SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
1-5 Work and Energy
             งานและพลังงาน

                 Slide นี้จัดทำาตามเนือหาของ
                                      ้
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม ๑ ของ
                  สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
 เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสังคมโดยไม่หวังผลกำาไรหรือประโยชน์
                        ทางการค้าใดๆ
สำาหรับคุณครูใช้สอนศิษย์ และสำาหรับนักเรียนใช้อานประกอบการ
                                                1่
                              เรียน
เนื้อหา
• งาน (Work)
• กำาลัง (Power)
• พลังงาน (Energy)
• กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
• การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
• กฎสากลของการอนุรักษ์พลังงาน
• เครื่องกล (Machine)

                                2
งาน (Work)
• คำาว่างานในความหมายทั่วไป ถ้าพูดว่าทำางาน
  หมายความว่า มีผู้ทำางาน มีการกระทำาและมีผล
  งานเกิดขึ้น
• ในทางฟิสกส์ เราถือว่าจะเกิดงานขึ้นก็ต่อเมื่อมี
            ิ
  แรงมากระทำากับวัตถุและมีการเคลื่อนที่ของวัตถุ
       F
  ไปทิศทางเดียวกับทิศของแรง
                          s




                                    3
การคำานวนหางาน
• งานเท่ากับผลคูณของแรงที่กระทำากับระยะทาง
       F

                           s


                                      W =FS
• งานมีหน่วยเป็น newton meter , N m
  หน่วยนีมีชื่อเรียกว่า จูล (Joule,J)
         ้
• งาน 1 จูล คืองานที่ได้จากแรงขนาด 1 นิวตัน
  กระทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปเป็นระยะทาง 1 เมตร
                                      4
กรณีที่ทิศทางของแรงที่กระทำาไม่อยูในแนว
                                  ่
           เดียวกับการเคลื่อนที่




• แตกแรงออกเป็นแรงองค์ประกอบที่ไปในทิศทางเดียวกับการ
  เคลื่อนทีและแรงองค์ประกอบที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่
           ่
• แรงองค์ประกอบที่ไปในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ทำาให้เกิด
  งาน
• แรงองค์ประกอบที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ไม่ทำาให้เกิด
  งานเนื่องจากไม่มีการเคลือนที่ในทิศดังกล่าว 5
                          ่
ตัว อย่า ง 5.1 ออกแรง 100 N ลากกล่องในแนวทำามุม
37 องศา กับแนวระดับ ถ้าลากกล่องไปได้ไกล 10 เมตร
งานของแรงทีใช้ลากกล่องเป็นเท่าไร
              ่




                                    6
คิดแบบ Vector
• ให้ F เป็น เวกเตอร์ของแรง
• s เป็นเวกเตอร์ของการขจัด
• เป็นมุมระหว่าง เววกเตอร์ทั้งสอง
• งานที่เกิดขึ้นเท่ากับผลคูณสเกลาร์ (scalar
  product or dot product) ระหว่าง เวก
  เตอร์ของแรง กับ เวกเตอร์ของการขจัด



                                    7
F

                 s




    W =F . S

      = Fscos0

      = Fs

                     8
วัตถุมวล m ตกอย่างอิสระเป็นระยะทาง s เกิดงานขึ้น
เท่าไร ใครเป็นคนทำางาน
                     กรณีการตกอย่างอิสระ แรงที่มา
                     กระทำาคือแรงโน้มถ่วงของโลก วัตถุจะ
                     ตกด้วยความเร่ง g
                            W=mg



   s




                                        9
หย่อนวัตถุมวล m ทีแขวนอยูลงไปด้วยความเร็วคงทีเป็น
                  ่       ่                  ่
ระยะทาง s เกิดงานขึ้นเท่าไร
                      หย่อนด้วยความเร็วคงที่ คนหย่อยต้อง
                      ออกแรง F ที่มีขนาดเท่ากับนำ้าหนัก
                      ของมวล m นั่นคือ F=mg
                      แต่ในกรณีนี้เวกเตอร์ของแรงกับเวก
                      เตอร์ของการขจัดทำามุม 180 องศา


   s




                                       10
งานที่เป็นลบ
• คืองานที่แรงที่มากระทำามีทิศทางตรงกันข้ามกับ
  การเคลื่อนที่ของวัตถุ
• เวกเตอร์ของแรง ทำามุม 180 องศากับเวกเตอร์
  ของการขจัด




                                   11
งานกับกราฟระหว่างแรงกับระยะ
                ทาง
แรง (N)          •ออกแรงคงตัวขนาด F ทำาให้วัตถุ
                 มีการกระจัด s
 F
                 •ถ้าเขียนกราฟระหว่างแรงกับการกร
                 พืนทีใต้กราฟมีค่าเท่ากับงาน
                   ้ ่

