SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ช้างเอราวัณ




ครู วรีรตน์ เสธา
        ั
สารบัญ




แบบทดสอบหลังเรียน
พระอินทร์เป็ นชื่อเทวราชผูเ้ ป็ นใหญ่ในสวรรค์ชนดาวดึงส์และชันจาตุมมหาราช หรือผูเ้ ป็ นใหญ่
                                              ั้             ้
ในเทวโลกทัง ๖ ชัน พระอินทร์กบเทพสหจร รวม ๓๓ องค์ เป็ นผูปกครองเทวโลกชันนี้ และใน
             ้ ้                   ั                            ้              ้
ชันนี้ มีเวชยันตปราสาท มีสุธรรมสภา มีสวนนันทวัน มีสวนจิตรลดา มีสุนนทาโบกขรณี ล้วน
  ้                                                                    ั
แต่น่ารื่นรมย์ทงสิ้น พระอินทร์ มีพระนามที่หมายถึงพระอินทร์ มากถึง ๒๗ พระนาม พระนาม
                 ั้
เหล่านี้ ลวนเป็ นเนมิตตกนามไม่มใครตังให้ เกิดขึ้นตามคุณสมบัติแต่พระนามที่รูจกกันโดยมาก
          ้                          ี ้                                    ้ั
คือ พระอินทร์ ท้าวสักกเทวราช ท้าวมฆวะ ท้าวปุรินททะ ท้าววาสวะ ท้าวสหัสสักขะ ท้าวสุชมบดี ั
ท้าวเทวานมินทะ เป็ นต้นพระอินทร์ มีมา้ สินธพเป็ นม้านิ รมิตสาหรับเทียมเวชยันตราชรถ มาตลิ
เทพบุ ตรเป็ นสารถี ส่วนช้างของพระอินทร์นนชื่อว่า เอราวัณ เป็ นช้างจาแลง คือ เทพบุ ตร ชื่อว่า
                                           ั้
เอราวัณ จาแลงเป็ นช้างทรงในเวลาพระอินทร์และเทพสหจรเสด็จประพาสอุทยาน เอราวัณ
เทพบุ ตรจะนิ รมิตกายเป็ นช้างใหญ่ประมาณ ๑๕๐ โยชน์
ความมุ่งหมาย



ให้เห็นโทษของความลุ่มหลงในรู ป รส กลิ่น เสี ยง สัมผัสจะนามาซึ่ ง
ความประมาท อันเป็ นเหตุแห่งหายนะ เช่น พระลักษมณ์และไพร่ พล
วานรที่มวแต่เพ่งดูเทวดา
        ั
(แปลง) อย่างเพลิดเพลิน จนต้องศรของอินทรชิตในที่สุด
เนื้อหาของเรือง
                       ่

