SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Bacteri
a
Gram-Negative Bacilli
Oxidase
Family Enterobacteriaceae
• Enterobacteriaceae เป็นชื่อ วงศ์ (family) ของ แบคทีเรียกลุ่มแกรม
ลบ (Gram negative bacteria) ซึ่ง มีรูปร่างเป็นท่อน (rod shape) และ
เป็นพวก facultative anaerobe คือ เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจน
และไม่มีออกซิเจน ไม่สร้างสปอร์ ไม่ทนร้อน อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ
เคลื่อนที่ด้วยแฟลเจลลารอบเซลล์ (peritrichous flagella)
• แบคทีเรียวงศ์นี้พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ในดิน น้าและพืช
นอกจากนี้ยังพบเป็นแบคทีเรียประจาถิ่นในลาไส้ของคนและสัตว์ จึงมี
ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "Enteric bacilli หรือ enteric family
bacteria" และสามารถเพิ่มจานวนในอาหารได้ด้วย
Family Enterobacteriaceae
• กระบวนการเมแทบอลิซึม ของ
Enterobacteriaceae
กระบวนการเมแทบอลิซึม ของ
oxidation คือ เปลี่ยนสารประกอบคาร ์บอนให้ได้
และพลังงาน และการหมัก (fermentation)ซึ่งได้กรด
สามารถสร ้างกรดขึ้นจากการหมักนํ้าตาลกลูโคส
Catalaseได้ (catalase-positive) และสามารถ
เป็นไนไทรต์(nitrite)โดยอาศัยปฏิกิริยารีดักชัน
Family Enterobacteriaceae
• แบคทีเรียที่สาคัญในวงศ ์Enterobacteriaceae
แบคทีเรีย กลุ่มนี้เป็นได้ทั้งจุลินทรีย์ก่อโรคจริง (true
จุลินทรีย์ก่อโรคแบบฉวยโอกาส (opportunistic
อ่อนแอ จีนัสที่พบเป็นเชื้อก่อโรคจริง ได้แก่ Salmonella
Yersinia enterocolitica และบางสายพันธุ์ของ
เหล่านี้มักก่อโรคอาหารเป็นพิษ ในระบบทางเดินอาหาร มี
และบําไส้อักเสบ (gastroenteritis) โดยการกินอาหาร
ไป และกรณีการพบเป็นเชื้อก่อโรคแบบฉวยโอกาส พบ
นอกระบบทางเดินอาหาร และเป็นสาเหตุสําคัญส่วนใหญ่จะ
โรงพยาบาล โรคที่พบบ่อยที่สุด คือกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
แบคทีเรียวงศ์นี้เป็นสาเหตุของโรคนี้ถึงร ้อยละ 70 ของเชื้อ
เชื้อที่สำคัญของ
Enterobacteri
aceae
Escherichia
• อีโคไลมีชื่อเต็มๆว่า เอสเชอริเชีย โคไล (Escherichia coli)
• รูปร่างท่อนตรง สีแกรมลบ
• ไม่สร้างสปอร์
• ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้
Escherichia
• พบได้ตามปกติในระบบทางเดินอาหาร (Intestinal flora)
• ก่อโรคอุจจาระร่วง
• ถ้าพบในอาหาร น้าดื่ม หรือน้าใช้ บ่งชี้ว่า มีอุจาระปนเปื้อนแหล่งน้านั้น
• กระทรวงสาธารณสุข กาหนดให้น้าดื่มที่สะอาด ต้องไม่มี Faecal E.coli
• อีโคไลในลาไส้มีประโยชน์ต่อมนุษย์เพราะช่วยสร้างวิตามินเค
Salmonella
• แกรมลบ รูปแท่ง เคลื่อนที่ได้ด้วย peritrichous flagella
• การติดเชื้อแบคทีเรียนี้จะรียกว่า salmonellosis
Salmonella
• ติดได้ผ่านการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ เช่น เนื้อสัตว์ปีกดิบๆ ไข่ เนื้อวัว
และผัก ผลไม้ที่ไม่ได้ล้างทาความสะอาด
• ทาให้เกิดโรคในคน 3 แบบ ได้แก่
1.โรคไข้เอนเทอริค
2.โลหิตเป็นพิษ
3.กระเพาะหารและลาไส้เล็กอักเสบ หรือ อุจจาระร่วง
Shigella
• มีรูปร่างลักษณะคล้าย E.coli แต่ไม่มีแฟลกเจลลา สาหรับเคลื่อนที่
• ส่วนใหญ่ไม่สามารถเฟอร์เม็นต์น้าตาลแล๊คโตส
Shigella
• ก่อให้เกิดโรคบิด
เชื้อรุกรานเยื่อบุลําไส้ ก่อให้เกิดการอักเสบของลําไส้
ปวดเบ่งเวลาถ่าย คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ ถ่ายเหลวเป็ นมูกเลือด
• การรักษา
การให้นํ้าและสารเกลือแร่เพื่อชดเชย เป็ นสิ่งที่ควรให้