          W=Fs

                 s   ระยะทาง (m)



                                   12
ถ้าแรงไม่คงตัว แต่มีขนาดเพิ่มขึ้น
          อย่ออกแรงที่มขนาดเพิ่มขึ้นสมำ่าเสมอ
           •างสมำ่าเสมอี
แรง (N)        จาก 0 ถึง F ทำาให้วัตถุมการกระจัด s
                                          ี
               •ถ้าเขียนกราฟระหว่างแรงกับการกระจัด
 F
               พื้นที่ใต้กราฟมีค่าเท่ากับงาน
               แรงที่นำามาคิดเป็นแรงเฉลี่ย

               W = (F+0) .s
                       2

                   s    ระยะทาง (m)



                                      13
ถ้าแรงทีกระทำามีขนาดไม่สมำ่าเสมอ ต้อง
            ่
               ใช้แคลคูลสช่วย
                        ั
                   •แรงไม่คงตัวทำาให้วัตถุเคลือนที่ไปเป็นระยะ
                                              ่
F (N)              •ขนาดของงานคือพื้นที่ใต้กราฟ
                   •แบ่งพื้นที่ใต้กราฟออกเป็นสี่เหลียมผืนผ้าเล
                                                    ่
                   มีช่วงกว้าง s ที่เล็กพอที่จะกว่าวได้ว่าแรง
                   มีขนาดคงตัวตลอดช่วง s


                     ถ้ารวมงานแต่ละช่วงแคบๆ จาก i=0 ถึง i=n
                     ก็จะได้งานทั้งหมด
                  sf S(m)




                                        14
ารู้ว่า แรง F มีการเปลี่ยนแปลงเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่ง s อย่างไร
ค่าในสมการ แล้วอินติเกรตเพือรวมงานทีแรง F ทำาในช่วงจาก 0 ถ
                             ่            ่

นกรณีททศทางของแรงและทิศของการกระจัดเปลี่ยนแปลงด้วยกัน
       ี่ ิ
ละทิศของแรงไม่ขนานกับทิศของการกระจัดเสมอไป ต้องนำาความร
กเตอร์มาใช้ จะต้องเปลี่ยนจากการคูณธรรมดาเป็นการคูณแบบสเก




                                              15
กำาลัง (Power)
•   กำาลัง คือ งานทีทำาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
                     ่
•   คืออัตราการทำางาน ใช้สญลักษณ์ P P =
                            ั
                                                W
•   หน่วยเป็น จูล /วิน าที หรือ วัต ต์ ( Watt : Wt )
                   W
•   กำาลังทีคิดจาก
            ่   P=
                   t              เป็นค่าของกำาลังเฉลี่ย

• กำาลังในขณะใดขณะหนึงหาได้จาก
                     ่
    – ในช่วงเวลาสัน dt
                dW้       ทำางานได้ dw
            P=
    – Power       dt
                uu  v
            P=   นั้ d v
                F .นคือกำาลังทีขณะใดๆ เท่ากับผลคูณสเกลาร์ข
                       s       ่
                 เวกเตอร์ของแรงกับเวกเตอร์ของความเร็ว
                dt
                uv v
            P = F .v
                                            16
กำาลังม้า (Housepower ,hp)
• หน่วยของกำาลังที่ยังคงนิยมใช้อีกหน่วยหนึงก็่
  คือ กำาลังม้า , hp
• 1 hp = 745.7 watt
• รถกะบะยี่ห้อเสือสำาออย เครื่องยนต์มีกำาลัง 150
  แรงม้า หมายความว่าอย่างไร
• หมายความว่าใน 1 วินาที เครื่องยนต์จะ
  สามารถทำางานได้ 150 x 746 จูล


                                    17
พลังงาน (Energy)
• เราไม่สามารถเห็นหรือจับต้องพลังงานได้
• แต่เราสามารถรับรู้ผลการกระทำาของพลังงาน
  ได้
• พลังงานปรากฎอยู่ในหลายรูปแบบ เช่น
  พลังงานไฟฟ้า พลังงานเคมี พลังงานความร้อน
  พลังงานแสง รังสีเอกซ์หรือแม้แต่พลังงาน
  นิวเคลียร์
• เป็นการดีกว่าที่จะไม่พยายามพูดว่าพลังงานคือ
  อะไรด้วยประโยคสันๆ แต่ถ้าเข้าใจชนิดต่างๆ
                     ้
  ของพลังงานและขอบเขตที่เกี่ยวข้อง ก็เท่ากับมี
                                   18
พลังงานกล (Mechanical
             Energy)
• มีสองรูปแบบที่ต่างกันชัดเจนได้แก่
  – พลังงานจลน์ (Kinetic energy)
  – พลังงานศักย์ (Potential energy)
• พลังงานจลน์ (Kinetic energy) วัตถุที่
  เคลื่อนที่มีพลังงานจลน์ วัตถุที่อยู่นิ่งไม่มี
  พลังงานจลน์
• พลังงานศักย์ (Potential energy) ขึ้นอยู่กับ
  ตำาแหน่งของวัตถุ
                                      19
พลังงานจลน์ (Kinetic energy)
• พลังงานจลน์ไม่ขึ้นอยู่กบทิศทางของการเคลื่อนที่ แต่
                          ั
  ขึ้นอยูกับขนาดของความเร็วยกกำาลังสอง
         ่
• พลังงานจลน์เป็นปริมาณสเกลาร์
• วัตถุมวล m เคลื่อนทีดวยความเร็ว v จะมีพลังงานจลน์
                      ่ ้               E 2
                                            1
                                           = mv
                                             k
                                                  2



