SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
นิทานคากลอน เรื่องพระอภัยมณี
ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร
นิทานคากลอน เรื่องพระอภัยมณี
 ผู้แต่ง พระสุนทรโวหาร (ภู่) หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า “สุนทรภู่”
 ประเภท นิทานคากลอน
 ลักษณะคาประพันธ์ กลอนสุภาพ
 ความยาว ๙๔ เล่มสมุดไทย
 สมัย ต้นรัตนโกสินทร์
 ปีที่แต่ง ราวรัชกาลที่ 3
จุดมุ่งหมาย
 สุนทรภู่แต่งพระอภัยมณี เพื่อขายเลี้ยงชีพในยามที่ตกยากอยู่ในคุก แต่เมื่อพ้นโทษแล้วก็
แต่งเพื่อถวายพระองค์เจ้าลักขณานุคุณและกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ
ที่มาของเรื่อง
 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า สุนทรภู่เริ่ม
แต่งเรื่องพระอภัยมณีครั้งต้องโทษจาคุกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
โดยผูกเรื่องขึ้นเองจากเรื่องที่ได้ยินได้ฟัง หรือได้อ่านจากวรรณคดีไทยและวรรณคดีต่างชาติ
มาผสมผสานเข้ากับเรื่องจริงที่ได้พบเห็น รวมทั้งเรื่องที่จินตนาการขึ้นอย่างกลมกลืนในบท
อาขยานเป็นบทพรรณนาจากทะเล และอารมณ์ความรู้สึกของพระอภัยมณีขณะขี่เงือกหนีนาง
ผีเสื้อ
คุณค่า
 วรรณคดีสโมสรยกย่องให้นิทานคากลอนเรื่อง พระอภัยมณี ของสุนทรภู่ เป็นยอดของ
กลอนนิทาน เพราะมีความดีเด่นด้านการใช้ถ้อยคา และการผูกเรื่องได้สนุกสนานเพลิดเพลิน
ในบทพรรณนานี้ สุนทรภู่เลือกสรรถ้อยคาอย่างสละสลวย มีสัมผัสในแพรวพราว ทาให้เห็น
ภาพหมู่ปลาในทะเล และสื่ออารมณ์ของตัวละครจากความเพลิดเพลิน พลิกผันมาเป็น
ความว้าเหว่เศร้าสร้อย
คุณค่า (ต่อ)
 พระอภัยมณี จัดได้ว่าเป็นผลงานชิ้นเอกของสุนทรภู่ และเป็นที่รู้จักกว้างขวางมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
เนื่องจากเค้าโครงเรื่องของพระอภัยมณีแหวกประเพณีของวรรณคดีในยุคเก่า มีจินตนาการล้ายุคอยู่มากมาย
และมีตัวละครจากหลากหลายชนชาติ แสดงให้เห็นถึงวิสัยทัศน์และความเปิดกว้าง ความเป็นนักคิดยุคใหม่
ของผู้ประพันธ์เมื่อเปรียบเทียบกับยุคสมัยเดียวกันได้เป็นอย่างดี นักวิชาการจานวนมากพากันศึกษา
กลอนนิทาน พระอภัยมณี เพื่อค้นคว้าหาแรงบันดาลใจ เชื่อมโยงแนวคิดของสุนทรภู่กับวรรณกรรมโบราณ
ตลอดจนความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ยุคใหม่ของบรรดานักเดินเรือที่เข้ามาสู่ประเทศไทยในยุคการค้าสาเภา
นอกจากนี้ แนวคิดที่สุนทรภู่สอดแทรกไว้ในบทประพันธ์ทาให้ผลงานชิ้นนี้โดดเด่นและเป็นที่รู้จักมาก เพราะ