ที่สุด ยาปฏิชีวนะช่วยทําให้ระยะเวลาของการป่วยและ
การพบเชื้อในอุจจาระสั้นลง และควรเลือกใช ้เฉพาะรายเมื่อมี
เหตุผลสมควรในแง่ของความรุนแรงของการเจ็บป่วย หรือ
เพื่อป้ องกันผู้สัมผัส เช่น ในศูนย์รับเลี้ยงเด็กหรือสถาบันต่าง
Klebsiella
• มีแคปซูลหนา
• เคลื่อนที่ไม่ได้
• ลักษณะ colony
- colony ใหญ่ เยิ้ม (เพราะมีแคปซูล) และเหนียว
- เป็น lactose fermenter ให้ colony สีชมพูบน MacConkey agar
Klebsiella
• Klebsiella มี 3 species คือ
- K. pneumoniae
- K. Ozaenae
- K. rhinoscleromatis
• เชื้อ Klebsiella เป็ น opportunistic
ของ nasocomial infection ( การติดเชื้อใน
Klebsiella pneumoniae ซึ่งก่อให้เกิดโรคติดเชื้อในระบบ
ในโพรงจมูก และลําคอ และเป็ นสาเหตุของโรคปอดอักเสบ
• แหล่งที่พบเชื้อ
พบได้ในธรรมชาติ นํ้า ดิน และลําไส้ของคน และอาจพบได้
ขนม นํ้าแข็ง
Serratia
• จัดอยู่ในกลุ่มโคลิฟอร์ม (coliform)
• มีรูปร่างเป็นท่อน
• เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน
Serratia
• ไม่สร้างสปอร์ ไม่ทนร้อน
• อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella
• เป็นสาเหตุการเสื่อมเสียของอาหาร (microbial spoilage) หลายชนิด
เช่น การเสื่อมเสียของน้านม ทาให้น้านมเปลี่ยนเป็นสีแดง (red rod) และ
การเสื่อมเสียของเนื้อสัตว์
Proteus
• มีรูปร่างเป็นท่อน (rod)
• เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน
• อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella
Proteus
• พบที่ ลาไส้ของมนุษย์
• ก่อโรค ลาไส้อักเสบ กระเพาะอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ
• ทาให้อาหารเน่าเสีย (microbial spoilage) หลายชนิด
เช่น การเสื่อมเสียของไข่ ไข่ที่มีการปนเปื้อนโดย Proteus ทาให้เกิดการเน่า
ที่เรียกว่า black rot มีการผลิตและสะสมของแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) มีกลิ่น
เหม็นเน่าคล้ายอุจจาระ เนื่องจากการย่อยสลายของโปรตีนในไข่ โดยเกิดกับกรดแอมิ
โน (amino acid) ที่มีซัลเฟอร์อยู่ในโมเลกุล (sulfur-containing amino acid) เช่น
cysteine แก๊สที่เกิดขึ้นอาจทาให้ไข่ระเบิดได้
Yersinia
• ไม่สร้างสปอร์
• รูปร่างติดสีกรัมไม่แน่นอน อาจเป็นรูป rod shape (หัวท้ายมน) หรือ coccoid
shape (รูปร่างกลม)
• แหล่งที่พบเชื้อ
- พบในสัตว์ต่างๆ เช่น หมู สุนัข
- พบในแหล่งน้า เช่น ห้วย หนอง บึง ทะเลสาบ
- พบเชื้อได้ในเนื้อสัตว์ น้านมดิบ อาหารดิบ ที่เตรียมไม่สะอาด
Yersinia
ได้มีการแบ่ง Genus Yersinia ได้แก่
• Y. pestis เช่น กาฬโรค จะมีอาการรุนแรงและอาจเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
• Y. pseudotuberculosis และ Y. enterocolitica เช่น ลาไส้อักเสบ (enteritis) รวม
ไปถึงภาวะต่อมน้าเหลือง ในช่องท้องอักเสบ (mesenteric lymphadenitis)
Enterobacter
• เป็นแบคทีเรียที่อยู่ในวงศ์ Enteroacteriaceae
• เป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria)
• มีรูปร่างเป็นท่อน
• เป็นแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์ม (Coliform)
• เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน
• อาจไม่เคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella
• สร้างแคปซูล ทาให้เกิดเมือก (slime former) ในอาหาร
จัดทาโดย
นายสุทธิชาติ แก้วบุตร เลขที่ 81
นางสาวสุธิดา อุคา เลขที่ 82
นางสาวสุธิตา สุวรรณนีย์ เลขที่ 83
นางสาวสุธิมา ทริดสังข์ เลขที่ 84
นางสาวสุพรรณสิริ ศรีทับทิม เลขที่ 85
นักศึกษา ปวส.เวชระเบียน ชั้นปีที่ 2