  Ek
•   หน่วยของพลังงานจลน์คือ Kg m2 /s2
•   แต่ Kg m /s2 คือหน่วยของ N
•   ดังนั้น Kg m2 /s2 = N m = J
•   นั่นคือหน่วยของพลังงานมีหน่วยเป็นจูล เช่นเดียวกับ
    หน่วยของงาน                           20
พลังงานศักย์ (Potential energy)
• ในที่นี้จะศึกษาเพียงสองแบบคือ
  – พลังงานศักย์โน้มถ่วง (gravitational potential
    energy)
  – พลังงานศักย์ยดหยุน (elastic potential energy)
                 ื    ่




                                    21
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
     (gravitational potential
             energy)
• ในการยกวัตถุมวล m ให้สงขึ้น h ในแนวดิ่ง
                           ู
  ด้วยความเร็วคงที่ ต้องออกแรง F ที่มีขนาด
  เท่ากับนำ้าหนักของวัตถุ mg จึงจะยกขึ้นได้
• ในการยกนี้จะทำางานเท่ากับ mgh
• งานปริมาณนี้เป็นงานจากแรงภายนอกที่
  เอาชนะแรงของสนามโน้มถ่วง
• ให้ Ep แทนพลังงานศักย์โน้มถ่วง
• พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุมวล m อยู่สูงจาก
  พื้น h มีค่าเท่ากับ             22
ตัวอย่าง 5.4 วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยู่บนโต๊ะที่สูงจากพืนห้อง
                                                             ้
   1 เมตร ถ้ายกวัตถุนไปวางบนชั้นซึ่งสูงจากพื้นห้อง 3 เมตร จงคำา
                       ี้
   นวนหางานที่ใช้ในการยกและหาพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุที่
   สูงขั้น ถ้าเส้นทางการยกเป็นดังภาพ



                          3m

        1m




งงานศักย์ทเพิ่มขึ้น
          ี่         = mgh2-mgh1
                =20x10x(3-1)
                = 400 J
                = งานทีใช้ในการยก
                       ่
                                                   23
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น (elastic
                potential energy)
                                   F




ปริงให้ยืดออกจะมีความรู้สึกว่ามีแรงที่สปริงพยายามดึงมือกลับ
 วกับการอัดสปริงจะรู้สึกว่าสปริงดันมือออก
 รงกิริยาและแรงปฏิกริยาตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตันนั้นเอง
                     ิ
นที่สะสมอยู่ในตัวสปริงขณะที่มีการยืดออกหรือหดเข้าจากตำาแหน่งสมดุลเรียกว
นศัก ย์ย ืด หยุ่น
ช้ดึงหรือกดสปริงมีความสัมพันธ์กบระยะทางที่สปริงยืดหรือหด
                                 ั
   F = kx
นค่าคงตัวสปริง (spring constant)
                                                   24
•ดึงสปริงให้ยืดออกเป็น
              ระยะ x
              •ถ้าเขียนกราฟระหว่าง
แรง (N)       แรงกับการกระจัด
              พืนทีใต้กราฟมีค่าเท่ากับ
                ้ ่
 F            งาน
              แรงทีนำามาคิดเป็นแรง
                     ่
              เฉลี่ย
              W = (F+0) .s /2
                แต่ F = kx
          x    ระยะทาง /2 =kx
              W = (kx+0) .x(m) 2/2




                              25
กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
• พลังงานกลรวมของวัตถุจะไม่สูญหาย แต่อาจเปลี่ยน
  จากรูปหนึงไปเป็นอีกรูปหนึงได้
           ่               ่
• พลังงานกลคือพลังงานศักย์และพลังงานจลน์
                  1
                    mu 2 + mgyi
                  2