                 เรื่องย่อ

ข้อคิด

                                    ร้อยกรอง



คาศัพท์                       ถอดคา
                             ประพันธ์
เรืองย่อ
                                          ่
               อินทรชิตแปลงกายเป็ นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ช้างเอราวัณอัน (การุณราช) เนรมิต
ขึ้ นนั้นก็ทรงเรี่ยวแรงแกร่งกล้าน่ าเกรงขาม ผิวพรรณสีเผือกผ่องประดุจสังข์อนเกลี้ ยงเกลา มี ๓๓ หัว
                                                                          ั
หัวหนึ่ งมี ๗ งา เปล่งประกายเรืองรองประดุจเพชรรัตน์ งา หนึ่ งนั้นมีสระโบกขรณี ๗ สระ สระหนึ่ งมี
ดอกบัว ๗ กอ กอหนึ่ งมี ๗ ดอก แต่ละดอกครั้นบานแล้วนับได้ ๗ กลีบ แต่ละกลีบมีเทพธิดาที่สวยงาม
แน่ งน้อยน่ ารัก ๗ นาง แต่ละนางนั้นยังมีเทพธิดาบริวารอีก ๗ นาง ล้วนเป็ นรูปอันมารนิ รมิตขึ้ นทั้งสิ้ น
ทั้งยังร่ายราชม้ายชายตาทาทีดงนางฟ้ าจริงๆ อีก ทั้งทุกหัวของช้างยังมีวมานอันงดงาม ประดุจ
                                ั                                    ิ
ปราสาทเวไชยันต์ของท้าวอมรินทร์ เครื่องประดับอันมี ซองหาง กระวิน สายชนัก ล้วนถักร้อยด้วย
สร้อยทอง ประดับโกมินล้อมแก้วนพเก้า ผ้าทิพย์ปกตระพองก็รอยประดับด้วยเพชร มีสายสร้อยห้อย
                                                              ้
เป็ นพูลงทัวทุกหูชาง
         ่ ่         ้
ขุนมารโลทันซึ่งเป็ นสารถีของอินทรชิตก็แปลงเป็ นควาญท้ายช้าง ทัพทั้ง ๔ เหล่า ต่างแปลงกายเป็ น
ชาวฟ้ าชาวสวรรค์ มีอารักขเทวดาและรุกขเทวดา (เทพารักษ์) เป็ นทัพหน้า ครุฑ กินนร นาค เป็ นทัพ
หลัง พวกฤาษี และวิทยาธร เป็ นปี กซ้าย มีคนธรรพ์เป็ นปี กขวา ตั้งทัพตามตารับพิชยสงคราม ถืออาวุธ
                                                                                  ั
เกรียงไกรคือ หอก ธนู ดาบ กระบอง ครบมือ แล้วเหาะเหินมาบนฟากฟ้ า เคลื่อนพลเข้าสู่สมรภูมิ ฯ
๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน      เหมือนองค์อมรินทร์
ทรงคชเอราวัณ
๏ ช้างนิ มิตฤทธิแรงแข็งขัน   เผือกผ่องผิวพรรณ
สีสงข์สะอาดโอฬาร์
   ั
๏ สามสิบสามเศียรโสภา         เศียรหนึ่ งเจ็ดงา
ดังเพชรรัตน์รจี
  ่          ู
๏ งาหนึ่ งเจ็ดโบกขรณี        สระหนึ่ งย่อมมี
เจ็ดกออุบลบันดาล
๏ กอหนึ่ งเจ็ดดอกดวงมาลย์    หนึ่ งแบ่งบาน
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา
๏ กลีบหนึ่ งมีเทพธิดา        เจ็ดองค์โสภา
แน่ งน้อยลาเพานงพาล
๏ นางหนึ่ งย่อมมีบริวาร      อีกเจ็ดเยาวมาลย์
ล้วนรูปนิ รมิตมายา
ถอดคาประพันธ์
บทที่ ๑ อินทรชิตแปลงกายเหมือนพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
บทที่ ๒ ช้างเอราวัณ (แปลง) เป็ นช้างเผือกที่มีรปร่างใหญ่โตแข็งแรง
                                               ู
บทที่ ๓ (ช้างเอราวัณ) มีเศียรที่งดงาม ๓๓ เศียรและเศียรหนึ่ งมีงาอยู่ ๗ งาซึ่ง
งดงามมาก
บทที่ ๔ งาหนึ่ งงามีสระบัวอยู่ ๗ สระ และสระบัวหนึ่ งสระมีบวอยู่ ๗ กอ
                                                          ั
บทที่ ๕ กอบัวหนึ่ งกอมีดอกบัวอยู่ ๗ ดอก และบัวหนึ่ งดอกมีกลีบบัวอยู่ ๗ กลีบ
บทที่ ๖ บัว ๑ กลีบมีเทพธิดาผูอ่อนเยาว์และงดงามอยู่ ๗ องค์
                             ้
บทที่ ๗ เทพธิดาองค์หนึ่ งมีบริวาร ๗ ตนล้วนแต่เป็ นยักษ์แปลงมาทั้งสิ้ น
คาศัพท์
อินทรชิต               ยักษ์ ลูกทศกัณฑ์กบนางมณโท
                                          ั
กายิน                  ร่างกาย
อมรินทร์               พระอินทร์ ผูเป็ นใหญ่เทวดา
                                  ้
คชเอราวัณ              ช้างพระอินทร์
นิมิต                  แปลงกาย
ฤทธิแรง                แรงมาก
เผือกผ่องผิวพรรณ       ผิวพรรณสวยดี
สีสงข์
    ั                  สีของหอยทะเลกาบเดียว
โอฬาร์                 ใหญ่โต
เศียร                  หัว ศีรษะ
โสภา         งาม
เพชรรัตน์    แก้วส่องประกาย
รูจี         แสง ความรุ่งเรือง ความงาม
โบกขรณี      สระบัว
อุบล         ดอกบัว
ดวงมาลย์     ดอกบัว
ผกา          ดอกไม้
เทพธิดา      นางฟ้ า เทวดาหญิง
โสภา         งาม ผ่องใส
ลาเพานงพาล   งาม อ่อนเยาว์
บริวาร                                   ผูติดตาม
                                            ้
เยาวมาลย์                                หญิงสาวสวย
นิรมิตมายา                               แปลงกาย
จับระบาราร่าย                            ฟ้ อนราทาเพลง
ส่ายหา                                   เบนไปมา
ชาเลืองหางตา                             ชายตาดู หางตา
เทพอัปสร                                 นางฟ้ า
วิมานแก้ว                                ที่ประทับเทวดาเป็ นแก้ว
งามบวร                                   งามประเสริฐเลิศ
                                                      ์
เกศกุญชร                                 หัวช้าง.
เวไชยันต์                                ชื่อวิมาน,รถของพระอินทร์
เก้าแก้ว                                 แก้ว 9 นพรัตน์ ได้แก่ เพชร
                ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย ไพฑูรย์
ลักษณะคาประพันธ์

