง • Sinusitis หรือการติดเชื้อในไซนัส • Pneumonia หรือการติดเชื้อในปอด • Meningitis หรือการติดเชื้อที่เยื่อหุ้มสมอง • Bacteremia และ sepsis หรือการติดเชื้อในกระแสเลือด
  • 35. ภาวะแทรกซ้อนของโรค pneumococcus โรคติดเชื้อในปอด โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และโรคติดเชื้อในกระแสเลือด ถือเป็นโรค pneumococcal ที่มีการติดเชื้อแบบรุนแรง และอาจทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึง ชีวิต ประมาณ 10 เปอร์เซนต์ของเด็กอายุต่ํากว่า 5 ปี ที่ติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ pneumococcus เสียชีวิตจากการติดเชื้อดังกล่าว จากข้อมูลของ CDC และในผู้ที่รอดชีวิต จะสูญเสียการได้ยิน หรือมีพัฒนาการช้า การติดเชื้อในกระแสเลือดก็สามารถทําให้เสียชีวิตได้ ประมาณ 4 รายในเด็ก 100 รายที่ติดเชื้อ จากข้อมูลของ CDC
  • 36. ยกตัวอย่าง ได้แก่ - ผู้ป่วยที่น้ําในสมองและไขสันหลังรั่วไหล (Cerebrospinal fluid/CSF leaks) - ผู้ป่วยที่ได้รับการฝังเครื่องมือแพทย์ทดแทนหูชั้นในส่วนที่เรียกว่าคอเคลีย (Cochlear Implant) - ผู้ป่วยโรคเม็ดเลือดแดงผิดปกติคือมีรูปร่างเป็นรูปเคียว (Sickle Cell Disease) ซึ่งเม็ดเลือด แดงปกติจะมีรูปร่างกลม - ผู้ป่วยไม่มีม้าม (Asplenia) - ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบภูมิคุ้มกัน ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงในการติดเชื้อนิวโมคอกคัส
  • 37. ได้แก่ - Empyema หรือภาวะหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด - Pericarditis หรือภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ - Endobronchial obstruction หรือภาวะที่หลอดลมส่วนบรองคัสมีการอุดตัน อาจทําให้ปอด แฟบและมีฝี(บริเวณที่มีการอักเสบและมีหนองขัง)ในปอด ภาวะแทรกซ้อนของโรคติดเชื้อในปอดจากเชื้อ pneumococcus
  • 38. กลุ่ม “superbug”CDC ถือให้เชื้อ S. pneumoniae เป็นเชื้อในกลุ่ม “superbug” ที่เป็นที่น่า กังวลเป็นอย่างมาก เพราะบางสายพันธุ์เริ่มดื้อต่อยาปฏิชีวนะกลุ่ม penicillin และ macrolide ได้แก่ amoxicillin และ azithromycin เช่นเดียวกับยาตัวอื่นๆที่เป็นที่นิยมน้อยกว่า การรักษาและป้องกันโรคติดเชื้อจาก pneumococcus
  • 39. - ห้ามใช้วัคซีนนี้หากผู้ป่วยแพ้ยา/แพ้วัคซีนหรือส่วนประกอบของวัคซีน - หากมีอาการป่วยหรือมีการติดเชื้อ ให้เลื่อนการฉีดวัคซีนนี้ออกไปจนกว่าจะหายเป็นปกติ - ผู้ป่วยควรระลึกว่าไม่มีวัคซีนใดป้องกันโรคได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ วัคซีนเพียงช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการทํางานของระบบภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงการติดเชื้อโรคให้ลดน้อยลง เท่านั้น - ควรหลีกเลี่ยงการใช้วัคซีนนี้ในสตรีตั้งครรภ์หรืออยู่ในระหว่างการให้นมบุตร ข้อห้ามหรือข้อควรระวังในการใช้วัคซีนนิวโมคอกคัส
  • 40. - ผลข้างเคียงเฉพาะที่: ได้แก่ มีอาการเจ็บ/ปวดหรือบวมบริเวณที่ฉีด - ผลข้างเคียงทั่วไป: เช่น อาจทําให้เกิดอาการรู้สึกไม่สบายตัว มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ความอยากอาหารลดลง โดยทั่วไปอาการเหล่านี้จะหายไปเองภายในช่วงระยะเวลา 3 - 5 วันหลังได้รับวัคซีน การดูแล ตนเองเพียงกินยาแก้ปวดยาลดไข้เช่น ยา Paracetamol อย่างไรก็ดีหากอาการเหล่านี้เกิดขึ้น อย่างต่อเนื่องและไม่มีท่าทีว่าจะทุเลาลงหรือมีอาการุนแรงขึ้น ผู้ป่วยควรรีบพบแพทย์/มา โรงพยาบาลโดยเร็ว วัคซีนนิวโมคอกคัสอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียง
  • 41. 3.Enterococcus spp. เป็นเชื้อแบคทีเรียติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม (cocci) ขนาด 0.5-1 µm เรียงตัวเป็นสาย สั้นๆอาจพบอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือคู่พบได้ในคน สัตว์พืชและสิ่งแวดล้อมทั่วไป ไม่สร้างสปอร์ เจริญได้ทั้งในสภาวะที่มีอากาศ และไม่มีอากาศความทนทานต่ออุณหภูมิสูงและความเสี่ยง ของเกลือและกรดเป็นแบคทีเรียที่สําคัญในอาหาร เป็นสาเหตุของการเน่าเสียของอาหาร
  • 42. Enterococci เป็นเชื้อโรคของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ โรคติดเชื้อในช่องท้องและ อุ้งเชิงกราน การติดเชื้อของบาดแผลและเนื้อเยื่ออ่อน โรคติดเชื้อในกระแสเลือด(septicemia) โรคลิ้นหัวใจอักเสบ(endocarditis)กลายเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในโรงพยาบาล เชื้อดื้อต่อยากลุ่ม Cephalosporins กลุ่ม Glycopeptides (Vancomycin และ Teicoplanin) เพิ่มสูงขึ้น เรียกเชื้อดังกล่าวว่าVancomycinresistantenterococci(VRE)
  • 43. 1.นางสาว นพมาศ ภาคีธรรม เลขที่ 21 2.นาย นฤเบศ ธราพร เลขที่ 22 3.นางสาว นัฏฐาภรณ์ ศรีมาลัย เลขที่ 23 4.นาย นันทวัฒน์ มุละชีวะ เลขที่ 24 5.นางสาว ณัฏฐนารา สมต๊ะแก้ว เลขที่ 25 นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาเวชระเบียน ชั้นปีที่ 2 รายชื่อสมาชิกกลุ่ม