ผู้คนล้วนใช้บทกลอนเหล่านั้นเป็นคติสอนใจ เช่น บทกลอนในช่วงที่พระฤๅษีสอนสุดสาคร เป็นต้น
คุณค่า (ต่อ)
 เมื่อเข้าสู่ยุคของการพิมพ์ พระอภัยมณี ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวงกว้างยิ่งขึ้นโดยโรงพิมพ์ของ
หมอสมิท ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ความนิยมของเรื่องมีมากขนาดที่
หมอสมิทสามารถจาหน่ายนิทานคากลอนเรื่องนี้ขายดิบขายดีจนมีเงินสร้างตึกได้ ในยุคต่อมา
มีการดัดแปลงและถ่ายทอดวรรณกรรมชิ้นนี้ออกไปในรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ทั้งเรื่องเล่าร้อยแก้ว
การ์ตูน รวมทั้งภาพยนตร์ และละคร บทกลอนหลายช่วงในเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับคัดเลือกให้บรรจุอยู่
ในแบบการเรียนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ กลายเป็นคติสอนใจที่ผู้คนทั่วไปจดจากันได้
เนื้อเรื่อง
 เนื้อเรื่องของ พระอภัยมณี ส่วนใหญ่คือเหตุการณ์ในชีวิตของตัวละครพระอภัยมณี นับแต่อายุ
ได้ ๑๕ ปีและออกเดินทางไปศึกษาวิชาความรู้เช่นเดียวกับเจ้าชายในวรรณคดีไทยอื่นๆ แต่วิชาที่
พระอภัยมณีไปศึกษามา มิใช่วิทยาอาคมหรือความรู้เกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง กลับเป็นวิชาดนตรี
คือ การเป่ าปี่ ทาให้พระบิดากริ้วมากจนขับไล่ออกจากเมือง การผจญภัยของพระอภัยมณีก็เริ่มขึ้น
นับแต่นั้น เขากับน้องชายคือ ศรีสุวรรณ ระเหเร่ร่อนไปจนเจอกับสามพราหมณ์ ถูกนางผีเสื้อสมุทรจับตัว
ไป มีบุตรชายชื่อสินสมุทร พ่อเงือกแม่เงือกช่วยพาหนีไปยังเกาะแก้วพิสดาร เขามีบุตรกับอมนุษย์อีกครั้ง
คือกับนางเงือก ได้บุตรชายชื่อสุดสาคร
เนื้อเรื่อง (ต่อ)
 ต่อมาพระอภัยมณีได้รับความช่วยเหลือจากเจ้ากรุงผลึกและรักกันกับลูกสาวของเจ้ากรุง คือ
นางสุวรรณมาลี แต่นางมีคู่หมั้นแล้วกับชาวต่างชาติแห่งเกาะลังกา ความขัดแย้งนี้ทาให้เกิดสงครามใหญ่
ระหว่างกรุงผลึกกับกรุงลังกาเป็นเวลานานหลายปี แต่ในที่สุดสงครามก็ยุติลงได้เมื่อ นางละเวงวัณฬา
ลูกสาวเจ้ากรุงลังกาซึ่งต่อมาได้เป็นเจ้าเมืองสาวสวย ตกหลุมรักกับพระอภัยมณีเสียเอง หลังสงคราม
พระอภัยมณีปลงได้กับความไม่แน่นอนของโลกมนุษย์และออกบวช โดยมีภรรยามนุษย์ทั้งสองคนคือ
นางสุวรรณมาลีกับนางละเวงออกบวชด้วย
เนื้อเรื่อง (ต่อ)
 เรื่องราวในช่วงหลังของ พระอภัยมณี เป็นการผจญภัยของรุ่นลูกๆ ของพระอภัยมณี โดยมีสุดสาคร
กับนางเสาวคนธ์เป็นตัวละครหลัก เรื่องราวของสุดสาครโดยเฉพาะในช่วง กาเนิดสุดสาคร (พระอภัยมณี
ตอนที่ ๒๔-๒๕) นับว่าเป็นวรรณกรรมเยาวชนที่โด่งดังมากอีกชุดหนึ่ง