กาพย์ฉบัง ๑๖
- ๑ บทมี ๓ วรรค แบ่งเป็ นวรรคแรก ๖ คา วรรคสอง ๔ คาและ
 วรรคสาม ๖ คา
- ใน ๑ บท มีสมผัสบังคับ ๑ แห่ง คือ
              ั
คาสุดท้ายของวรรคแรกสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคสอง
- มีสมผัสระหว่างบทอยูที่คาสุดท้ายของบทแรกกับคาสุดท้ายของ
      ั               ่
 วรรคแรกของบทต่อไป
แผนผัง


000000 0000
000000
000000     0000
000000
ข้อคิด
1." มีวิมานแก้วงามบวร    ทุกเกศกุญชร
ดังเวไชยันต์อมรินทร์"    คาประพันธ์ขางต้นใช้โวหารใด
                                     ้


                  ก. อุปลักษณ์
                  ข. อุปมา

                   ค. สัทพจน์

                   ง. บุคคลวัต
ผิดค่ะ ลองทา
 ใหม่อีกครั้ง
ผิดค่ะ ลองทา
 ใหม่อีกครั้ง
ผิดค่ะ ลองทา
 ใหม่อีกครั้ง
ฮะ ฮะ ถูกโว้ย
2 ช้างเอราวัณมีหวทั้งหมดเท่าไร
                ั


                     ก. 3 หัว
                   ข. 9 หัว

                    ค. 33 หัว

                    ง. 99 หัว
ผิดค่ะ ลองทา
 ใหม่อีกครั้ง
ผิดค่ะ ลองทา
 ใหม่อีกครั้ง
ผิดค่ะ ลองทา
 ใหม่อีกครั้ง
ฮะ ฮะ ถูกโว้ย
Presentation1

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)Chutima Tongnork
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์พัน พัน
 

What's hot (20)

งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
Ppt 1
Ppt 1Ppt 1
Ppt 1
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)งานภาษาไทย (ชุติมา)
งานภาษาไทย (ชุติมา)
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
 

Similar to Presentation1

สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbงานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbอิ่' เฉิ่ม
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์Prasit Koeiklang
 
ยานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กายานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กาCHANIN111
 
พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร คน มีดี
 
คำสดุดีในหลวง
คำสดุดีในหลวงคำสดุดีในหลวง
คำสดุดีในหลวงniralai
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองManee Prakmanon
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12MilkOrapun
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิตTongsamut vorasan
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิตWataustin Austin
 

Similar to Presentation1 (20)

สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
 
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbงานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
 
โตฎก ฉ นท
โตฎก ฉ นท โตฎก ฉ นท
โตฎก ฉ นท
 
นงเยาว์ นิยมผล
นงเยาว์ นิยมผลนงเยาว์ นิยมผล
นงเยาว์ นิยมผล
 
sapphanamracha
sapphanamrachasapphanamracha
sapphanamracha
 
ยานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กายานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กา
 
พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร
 
คำสดุดีในหลวง
คำสดุดีในหลวงคำสดุดีในหลวง
คำสดุดีในหลวง
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 

Presentation1

  • 2.
  • 4. พระอินทร์เป็ นชื่อเทวราชผูเ้ ป็ นใหญ่ในสวรรค์ชนดาวดึงส์และชันจาตุมมหาราช หรือผูเ้ ป็ นใหญ่ ั้ ้ ในเทวโลกทัง ๖ ชัน พระอินทร์กบเทพสหจร รวม ๓๓ องค์ เป็ นผูปกครองเทวโลกชันนี้ และใน ้ ้ ั ้ ้ ชันนี้ มีเวชยันตปราสาท มีสุธรรมสภา มีสวนนันทวัน มีสวนจิตรลดา มีสุนนทาโบกขรณี ล้วน ้ ั แต่น่ารื่นรมย์ทงสิ้น พระอินทร์ มีพระนามที่หมายถึงพระอินทร์ มากถึง ๒๗ พระนาม พระนาม ั้ เหล่านี้ ลวนเป็ นเนมิตตกนามไม่มใครตังให้ เกิดขึ้นตามคุณสมบัติแต่พระนามที่รูจกกันโดยมาก ้ ี ้ ้ั คือ พระอินทร์ ท้าวสักกเทวราช ท้าวมฆวะ ท้าวปุรินททะ ท้าววาสวะ ท้าวสหัสสักขะ ท้าวสุชมบดี ั ท้าวเทวานมินทะ เป็ นต้นพระอินทร์ มีมา้ สินธพเป็ นม้านิ รมิตสาหรับเทียมเวชยันตราชรถ มาตลิ เทพบุ ตรเป็ นสารถี ส่วนช้างของพระอินทร์นนชื่อว่า เอราวัณ เป็ นช้างจาแลง คือ เทพบุ ตร ชื่อว่า ั้ เอราวัณ จาแลงเป็ นช้างทรงในเวลาพระอินทร์และเทพสหจรเสด็จประพาสอุทยาน เอราวัณ เทพบุ ตรจะนิ รมิตกายเป็ นช้างใหญ่ประมาณ ๑๕๐ โยชน์