                  1 2
                    mv + mgy f
                  2


                                     26
สนามอนุรักษ์
• การเคลื่อนที่แบบเสรีของวัตถุภายใต้สนามโน้ม
  ถ่วงของโลกโดยไม่มีแรงภายนอกมากระทำา
  พลังงานกลของวัตถุ ณ ตำาแหน่งใดก็ตาม ย่อมมี
  ค่าคงเดิมเสมอ
• เมื่อวัตถุตกลงพลังงานศักย์โน้มถ่วงจะลดลง
  ค่าที่ลดลงจะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ที่เพิ่มขึ้น
  ทุกขณะ
• สนามเช่นสนามโน้มถ่วงนี้นบเป็นสนามอนุรักษ์
                             ั
  คือเป็นสนามที่ทำาให้พลังงานกลรวมอนุรักษ์
• แรงโน้มถ่วงนับเป็นแรงอนุรักษ์
• แรงของสปริงเฉพาะสปริงที่มีคณภาพ มีการสูฐ
                                ุ    27
การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงาน
              กล
• ตัวอย่าง 5.7 ก้อนหินมีมวล 2 กิโลกรัม ตกจาก
  หน้าผาสูง 40 เมตรจากระดับพื้นดิน ซึ่งคิดว่า
  เป็นระดับที่พลังงานศักย์เป็น 0 จงหาว่า
  – ก. ก้อนหินมีพลังงานศักย์เท่าไรเมืออยูบนหน้าผา
                                     ่   ่
  – ข. เมื่อก้อนหินหล่นมาได้ระยะทาง 10 เมตร ก้อน
    หินจะมีพลังต่างศักย์ พลังงานจลน์และพลังงานกล
    เท่าใด
  – ค. เมือถึงพืนดินก้อนหินมีพลังงานศักย์เท่าไร
          ่     ้
    พลังงานจลน์ขณะจะกระทบพืนมีค่าเท่าไร
                                 ้
                                      28
.8 นำ้าตกจากหน้าผาสูง 100 เมตร ตกลงมาด้วยความเร็วต้น 5 เม
ร็วของนำ้าตอนจะกระทบพื้นล่าง
านกลของนำ้าขณะอยู่บนหน้าผา = พลังงานกลของนำ้าขณะจะถึงพ
           ½ mu2 +mgh = ½ mv2 +mg(0)
               u2 +2gh = v2
  (5 m/s)2 +2x9.8 m/s2 x100 m = v     2


                   v = 44.6 m/s




                                          29
ตัว อย่า ง 5.9 หาอัตราเร็วของวัตถุทตำาแหน่งต่างๆที่
                                   ี่
เคลื่อนทีแบบวงกลมในระนาบดิ่ง
         ่




                                          30
กฎสากลของการอนุรักษ์พลังงาน
• พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล
  พลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานเสียง
  เป็นต้น
• พลังงานเป็นปริมาณที่ไม่สญหาย แต่อาจจะ
                             ู
  เปลี่ยนรูปได้หรือเคลื่อนย้ายได้โดยปริมาณ
  ทั้งหมดของพลังงานต้องคงเดิม



                                 31
เครื่องกล (Machines)
• ได้แก่อุปกรณ์ที่ชวยให้การทำางานสะดวกขึ้น
                    ่
  หรือง่ายขึ้น ช่วยผ่อนแรง หรือสามารถยกของ
  หนักดดยใช้แรงน้อยๆได้
• เครื่องกลอย่างง่ายได้แก่ คาน ลิ่ม รอก พื้นเอียง
  สกรู และล้อกับเพลา
• เครื่องกลไม่ช่วยให้เราทำางานได้มากกว่างานที่
  เราทำาให้กับเครื่องกล
งานที่ทำาโดยแรงที่ให้กับเครื่องกล = งานที่ได้รับ
  จากเครื่องกล
                                     32
                        + งานที่สญเสียไปกับ
                                   ู

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงPumPui Oranuch
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันอัครพงษ์ เทเวลา
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 

What's hot (20)

บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
7 1
7 17 1
7 1
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 

Viewers also liked

งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานMayy' Jittinan
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10
Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10
Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10Galen West
 
work and energy
work and energy work and energy
work and energy Rks Ptl
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มPornsak Tongma
 
AP Physics - Chapter 6 Powerpoint
AP Physics - Chapter 6 PowerpointAP Physics - Chapter 6 Powerpoint
AP Physics - Chapter 6 PowerpointMrreynon
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
Chapter 6 Work Energy Power
Chapter 6 Work Energy PowerChapter 6 Work Energy Power
Chapter 6 Work Energy Powermoths
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายkrupornpana55
 
Simple Machines Presentation
Simple Machines PresentationSimple Machines Presentation
Simple Machines Presentationmar_yoom
 
Colonial operation on Robinson Crusoe
Colonial operation on Robinson CrusoeColonial operation on Robinson Crusoe
Colonial operation on Robinson Crusoebhavnabaraiya
 