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็กปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็กThongkum Virut
 
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลงแบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลงสวิง หน่อแก้ว
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797CUPress
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนF'Film Fondlyriz
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองChinnakorn Pawannay
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาน้อง มัดไหม
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงSirintip Denduang
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 

What's hot (19)

งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็กปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
 
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลงแบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
Ppt 1
Ppt 1Ppt 1
Ppt 1
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผน
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 

Similar to นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี

สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับงานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับDeena Teala
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกItt Bandhudhara
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 

Similar to นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี (15)

สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับงานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
2. กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ ๑๓๔ พระคาถา
2. กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ ๑๓๔ พระคาถา2. กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ ๑๓๔ พระคาถา
2. กัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ ๑๓๔ พระคาถา
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
 
ปุ
ปุปุ
ปุ
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
test
testtest
test
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
 
พระอภัยมณี
พระอภัยมณีพระอภัยมณี
พระอภัยมณี
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 

นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี

  • 2. นิทานคากลอน เรื่องพระอภัยมณี  ผู้แต่ง พระสุนทรโวหาร (ภู่) หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า “สุนทรภู่”  ประเภท นิทานคากลอน  ลักษณะคาประพันธ์ กลอนสุภาพ  ความยาว ๙๔ เล่มสมุดไทย  สมัย ต้นรัตนโกสินทร์  ปีที่แต่ง ราวรัชกาลที่ 3
  • 3. จุดมุ่งหมาย  สุนทรภู่แต่งพระอภัยมณี เพื่อขายเลี้ยงชีพในยามที่ตกยากอยู่ในคุก แต่เมื่อพ้นโทษแล้วก็ แต่งเพื่อถวายพระองค์เจ้าลักขณานุคุณและกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ
  • 4. ที่มาของเรื่อง  สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า สุนทรภู่เริ่ม แต่งเรื่องพระอภัยมณีครั้งต้องโทษจาคุกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยผูกเรื่องขึ้นเองจากเรื่องที่ได้ยินได้ฟัง หรือได้อ่านจากวรรณคดีไทยและวรรณคดีต่างชาติ มาผสมผสานเข้ากับเรื่องจริงที่ได้พบเห็น รวมทั้งเรื่องที่จินตนาการขึ้นอย่างกลมกลืนในบท อาขยานเป็นบทพรรณนาจากทะเล และอารมณ์ความรู้สึกของพระอภัยมณีขณะขี่เงือกหนีนาง ผีเสื้อ