More Related Content

What's hot

อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
พัน พัน
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
พัน พัน
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
supreechafkk
 

What's hot (20)

โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
 
Gram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positiveGram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positive
 
Bacillus anthracis
Bacillus anthracis Bacillus anthracis
Bacillus anthracis
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
Bacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive CocciBacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive Cocci
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
fungi
fungifungi
fungi
 
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อ
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บหลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
หลักพยาธิบ.2การบาดบาดเจ็บ
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Gram negative cocci
Gram negative cocciGram negative cocci
Gram negative cocci
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 

Similar to Bacteria Gram-Negative Bacilli Oxidase -

ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
ssusera700ad
 

Similar to Bacteria Gram-Negative Bacilli Oxidase - (6)

ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Gram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positiveGram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positive
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilli
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Bacterial
BacterialBacterial
Bacterial
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 

Bacteria Gram-Negative Bacilli Oxidase -

  • 2. Family Enterobacteriaceae • Enterobacteriaceae เป็นชื่อ วงศ์ (family) ของ แบคทีเรียกลุ่มแกรม ลบ (Gram negative bacteria) ซึ่ง มีรูปร่างเป็นท่อน (rod shape) และ เป็นพวก facultative anaerobe คือ เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจน และไม่มีออกซิเจน ไม่สร้างสปอร์ ไม่ทนร้อน อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วยแฟลเจลลารอบเซลล์ (peritrichous flagella) • แบคทีเรียวงศ์นี้พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ในดิน น้าและพืช นอกจากนี้ยังพบเป็นแบคทีเรียประจาถิ่นในลาไส้ของคนและสัตว์ จึงมี ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "Enteric bacilli หรือ enteric family bacteria" และสามารถเพิ่มจานวนในอาหารได้ด้วย
