SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
ประชากร
Population
ประชากร (population)
กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ที่อาศัยอยู่
แหล่งที่อยู่เดียวกัน ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
www.tribuneindia.com
• สังคม (Community) หมายถึงประชากร (Population) ของ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่พบในเนื้อที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น สังคม
ของป่ าผลัดใบ หรือสังคมทุ่งนา เป็นต้น
• ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มของสมาชิกของสิ่งมีชีวิตในส
ปีชีส์เดียวกัน ที่พบในเนื้อที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น
ประชากรของแมลงหวี่ในขวดเพาะเลี้ยง หรือประชากรของกวางป่ า
ในเขาใหญ่
• ที่อยู่อาศัย (Habitat) คือสถานที่เฉพาะในธรรมชาติที่จะพบพืชหรือ
สัตว์แต่ละชนิด
• Niche หน้าที่ที่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดครอบครองในสังคม เช่นทา
หน้าที่เป็นผู้ผลิต หรือผู้บริโภค
- ความหนาแน่นของประชากร
- การแพร่กระจายของประชากร
- การเกิด
- การตาย
- การแพร่กระจายประชากรตามอายุ
- รูปแบบการเจริญเติบโต
โครงสร้างของประชากร
ความหนาแน่นของประชากร
(population density) : จานวนสมาชิกต่อหน่วย
พื้นที่หรือปริมาตร
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
-ความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบ (crude density)
-ความหนาแน่นเชิงนิเวศ (ecological density)
ความหนาแน่นของประชากร
1. ความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบ เป็นการวัดความ
หนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ทั้งหมดของที่อยู่อาศัย เช่น พื้นที่ป่ามี
5 ไร่มีตั๊กแตนอยู่ 500 ตัว เพราะฉะนั้น ความหนาแน่น = 500/5 ตัวต่อ
ไร่ = 100 ตัวต่อไร่
2. ความหนาแน่นเชิงนิเวศ เป็นการวัดความหนาแน่นของ
ประชากรต่อพื้นที่อยู่อาศัยจริงของสิ่งมีชีวิตนั้น เช่น ในพื้นที่ป่ามี 5
ไร่แต่มีบริเวณทุ่งหญ้าที่อาศัยของตั๊กแตนเพียง 2 ไร่ประชากร
ตั๊กแตนมีอยู่ 500 ตัว ดังนั้น ความหนาแน่น = 500/2 ตัวต่อไร่ = 250
ตัวต่อไร่
ประเทศไทยแต่ละภาคมีขนาดและจานวนประชากรในปี พ.ศ. 2544 ดังนี้
http://ns.dkt.ac.th/~lib/krububpa/page/thai/t3.html
- ความหนาแน่นของประชากรที่แท้จริง
(absolute density)
- ความหนาแน่นของประชากร
เชิงเปรียบเทียบ (relative density)
ความหนาแน่นของประชากร
 นับทั้งหมด (total count)
 สุ่มตัวอย่าง (sampling method)
-การใช้ควอแดรท(quadrat) : ศึกษา
สิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ช้าหรืออยู่กับที่
วิธีหาความหนาแน่นของประชากรที่แท้จริง
ขนาดของแปลงสุ่มตัวอย่างขึ้นกับลักษณะชุมชน
ใช้แปลงขนาด 100 ตารางเมตร สาหรับไม้ขนาดใหญ่
ใช้แปลงขนาด 16 ตารางเมตร สาหรับไม้ชั้นรอง
ใช้แปลงขนาด 1 ตารางเมตร สาหรับไม้พื้นล่าง ลูกไม้
กล้าไม้
1 2 3 4 5
6 7 8
9 10
แสดงตาแหน่งแปลงสุ่มตัวอย่างพืชทั้ง 10 แปลง ในป่าจาปีสิรินธร
ขณะวางแปลงสุ่มตัวอย่าง
แปลงสุ่มตัวอย่าง 20x20 เมตร
แปลงสุ่มตัวอย่าง 1x1 เมตร
แปลงสุ่มตัวอย่าง 4x4 เมตร
Average DBH (in): Diameter at breast height (dbh)
เส้นรอบวงระดับอก (Girth at Breast Height = GBH)
วัดเส้นรอบวงระดับอก ที่ระดับความสูง 1.30 เมตรจากพื้นดิน
hcs.osu.edu/hcs604_1/lab1.htm
PLANT COMMUNITY
ANALYSIS
0.25 m2 quadrats:
วัดความสูงของต้นไม้
วัดความกว้าง
ของทรงพุ่ม
ลำดับ
ที่ ชนิดพันธุ์ไม้
ควำมถี่
(%)
จำนวนต้น
(10 ไร่)
พื้นที่หน้ำตัด
ลำต้น (ตร.