Strategies to Fuel the Energy Workforce
Strategies to Fuel the Energy WorkforceStrategies to Fuel the Energy Workforce
Strategies to Fuel the Energy WorkforceEric Wilkinson
 

Viewers also liked (20)

งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
Work and energy
Work and energyWork and energy
Work and energy
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
Work and energy
Work and energyWork and energy
Work and energy
 
Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10
Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10
Energy, Work, and Simple Machines - Chapter 10
 
Work Energy And Power
Work  Energy And PowerWork  Energy And Power
Work Energy And Power
 
work and energy
work and energy work and energy
work and energy
 
Work & Energy
Work & EnergyWork & Energy
Work & Energy
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
AP Physics - Chapter 6 Powerpoint
AP Physics - Chapter 6 PowerpointAP Physics - Chapter 6 Powerpoint
AP Physics - Chapter 6 Powerpoint
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
Chapter 6 Work Energy Power
Chapter 6 Work Energy PowerChapter 6 Work Energy Power
Chapter 6 Work Energy Power
 
Chapter 6 Work And Energy
Chapter 6 Work And EnergyChapter 6 Work And Energy
Chapter 6 Work And Energy
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
Simple Machines Presentation
Simple Machines PresentationSimple Machines Presentation
Simple Machines Presentation
 
Colonial operation on Robinson Crusoe
Colonial operation on Robinson CrusoeColonial operation on Robinson Crusoe
Colonial operation on Robinson Crusoe
 
Strategies to Fuel the Energy Workforce
Strategies to Fuel the Energy WorkforceStrategies to Fuel the Energy Workforce
Strategies to Fuel the Energy Workforce
 

Similar to 1 5 work and energy

สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกลaoffiz
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่piyawanrat2534
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfsensei48
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
Content work
Content workContent work
Content workjirupi
 
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะแรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะNuttakritsomdock
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาnang_phy29
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 

Similar to 1 5 work and energy (18)

สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
Content work
Content workContent work
Content work
 
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะแรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
 
3
33
3
 
3
33
3
 
Lesson05
Lesson05Lesson05
Lesson05
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 