  • 5. คุณค่า  วรรณคดีสโมสรยกย่องให้นิทานคากลอนเรื่อง พระอภัยมณี ของสุนทรภู่ เป็นยอดของ กลอนนิทาน เพราะมีความดีเด่นด้านการใช้ถ้อยคา และการผูกเรื่องได้สนุกสนานเพลิดเพลิน ในบทพรรณนานี้ สุนทรภู่เลือกสรรถ้อยคาอย่างสละสลวย มีสัมผัสในแพรวพราว ทาให้เห็น ภาพหมู่ปลาในทะเล และสื่ออารมณ์ของตัวละครจากความเพลิดเพลิน พลิกผันมาเป็น ความว้าเหว่เศร้าสร้อย
  • 6. คุณค่า (ต่อ)  พระอภัยมณี จัดได้ว่าเป็นผลงานชิ้นเอกของสุนทรภู่ และเป็นที่รู้จักกว้างขวางมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเค้าโครงเรื่องของพระอภัยมณีแหวกประเพณีของวรรณคดีในยุคเก่า มีจินตนาการล้ายุคอยู่มากมาย และมีตัวละครจากหลากหลายชนชาติ แสดงให้เห็นถึงวิสัยทัศน์และความเปิดกว้าง ความเป็นนักคิดยุคใหม่ ของผู้ประพันธ์เมื่อเปรียบเทียบกับยุคสมัยเดียวกันได้เป็นอย่างดี นักวิชาการจานวนมากพากันศึกษา กลอนนิทาน พระอภัยมณี เพื่อค้นคว้าหาแรงบันดาลใจ เชื่อมโยงแนวคิดของสุนทรภู่กับวรรณกรรมโบราณ ตลอดจนความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ยุคใหม่ของบรรดานักเดินเรือที่เข้ามาสู่ประเทศไทยในยุคการค้าสาเภา นอกจากนี้ แนวคิดที่สุนทรภู่สอดแทรกไว้ในบทประพันธ์ทาให้ผลงานชิ้นนี้โดดเด่นและเป็นที่รู้จักมาก เพราะ ผู้คนล้วนใช้บทกลอนเหล่านั้นเป็นคติสอนใจ เช่น บทกลอนในช่วงที่พระฤๅษีสอนสุดสาคร เป็นต้น
  • 7. คุณค่า (ต่อ)  เมื่อเข้าสู่ยุคของการพิมพ์ พระอภัยมณี ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวงกว้างยิ่งขึ้นโดยโรงพิมพ์ของ หมอสมิท ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ความนิยมของเรื่องมีมากขนาดที่ หมอสมิทสามารถจาหน่ายนิทานคากลอนเรื่องนี้ขายดิบขายดีจนมีเงินสร้างตึกได้ ในยุคต่อมา มีการดัดแปลงและถ่ายทอดวรรณกรรมชิ้นนี้ออกไปในรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ทั้งเรื่องเล่าร้อยแก้ว การ์ตูน รวมทั้งภาพยนตร์ และละคร บทกลอนหลายช่วงในเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับคัดเลือกให้บรรจุอยู่ ในแบบการเรียนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ กลายเป็นคติสอนใจที่ผู้คนทั่วไปจดจากันได้
  • 8. เนื้อเรื่อง  เนื้อเรื่องของ พระอภัยมณี ส่วนใหญ่คือเหตุการณ์ในชีวิตของตัวละครพระอภัยมณี นับแต่อายุ ได้ ๑๕ ปีและออกเดินทางไปศึกษาวิชาความรู้เช่นเดียวกับเจ้าชายในวรรณคดีไทยอื่นๆ แต่วิชาที่ พระอภัยมณีไปศึกษามา มิใช่วิทยาอาคมหรือความรู้เกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง กลับเป็นวิชาดนตรี คือ การเป่ าปี่ ทาให้พระบิดากริ้วมากจนขับไล่ออกจากเมือง การผจญภัยของพระอภัยมณีก็เริ่มขึ้น นับแต่นั้น เขากับน้องชายคือ ศรีสุวรรณ ระเหเร่ร่อนไปจนเจอกับสามพราหมณ์ ถูกนางผีเสื้อสมุทรจับตัว ไป มีบุตรชายชื่อสินสมุทร พ่อเงือกแม่เงือกช่วยพาหนีไปยังเกาะแก้วพิสดาร เขามีบุตรกับอมนุษย์อีกครั้ง คือกับนางเงือก ได้บุตรชายชื่อสุดสาคร
  • 9. เนื้อเรื่อง (ต่อ)  ต่อมาพระอภัยมณีได้รับความช่วยเหลือจากเจ้ากรุงผลึกและรักกันกับลูกสาวของเจ้ากรุง คือ นางสุวรรณมาลี แต่นางมีคู่หมั้นแล้วกับชาวต่างชาติแห่งเกาะลังกา ความขัดแย้งนี้ทาให้เกิดสงครามใหญ่ ระหว่างกรุงผลึกกับกรุงลังกาเป็นเวลานานหลายปี แต่ในที่สุดสงครามก็ยุติลงได้เมื่อ นางละเวงวัณฬา ลูกสาวเจ้ากรุงลังกาซึ่งต่อมาได้เป็นเจ้าเมืองสาวสวย ตกหลุมรักกับพระอภัยมณีเสียเอง หลังสงคราม พระอภัยมณีปลงได้กับความไม่แน่นอนของโลกมนุษย์และออกบวช โดยมีภรรยามนุษย์ทั้งสองคนคือ นางสุวรรณมาลีกับนางละเวงออกบวชด้วย
  • 10. เนื้อเรื่อง (ต่อ)  เรื่องราวในช่วงหลังของ พระอภัยมณี เป็นการผจญภัยของรุ่นลูกๆ ของพระอภัยมณี โดยมีสุดสาคร กับนางเสาวคนธ์เป็นตัวละครหลัก เรื่องราวของสุดสาครโดยเฉพาะในช่วง กาเนิดสุดสาคร (พระอภัยมณี ตอนที่ ๒๔-๒๕) นับว่าเป็นวรรณกรรมเยาวชนที่โด่งดังมากอีกชุดหนึ่ง