ซม./10 ไร่)
จำนวนต้น
(1 เฮกแตร์)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เต็ง
มะค่ำ
ประดู่
ยอป่ำ
ปรู๋
รัง
มะเคร็ด
สะแรงใจ
เหียง
มะเม่ำ
100
60
40
50
10
100
30
20
100
10
403
58
8
21
1
250
3
3
1260
1
18,333.72
4,535.72
667.51
2,587.71
179.64
5,745.63
61.00
84.95
145,801.53
5.10
251.88
36.25
5
13.13
0.63
156.25
1.88
1.88
787.50
0.63
ความถี่ จานวนต้น พื้นที่หน้าตัดรวมของลาต้นของพันธุ์ไม้ชนิดต่างๆ ในป่ าเต็งรัง บริเวณ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาเขตศรีบัวบาน จังหวัดลาพูน
ลำดั
บที่ ชนิดพันธุ์
ไม้
จำนวนต้นของพันธุ์ไม้แยกตำม
ขนำดเส้นรอบวงของลำต้นที่ระดับอก (ซม.)
15 ซม. 15-30 ซม. 30-50 ซม. 50-100 ซม. 100 ซม. รวม
1
2
3
4
5
6
7
8
9
เต็ง
มะค่ำ
ประดู่
ยอป่ำ
ปรู๋
รัง
มะเคร็ด
สะแรงใจ
เหียง
213
25
2
4
0
182
2
2
163
100
9
1
2
0
50
1
1
251
103
18
1
8
1
18
0
0
700
4
6
3
7
0
0
0
0
147
0
0
0
0
0
0
0
0
0
จานวนต้นของพันธุ์ไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ระดับอก (Girth at breast height,
GBH) ต่างๆกัน (พื้นที่ 10 ไร่) ในป่าเต็งรังบริเวณ จังหวัดลาพูน
ความหนาแน่น (density): จานวนพืชหรือสัตว์ ที่
ทาการศึกษาต่อหน่วยพื้นที่
ความหนาแน่น = จานวนพืชหรือสัตว์ชนิดนั้นทั้งหมด
พื้นที่ที่ทาการศึกษา
ความถี่ (frequency): เป็นค่าที่ชี้ถึงการกระจายของ
พืชหรือสัตว์แต่ละชนิดในพื้นที่นั้น ๆ มีหน่วยเป็น
เปอร์เซ็นต์
ความถี่ = จานวนแปลงสุ่มตัวอย่างที่มีพืชปรากฏ X 100
จานวนแปลงสุ่มตัวอย่างทั้งหมด
ความสมบูรณ์ (abundance): เป็นค่าประมาณจานวน
ต้นพืชหรือสัตว์ที่ทาการศึกษาต่อแปลงสุ่มตัวอย่างที่มี
พืชหรือสัตว์ชนิดนั้นปรากฏอยู่
= จานวนพืชหรือสัตว์ชนิดนั้นทั้งหมด
จานวนแปลงสุ่มตัวอย่างที่มีพืชหรือสัตว์ชนิดนั้นปรากฏ
profile diagram และ crown cover chart หรือ plot plan
Measured 05/08/2002. Plot was located in the Ruku Ruku
Valley, low altitude compared to other areas in the reserve
Forest profile diagram of the ultramafic forest in Tawai FR
0 20
10
5 15
25
10
5
15
20
| |
|
| |
(เมตร)
(เมตร)
แสดงโครงสร้างด้านตั้ง และการปก
คลุมเรือนยอดของแปลงศึกษาที่ 7
ของป่าจาปีสิรินธร
0 20
10 15
5
5
25
10
15
20
| |
|
| |
(เมตร)
(เมตร)
แสดงโครงสร้างด้านตั้ง และการปก
คลุมเรือนยอดของแปลงศึกษาที่ 9
ของป่าจาปีสิรินธร
-การทาเครื่องหมายและจับซ้า marking-recapture method :
ศึกษาสัตว์ที่เคลื่อนที่เร็ว นิยมใช้ในการกะประมาณประชากร
แมลง สัตว์น้า นก และสัตว์เลี่ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก
วิธีของ Lincoln-Peterson : โดยจับสัตว์มาทาเครื่องหมาย
แล้วปล่อยไป แล้วทาการจับซ้าครั้งเดียว
T = mn
x
T = จานวนประชากร