1 5 work and energy

  • 1. 1-5 Work and Energy งานและพลังงาน Slide นี้จัดทำาตามเนือหาของ ้ หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม ๑ ของ สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ เผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสังคมโดยไม่หวังผลกำาไรหรือประโยชน์ ทางการค้าใดๆ สำาหรับคุณครูใช้สอนศิษย์ และสำาหรับนักเรียนใช้อานประกอบการ 1่ เรียน
  • 2. เนื้อหา • งาน (Work) • กำาลัง (Power) • พลังงาน (Energy) • กฎการอนุรักษ์พลังงานกล • การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล • กฎสากลของการอนุรักษ์พลังงาน • เครื่องกล (Machine) 2
  • 3. งาน (Work) • คำาว่างานในความหมายทั่วไป ถ้าพูดว่าทำางาน หมายความว่า มีผู้ทำางาน มีการกระทำาและมีผล งานเกิดขึ้น • ในทางฟิสกส์ เราถือว่าจะเกิดงานขึ้นก็ต่อเมื่อมี ิ แรงมากระทำากับวัตถุและมีการเคลื่อนที่ของวัตถุ F ไปทิศทางเดียวกับทิศของแรง s 3
  • 4. การคำานวนหางาน • งานเท่ากับผลคูณของแรงที่กระทำากับระยะทาง F s W =FS • งานมีหน่วยเป็น newton meter , N m หน่วยนีมีชื่อเรียกว่า จูล (Joule,J) ้ • งาน 1 จูล คืองานที่ได้จากแรงขนาด 1 นิวตัน กระทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปเป็นระยะทาง 1 เมตร 4
  • 5. กรณีที่ทิศทางของแรงที่กระทำาไม่อยูในแนว ่ เดียวกับการเคลื่อนที่ • แตกแรงออกเป็นแรงองค์ประกอบที่ไปในทิศทางเดียวกับการ เคลื่อนทีและแรงองค์ประกอบที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ ่ • แรงองค์ประกอบที่ไปในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ทำาให้เกิด งาน • แรงองค์ประกอบที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ไม่ทำาให้เกิด งานเนื่องจากไม่มีการเคลือนที่ในทิศดังกล่าว 5 ่
  • 6. ตัว อย่า ง 5.1 ออกแรง 100 N ลากกล่องในแนวทำามุม 37 องศา กับแนวระดับ ถ้าลากกล่องไปได้ไกล 10 เมตร งานของแรงทีใช้ลากกล่องเป็นเท่าไร ่ 6
  • 7. คิดแบบ Vector • ให้ F เป็น เวกเตอร์ของแรง • s เป็นเวกเตอร์ของการขจัด • เป็นมุมระหว่าง เววกเตอร์ทั้งสอง • งานที่เกิดขึ้นเท่ากับผลคูณสเกลาร์ (scalar product or dot product) ระหว่าง เวก เตอร์ของแรง กับ เวกเตอร์ของการขจัด 7
  • 8. F s W =F . S = Fscos0 = Fs 8
  • 9. วัตถุมวล m ตกอย่างอิสระเป็นระยะทาง s เกิดงานขึ้น เท่าไร ใครเป็นคนทำางาน กรณีการตกอย่างอิสระ แรงที่มา กระทำาคือแรงโน้มถ่วงของโลก วัตถุจะ ตกด้วยความเร่ง g W=mg s 9
  • 10. หย่อนวัตถุมวล m ทีแขวนอยูลงไปด้วยความเร็วคงทีเป็น ่ ่ ่ ระยะทาง s เกิดงานขึ้นเท่าไร หย่อนด้วยความเร็วคงที่ คนหย่อยต้อง ออกแรง F ที่มีขนาดเท่ากับนำ้าหนัก ของมวล m นั่นคือ F=mg แต่ในกรณีนี้เวกเตอร์ของแรงกับเวก เตอร์ของการขจัดทำามุม 180 องศา s 10
  • 11. งานที่เป็นลบ • คืองานที่แรงที่มากระทำามีทิศทางตรงกันข้ามกับ การเคลื่อนที่ของวัตถุ • เวกเตอร์ของแรง ทำามุม 180 องศากับเวกเตอร์ ของการขจัด 11
  • 12. งานกับกราฟระหว่างแรงกับระยะ ทาง แรง (N) •ออกแรงคงตัวขนาด F ทำาให้วัตถุ มีการกระจัด s F •ถ้าเขียนกราฟระหว่างแรงกับการกร พืนทีใต้กราฟมีค่าเท่ากับงาน ้ ่ W=Fs s ระยะทาง (m) 12
  • 13. ถ้าแรงไม่คงตัว แต่มีขนาดเพิ่มขึ้น อย่ออกแรงที่มขนาดเพิ่มขึ้นสมำ่าเสมอ •างสมำ่าเสมอี แรง (N) จาก 0 ถึง F ทำาให้วัตถุมการกระจัด s ี •ถ้าเขียนกราฟระหว่างแรงกับการกระจัด F พื้นที่ใต้กราฟมีค่าเท่ากับงาน แรงที่นำามาคิดเป็นแรงเฉลี่ย W = (F+0) .s 2 s ระยะทาง (m) 13