  • 3. Family Enterobacteriaceae • กระบวนการเมแทบอลิซึม ของ Enterobacteriaceae กระบวนการเมแทบอลิซึม ของ oxidation คือ เปลี่ยนสารประกอบคาร ์บอนให้ได้ และพลังงาน และการหมัก (fermentation)ซึ่งได้กรด สามารถสร ้างกรดขึ้นจากการหมักนํ้าตาลกลูโคส Catalaseได้ (catalase-positive) และสามารถ เป็นไนไทรต์(nitrite)โดยอาศัยปฏิกิริยารีดักชัน
  • 4. Family Enterobacteriaceae • แบคทีเรียที่สาคัญในวงศ ์Enterobacteriaceae แบคทีเรีย กลุ่มนี้เป็นได้ทั้งจุลินทรีย์ก่อโรคจริง (true จุลินทรีย์ก่อโรคแบบฉวยโอกาส (opportunistic อ่อนแอ จีนัสที่พบเป็นเชื้อก่อโรคจริง ได้แก่ Salmonella Yersinia enterocolitica และบางสายพันธุ์ของ เหล่านี้มักก่อโรคอาหารเป็นพิษ ในระบบทางเดินอาหาร มี และบําไส้อักเสบ (gastroenteritis) โดยการกินอาหาร ไป และกรณีการพบเป็นเชื้อก่อโรคแบบฉวยโอกาส พบ นอกระบบทางเดินอาหาร และเป็นสาเหตุสําคัญส่วนใหญ่จะ โรงพยาบาล โรคที่พบบ่อยที่สุด คือกระเพาะปัสสาวะอักเสบ แบคทีเรียวงศ์นี้เป็นสาเหตุของโรคนี้ถึงร ้อยละ 70 ของเชื้อ
  • 6. Escherichia • อีโคไลมีชื่อเต็มๆว่า เอสเชอริเชีย โคไล (Escherichia coli) • รูปร่างท่อนตรง สีแกรมลบ • ไม่สร้างสปอร์ • ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้
  • 7. Escherichia • พบได้ตามปกติในระบบทางเดินอาหาร (Intestinal flora) • ก่อโรคอุจจาระร่วง • ถ้าพบในอาหาร น้าดื่ม หรือน้าใช้ บ่งชี้ว่า มีอุจาระปนเปื้อนแหล่งน้านั้น • กระทรวงสาธารณสุข กาหนดให้น้าดื่มที่สะอาด ต้องไม่มี Faecal E.coli • อีโคไลในลาไส้มีประโยชน์ต่อมนุษย์เพราะช่วยสร้างวิตามินเค
  • 8. Salmonella • แกรมลบ รูปแท่ง เคลื่อนที่ได้ด้วย peritrichous flagella • การติดเชื้อแบคทีเรียนี้จะรียกว่า salmonellosis
  • 9. Salmonella • ติดได้ผ่านการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ เช่น เนื้อสัตว์ปีกดิบๆ ไข่ เนื้อวัว และผัก ผลไม้ที่ไม่ได้ล้างทาความสะอาด • ทาให้เกิดโรคในคน 3 แบบ ได้แก่ 1.โรคไข้เอนเทอริค 2.โลหิตเป็นพิษ 3.กระเพาะหารและลาไส้เล็กอักเสบ หรือ อุจจาระร่วง
  • 10. Shigella • มีรูปร่างลักษณะคล้าย E.coli แต่ไม่มีแฟลกเจลลา สาหรับเคลื่อนที่ • ส่วนใหญ่ไม่สามารถเฟอร์เม็นต์น้าตาลแล๊คโตส
  • 11. Shigella • ก่อให้เกิดโรคบิด เชื้อรุกรานเยื่อบุลําไส้ ก่อให้เกิดการอักเสบของลําไส้ ปวดเบ่งเวลาถ่าย คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ ถ่ายเหลวเป็ นมูกเลือด • การรักษา การให้นํ้าและสารเกลือแร่เพื่อชดเชย เป็ นสิ่งที่ควรให้ ที่สุด ยาปฏิชีวนะช่วยทําให้ระยะเวลาของการป่วยและ การพบเชื้อในอุจจาระสั้นลง และควรเลือกใช ้เฉพาะรายเมื่อมี เหตุผลสมควรในแง่ของความรุนแรงของการเจ็บป่วย หรือ เพื่อป้ องกันผู้สัมผัส เช่น ในศูนย์รับเลี้ยงเด็กหรือสถาบันต่าง
  • 12. Klebsiella • มีแคปซูลหนา • เคลื่อนที่ไม่ได้ • ลักษณะ colony - colony ใหญ่ เยิ้ม (เพราะมีแคปซูล) และเหนียว - เป็น lactose fermenter ให้ colony สีชมพูบน MacConkey agar