M = จานวนประชากรที่ถูกจับได้ครั้งแรกทาเครื่องหมายแล้วปล่อย
N = จานวนประชากรที่ถูกจับได้ครั้งที่ สอง ทั้งหมด
X = จานวนประชากรที่ถูกจับซ้าในครั้งที่สอง
- ใช้กับดัก
- ฟังความถี่ของเสียง
- นับมูลสัตว์
- ดูร่องรอยการกระทา
- ใช้แบบสอบถาม
- ประมาณจากส่วนปกคลุม
- ดูจากอัตราการกิน
วิธีหาความหนาแน่นของประชากรเชิงเปรียบเทียบ
- แบบสุ่ม (random)หรือแบบอิสระ: ความอุดม
สมบูรณ์สม่าเสมอ
- แบบสม่าเสมอ (uniform/regular ): พบน้อยใน
ธรรมชาติ
- แบบกลุ่ม (clump/contagious): พบมากเนื่องจากแต่
ละบริเวณจะมีความอุดมสมบูรณ์ต่างกัน
การแพร่กระจายของประชากร
(population distribution)
การกระจายสมาชิกประชากร
: ความสามารถทางพันธุกรรมของประชากรใน
การเพิ่มจานวนให้มากขึ้น
- การคลอด (birth)
- การฟักออกจากไข่ (hatching)
- การแบ่งตัว (fission)
- การงอกจากเมล็ด (germination)
การเกิด (natality)
- ระดับศักยภาพในการสืบพันธุ์ (fecundity)
- การเจริญพันธุ์ (fertility)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด
ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2556
ประชากรคาดประมาณ ณ กลางปี 2556 (1 กรกฎาคม)
อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน)
อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน)
อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (ร้อยละ)
อัตราตายทารก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย)
อัตราตายเด็ก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย)
11.6
7.7
0.4
11.2
18.4
http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsr-th/population_thai.html
: จานวนลูกที่เกิดต่อเพศเมียต่อปี
ขึ้นอยู่กับ
- จานวนเพศเมียในช่วงสืบพันธุ์
- ระดับศักยภาพในการสืบพันธุ์
ของเพศเมีย
- การเจริญพันธุ์
อัตราการเกิด (birth rate, natality rate)
- อัตราการเกิดตามธรรมชาติ (crude natality rate)
= จานวนประชากรที่เกิดทั้งหมดใน 1 ปี x 1,000
จานวนประชากรที่สารวจได้ทั้งหมดตอนกลางปี
รูปแบบอัตราการเกิด (ต่อประชากรพันคน)
- การเกิดสมบูรณ์ (maximum natality):
ไม่มีปัจจัยใดมาเป็นตัวขัดขวาง ยกเว้นสภาพทาง
สรีระวิทยา อัตราการเกิดมีค่าคงที่
- การเกิดจริง (ecological natality): มีปัจจัยต่าง ๆ ใน
ธรรมชาติมาเกี่ยวข้อง
ลักษณะการเกิด
www.gumption.org
การตายสมบรณ์ (minimum mortality): การหมด
อายุขัย (longevity) อัตราการตายมีค่าคงที่
การตายจริง (ecological mortality): เป็นการตายโดยมี
ปัจจัยต่าง ๆ ในธรรมชาติเกี่ยวข้อง
การตาย (mortality)
อัตราการตายตามธรรมชาติ (crude death rate)
: การลดจานวนสมาชิกในภาวะปกติในช่วงเวลาหนึ่ง
= จานวนประชากรที่ตายทั้งหมดใน 1ปี x 1,000
จานวนประชากรที่สารวจทั้งหมดตอนกลางปี (1 ก.ค.)