  • 14. ถ้าแรงทีกระทำามีขนาดไม่สมำ่าเสมอ ต้อง ่ ใช้แคลคูลสช่วย ั •แรงไม่คงตัวทำาให้วัตถุเคลือนที่ไปเป็นระยะ ่ F (N) •ขนาดของงานคือพื้นที่ใต้กราฟ •แบ่งพื้นที่ใต้กราฟออกเป็นสี่เหลียมผืนผ้าเล ่ มีช่วงกว้าง s ที่เล็กพอที่จะกว่าวได้ว่าแรง มีขนาดคงตัวตลอดช่วง s ถ้ารวมงานแต่ละช่วงแคบๆ จาก i=0 ถึง i=n ก็จะได้งานทั้งหมด sf S(m) 14
  • 15. ารู้ว่า แรง F มีการเปลี่ยนแปลงเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่ง s อย่างไร ค่าในสมการ แล้วอินติเกรตเพือรวมงานทีแรง F ทำาในช่วงจาก 0 ถ ่ ่ นกรณีททศทางของแรงและทิศของการกระจัดเปลี่ยนแปลงด้วยกัน ี่ ิ ละทิศของแรงไม่ขนานกับทิศของการกระจัดเสมอไป ต้องนำาความร กเตอร์มาใช้ จะต้องเปลี่ยนจากการคูณธรรมดาเป็นการคูณแบบสเก 15
  • 16. กำาลัง (Power) • กำาลัง คือ งานทีทำาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ่ • คืออัตราการทำางาน ใช้สญลักษณ์ P P = ั W • หน่วยเป็น จูล /วิน าที หรือ วัต ต์ ( Watt : Wt ) W • กำาลังทีคิดจาก ่ P= t เป็นค่าของกำาลังเฉลี่ย • กำาลังในขณะใดขณะหนึงหาได้จาก ่ – ในช่วงเวลาสัน dt dW้ ทำางานได้ dw P= – Power dt uu v P= นั้ d v F .นคือกำาลังทีขณะใดๆ เท่ากับผลคูณสเกลาร์ข s ่ เวกเตอร์ของแรงกับเวกเตอร์ของความเร็ว dt uv v P = F .v 16
  • 17. กำาลังม้า (Housepower ,hp) • หน่วยของกำาลังที่ยังคงนิยมใช้อีกหน่วยหนึงก็่ คือ กำาลังม้า , hp • 1 hp = 745.7 watt • รถกะบะยี่ห้อเสือสำาออย เครื่องยนต์มีกำาลัง 150 แรงม้า หมายความว่าอย่างไร • หมายความว่าใน 1 วินาที เครื่องยนต์จะ สามารถทำางานได้ 150 x 746 จูล 17
  • 18. พลังงาน (Energy) • เราไม่สามารถเห็นหรือจับต้องพลังงานได้ • แต่เราสามารถรับรู้ผลการกระทำาของพลังงาน ได้ • พลังงานปรากฎอยู่ในหลายรูปแบบ เช่น พลังงานไฟฟ้า พลังงานเคมี พลังงานความร้อน พลังงานแสง รังสีเอกซ์หรือแม้แต่พลังงาน นิวเคลียร์ • เป็นการดีกว่าที่จะไม่พยายามพูดว่าพลังงานคือ อะไรด้วยประโยคสันๆ แต่ถ้าเข้าใจชนิดต่างๆ ้ ของพลังงานและขอบเขตที่เกี่ยวข้อง ก็เท่ากับมี 18
  • 19. พลังงานกล (Mechanical Energy) • มีสองรูปแบบที่ต่างกันชัดเจนได้แก่ – พลังงานจลน์ (Kinetic energy) – พลังงานศักย์ (Potential energy) • พลังงานจลน์ (Kinetic energy) วัตถุที่ เคลื่อนที่มีพลังงานจลน์ วัตถุที่อยู่นิ่งไม่มี พลังงานจลน์ • พลังงานศักย์ (Potential energy) ขึ้นอยู่กับ ตำาแหน่งของวัตถุ 19
  • 20. พลังงานจลน์ (Kinetic energy) • พลังงานจลน์ไม่ขึ้นอยู่กบทิศทางของการเคลื่อนที่ แต่ ั ขึ้นอยูกับขนาดของความเร็วยกกำาลังสอง ่ • พลังงานจลน์เป็นปริมาณสเกลาร์ • วัตถุมวล m เคลื่อนทีดวยความเร็ว v จะมีพลังงานจลน์ ่ ้ E 2 1 = mv k 2 Ek • หน่วยของพลังงานจลน์คือ Kg m2 /s2 • แต่ Kg m /s2 คือหน่วยของ N • ดังนั้น Kg m2 /s2 = N m = J • นั่นคือหน่วยของพลังงานมีหน่วยเป็นจูล เช่นเดียวกับ หน่วยของงาน 20
  • 21. พลังงานศักย์ (Potential energy) • ในที่นี้จะศึกษาเพียงสองแบบคือ – พลังงานศักย์โน้มถ่วง (gravitational potential energy) – พลังงานศักย์ยดหยุน (elastic potential energy) ื ่ 21
  • 22. พลังงานศักย์โน้มถ่วง (gravitational potential energy) • ในการยกวัตถุมวล m ให้สงขึ้น h ในแนวดิ่ง ู ด้วยความเร็วคงที่ ต้องออกแรง F ที่มีขนาด เท่ากับนำ้าหนักของวัตถุ mg จึงจะยกขึ้นได้ • ในการยกนี้จะทำางานเท่ากับ mgh • งานปริมาณนี้เป็นงานจากแรงภายนอกที่ เอาชนะแรงของสนามโน้มถ่วง • ให้ Ep แทนพลังงานศักย์โน้มถ่วง • พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุมวล m อยู่สูงจาก พื้น h มีค่าเท่ากับ 22