  • 13. Klebsiella • Klebsiella มี 3 species คือ - K. pneumoniae - K. Ozaenae - K. rhinoscleromatis • เชื้อ Klebsiella เป็ น opportunistic ของ nasocomial infection ( การติดเชื้อใน Klebsiella pneumoniae ซึ่งก่อให้เกิดโรคติดเชื้อในระบบ ในโพรงจมูก และลําคอ และเป็ นสาเหตุของโรคปอดอักเสบ • แหล่งที่พบเชื้อ พบได้ในธรรมชาติ นํ้า ดิน และลําไส้ของคน และอาจพบได้ ขนม นํ้าแข็ง
  • 14. Serratia • จัดอยู่ในกลุ่มโคลิฟอร์ม (coliform) • มีรูปร่างเป็นท่อน • เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน
  • 15. Serratia • ไม่สร้างสปอร์ ไม่ทนร้อน • อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella • เป็นสาเหตุการเสื่อมเสียของอาหาร (microbial spoilage) หลายชนิด เช่น การเสื่อมเสียของน้านม ทาให้น้านมเปลี่ยนเป็นสีแดง (red rod) และ การเสื่อมเสียของเนื้อสัตว์
  • 16. Proteus • มีรูปร่างเป็นท่อน (rod) • เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน • อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella
  • 17. Proteus • พบที่ ลาไส้ของมนุษย์ • ก่อโรค ลาไส้อักเสบ กระเพาะอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ • ทาให้อาหารเน่าเสีย (microbial spoilage) หลายชนิด เช่น การเสื่อมเสียของไข่ ไข่ที่มีการปนเปื้อนโดย Proteus ทาให้เกิดการเน่า ที่เรียกว่า black rot มีการผลิตและสะสมของแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) มีกลิ่น เหม็นเน่าคล้ายอุจจาระ เนื่องจากการย่อยสลายของโปรตีนในไข่ โดยเกิดกับกรดแอมิ โน (amino acid) ที่มีซัลเฟอร์อยู่ในโมเลกุล (sulfur-containing amino acid) เช่น cysteine แก๊สที่เกิดขึ้นอาจทาให้ไข่ระเบิดได้
  • 18. Yersinia • ไม่สร้างสปอร์ • รูปร่างติดสีกรัมไม่แน่นอน อาจเป็นรูป rod shape (หัวท้ายมน) หรือ coccoid shape (รูปร่างกลม) • แหล่งที่พบเชื้อ - พบในสัตว์ต่างๆ เช่น หมู สุนัข - พบในแหล่งน้า เช่น ห้วย หนอง บึง ทะเลสาบ - พบเชื้อได้ในเนื้อสัตว์ น้านมดิบ อาหารดิบ ที่เตรียมไม่สะอาด
  • 19. Yersinia ได้มีการแบ่ง Genus Yersinia ได้แก่ • Y. pestis เช่น กาฬโรค จะมีอาการรุนแรงและอาจเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว • Y. pseudotuberculosis และ Y. enterocolitica เช่น ลาไส้อักเสบ (enteritis) รวม ไปถึงภาวะต่อมน้าเหลือง ในช่องท้องอักเสบ (mesenteric lymphadenitis)
  • 20. Enterobacter • เป็นแบคทีเรียที่อยู่ในวงศ์ Enteroacteriaceae • เป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria) • มีรูปร่างเป็นท่อน • เป็นแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์ม (Coliform) • เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน • อาจไม่เคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella • สร้างแคปซูล ทาให้เกิดเมือก (slime former) ในอาหาร
  • 21. จัดทาโดย นายสุทธิชาติ แก้วบุตร เลขที่ 81 นางสาวสุธิดา อุคา เลขที่ 82 นางสาวสุธิตา สุวรรณนีย์ เลขที่ 83 นางสาวสุธิมา ทริดสังข์ เลขที่ 84 นางสาวสุพรรณสิริ ศรีทับทิม เลขที่ 85 นักศึกษา ปวส.เวชระเบียน ชั้นปีที่ 2