- อายุขัยทางสรีรวิทยา (physiological longevity)
: ความมีอายุยืนยาวในสภาพอาศัยที่เหมาะสมที่สุด
- อายุขัยทางนิเวศวิทยา (ecological longevity)
: ความมีอายุยืนยาวในสภาพจริงตามธรรมชาติ
อายุขัยของสิ่งมีชีวิต
www.japanfs.org
กราฟการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต
(survivalship curve)
- ปิรามิดแบบฐานกว้าง (broad base)
- ปิรามิดรูประฆัง (bell shaped)
- ปิรามิดรูปแจกัน (urn shaped)
การกระจายอายุประชากร (age distribution)
ชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการสืบพันธุ์
แสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรในชั่วรุ่น
นิยมเขียนในรูปปิ รามิดอายุ (age pyramid)
ปิ รามิดอายุของประชากร 3 แบบ
ปิ รามิดอายุของประชากรไทย ปี 2543
ปิ รามิดอายุของประชากรสหรัฐอเมริกา
ปี คศ. 1910, 1960 และ 2010
เปรียบเทียบปิ รามิดอายุของประเทศพัฒนาแล้ว
กับประเทศกาลังพัฒนา
- S - shaped
- J - shaped
รูปแบบการเจริญเติบโต (growth pattern)
การเจริญเติบโต แบบ S - shaped
Lag phase
Log phase
Stationary
phase
การเจริญเติบโต แบบ J - shaped
ประชากรของกระต่ายสโนวชู (Hare) และ ประชากรของแมวป่า (Lynx)
ที่มา : Curtis and Barnes 1994
การเปลี่ยนแปลงเป็นจังหวะของประชากร (population fluctuation)
1 Tokyo, Japan 27,956,000 2 Mexico City, Mexico 27,872,000 3 São Paulo, Brazil 22,558,000 4
Bombay, India 18,142,000 5 Shanghai, China 17,407,000 6 New York City, U.S.A. 16,645,000 7
Beijing, China 14,366,000 8 Lagos, Nigeria 13,480,000 9 Jakarta, Indonesia 13,380,000 10 Los
Angeles, U.S.A. 13,151,000 11 Seoul, Korea 12,949,000 12 Buenos Aires, Argentina 12,822,000
13 Calcutta, India 12,675,000 14 Manila, Philippines 12,582,000 15 Tianjin, China 12,508,000
www.mapsofworld.com
Where People Live on Planet Earth
Each day a different image or photograph of our fascinating universe is featured, along
with a brief explanation written by a professional astronomer. 2003 March 5
antwrp.gsfc.nasa.gov
ความสัมพันธ์ของประชากร
- ช่วยป้องกันอันตราย
- มีโอกาสสืบพันธุ์ได้ดีขึ้น
- เกิดการจัดลาดับชั้นในสังคม
ผลดีของการรวมกลุ่มสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
- เกิดการแก่งแย่ง
- เกิดการแยกตัวและสร้างอาณาเขต
ผลเสีย
- ได้ประโยชน์ (+)
- เสียประโยชน์ (-)
- ไม่ได้ไม่เสียประโยชน์ (0)
การอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
- ปัจจัยต่างๆ เหลือเฟือ
Neutralism (0,0)
- ต้องการปัจจัยที่เหมือนกัน
Competition (- , -)
การแก่งแย่งระหว่างพารามีเซียม 2 ชนิด
การแก่งแย่งระหว่างเพรียง 2 ชนิด
- การเกิดขี้ปลาวาฬ (red tide)
- สารระเหยจากต้นสนยับยั้งพืชล้มลุก
- การยับยั้งแบคทีเรียโดยราบางชนิด
Amensalism (- , 0)
- กาฝากบนต้นมะม่วง
- พยาธิใบไม้ในตับคน
Parasitism (- , +)
ภาวะปรสิต ( parasitism )
web1.dara.ac.th
www.dfo-mpo.gc.ca
www.cals.ncsu.edu
ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล
Protocooperation (+ , +)
ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน ( Protocooperation )
web1.dara.ac.th
กล้วยไม้เกาะ
อยู่ตามต้นไม้
ใหญ่
Commensalism (+ , 0)
ภาวะอิงอาศัย,ภาวะเกื้อกูล ( Commensalism )
web1.dara.ac.th
มดกับต้น acacia
Mutualism (+ , +)
- การอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิต
ชนิดเดียวกัน
- การอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิต
ต่างชนิดกัน
ปัจจัยทางชีวภาพ(สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต)
ภาวะพึ่งพา ( Mutualism )
www.dimijianimages.com
Anabaena
azollae
Trichonympha
การล่าเหยื่อ ( Predation )
web1.dara.ac.th
www.futura-sciences.com
pages.prodigy.net
กระต่ายป่าถูกล่าโดย lynx
forums.gardenweb.com
ภาวะการย่อยสลาย
(Saprophytism)

More Related Content

What's hot

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศWan Kanlayarat
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมSawaluk Teasakul
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 

What's hot (20)

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 

ประชากร