  • 23. ตัวอย่าง 5.4 วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยู่บนโต๊ะที่สูงจากพืนห้อง ้ 1 เมตร ถ้ายกวัตถุนไปวางบนชั้นซึ่งสูงจากพื้นห้อง 3 เมตร จงคำา ี้ นวนหางานที่ใช้ในการยกและหาพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุที่ สูงขั้น ถ้าเส้นทางการยกเป็นดังภาพ 3m 1m งงานศักย์ทเพิ่มขึ้น ี่ = mgh2-mgh1 =20x10x(3-1) = 400 J = งานทีใช้ในการยก ่ 23
  • 24. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น (elastic potential energy) F ปริงให้ยืดออกจะมีความรู้สึกว่ามีแรงที่สปริงพยายามดึงมือกลับ วกับการอัดสปริงจะรู้สึกว่าสปริงดันมือออก รงกิริยาและแรงปฏิกริยาตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตันนั้นเอง ิ นที่สะสมอยู่ในตัวสปริงขณะที่มีการยืดออกหรือหดเข้าจากตำาแหน่งสมดุลเรียกว นศัก ย์ย ืด หยุ่น ช้ดึงหรือกดสปริงมีความสัมพันธ์กบระยะทางที่สปริงยืดหรือหด ั F = kx นค่าคงตัวสปริง (spring constant) 24
  • 25. •ดึงสปริงให้ยืดออกเป็น ระยะ x •ถ้าเขียนกราฟระหว่าง แรง (N) แรงกับการกระจัด พืนทีใต้กราฟมีค่าเท่ากับ ้ ่ F งาน แรงทีนำามาคิดเป็นแรง ่ เฉลี่ย W = (F+0) .s /2 แต่ F = kx x ระยะทาง /2 =kx W = (kx+0) .x(m) 2/2 25
  • 26. กฎการอนุรักษ์พลังงานกล • พลังงานกลรวมของวัตถุจะไม่สูญหาย แต่อาจเปลี่ยน จากรูปหนึงไปเป็นอีกรูปหนึงได้ ่ ่ • พลังงานกลคือพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ 1 mu 2 + mgyi 2 1 2 mv + mgy f 2 26
  • 27. สนามอนุรักษ์ • การเคลื่อนที่แบบเสรีของวัตถุภายใต้สนามโน้ม ถ่วงของโลกโดยไม่มีแรงภายนอกมากระทำา พลังงานกลของวัตถุ ณ ตำาแหน่งใดก็ตาม ย่อมมี ค่าคงเดิมเสมอ • เมื่อวัตถุตกลงพลังงานศักย์โน้มถ่วงจะลดลง ค่าที่ลดลงจะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ที่เพิ่มขึ้น ทุกขณะ • สนามเช่นสนามโน้มถ่วงนี้นบเป็นสนามอนุรักษ์ ั คือเป็นสนามที่ทำาให้พลังงานกลรวมอนุรักษ์ • แรงโน้มถ่วงนับเป็นแรงอนุรักษ์ • แรงของสปริงเฉพาะสปริงที่มีคณภาพ มีการสูฐ ุ 27
  • 28. การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงาน กล • ตัวอย่าง 5.7 ก้อนหินมีมวล 2 กิโลกรัม ตกจาก หน้าผาสูง 40 เมตรจากระดับพื้นดิน ซึ่งคิดว่า เป็นระดับที่พลังงานศักย์เป็น 0 จงหาว่า – ก. ก้อนหินมีพลังงานศักย์เท่าไรเมืออยูบนหน้าผา ่ ่ – ข. เมื่อก้อนหินหล่นมาได้ระยะทาง 10 เมตร ก้อน หินจะมีพลังต่างศักย์ พลังงานจลน์และพลังงานกล เท่าใด – ค. เมือถึงพืนดินก้อนหินมีพลังงานศักย์เท่าไร ่ ้ พลังงานจลน์ขณะจะกระทบพืนมีค่าเท่าไร ้ 28
  • 29. .8 นำ้าตกจากหน้าผาสูง 100 เมตร ตกลงมาด้วยความเร็วต้น 5 เม ร็วของนำ้าตอนจะกระทบพื้นล่าง านกลของนำ้าขณะอยู่บนหน้าผา = พลังงานกลของนำ้าขณะจะถึงพ ½ mu2 +mgh = ½ mv2 +mg(0) u2 +2gh = v2 (5 m/s)2 +2x9.8 m/s2 x100 m = v 2 v = 44.6 m/s 29
  • 30. ตัว อย่า ง 5.9 หาอัตราเร็วของวัตถุทตำาแหน่งต่างๆที่ ี่ เคลื่อนทีแบบวงกลมในระนาบดิ่ง ่ 30
  • 31. กฎสากลของการอนุรักษ์พลังงาน • พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานเสียง เป็นต้น • พลังงานเป็นปริมาณที่ไม่สญหาย แต่อาจจะ ู เปลี่ยนรูปได้หรือเคลื่อนย้ายได้โดยปริมาณ ทั้งหมดของพลังงานต้องคงเดิม 31
  • 32. เครื่องกล (Machines) • ได้แก่อุปกรณ์ที่ชวยให้การทำางานสะดวกขึ้น ่ หรือง่ายขึ้น ช่วยผ่อนแรง หรือสามารถยกของ หนักดดยใช้แรงน้อยๆได้ • เครื่องกลอย่างง่ายได้แก่ คาน ลิ่ม รอก พื้นเอียง สกรู และล้อกับเพลา • เครื่องกลไม่ช่วยให้เราทำางานได้มากกว่างานที่ เราทำาให้กับเครื่องกล งานที่ทำาโดยแรงที่ให้กับเครื่องกล = งานที่ได้รับ จากเครื่องกล 32 + งานที่สญเสียไปกับ ู