  • 5. ความมุ่งหมาย ให้เห็นโทษของความลุ่มหลงในรู ป รส กลิ่น เสี ยง สัมผัสจะนามาซึ่ ง ความประมาท อันเป็ นเหตุแห่งหายนะ เช่น พระลักษมณ์และไพร่ พล วานรที่มวแต่เพ่งดูเทวดา ั (แปลง) อย่างเพลิดเพลิน จนต้องศรของอินทรชิตในที่สุด
  • 6. เนื้อหาของเรือง ่ เรื่องย่อ ข้อคิด ร้อยกรอง คาศัพท์ ถอดคา ประพันธ์
  • 7. เรืองย่อ ่ อินทรชิตแปลงกายเป็ นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ช้างเอราวัณอัน (การุณราช) เนรมิต ขึ้ นนั้นก็ทรงเรี่ยวแรงแกร่งกล้าน่ าเกรงขาม ผิวพรรณสีเผือกผ่องประดุจสังข์อนเกลี้ ยงเกลา มี ๓๓ หัว ั หัวหนึ่ งมี ๗ งา เปล่งประกายเรืองรองประดุจเพชรรัตน์ งา หนึ่ งนั้นมีสระโบกขรณี ๗ สระ สระหนึ่ งมี ดอกบัว ๗ กอ กอหนึ่ งมี ๗ ดอก แต่ละดอกครั้นบานแล้วนับได้ ๗ กลีบ แต่ละกลีบมีเทพธิดาที่สวยงาม แน่ งน้อยน่ ารัก ๗ นาง แต่ละนางนั้นยังมีเทพธิดาบริวารอีก ๗ นาง ล้วนเป็ นรูปอันมารนิ รมิตขึ้ นทั้งสิ้ น ทั้งยังร่ายราชม้ายชายตาทาทีดงนางฟ้ าจริงๆ อีก ทั้งทุกหัวของช้างยังมีวมานอันงดงาม ประดุจ ั ิ ปราสาทเวไชยันต์ของท้าวอมรินทร์ เครื่องประดับอันมี ซองหาง กระวิน สายชนัก ล้วนถักร้อยด้วย สร้อยทอง ประดับโกมินล้อมแก้วนพเก้า ผ้าทิพย์ปกตระพองก็รอยประดับด้วยเพชร มีสายสร้อยห้อย ้ เป็ นพูลงทัวทุกหูชาง ่ ่ ้ ขุนมารโลทันซึ่งเป็ นสารถีของอินทรชิตก็แปลงเป็ นควาญท้ายช้าง ทัพทั้ง ๔ เหล่า ต่างแปลงกายเป็ น ชาวฟ้ าชาวสวรรค์ มีอารักขเทวดาและรุกขเทวดา (เทพารักษ์) เป็ นทัพหน้า ครุฑ กินนร นาค เป็ นทัพ หลัง พวกฤาษี และวิทยาธร เป็ นปี กซ้าย มีคนธรรพ์เป็ นปี กขวา ตั้งทัพตามตารับพิชยสงคราม ถืออาวุธ ั เกรียงไกรคือ หอก ธนู ดาบ กระบอง ครบมือ แล้วเหาะเหินมาบนฟากฟ้ า เคลื่อนพลเข้าสู่สมรภูมิ ฯ
  • 8. ๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมรินทร์ ทรงคชเอราวัณ ๏ ช้างนิ มิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผ่องผิวพรรณ สีสงข์สะอาดโอฬาร์ ั ๏ สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่ งเจ็ดงา ดังเพชรรัตน์รจี ่ ู ๏ งาหนึ่ งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่ งย่อมมี เจ็ดกออุบลบันดาล ๏ กอหนึ่ งเจ็ดดอกดวงมาลย์ หนึ่ งแบ่งบาน มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา ๏ กลีบหนึ่ งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา แน่ งน้อยลาเพานงพาล ๏ นางหนึ่ งย่อมมีบริวาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์ ล้วนรูปนิ รมิตมายา
  • 9. ถอดคาประพันธ์ บทที่ ๑ อินทรชิตแปลงกายเหมือนพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ บทที่ ๒ ช้างเอราวัณ (แปลง) เป็ นช้างเผือกที่มีรปร่างใหญ่โตแข็งแรง ู บทที่ ๓ (ช้างเอราวัณ) มีเศียรที่งดงาม ๓๓ เศียรและเศียรหนึ่ งมีงาอยู่ ๗ งาซึ่ง งดงามมาก บทที่ ๔ งาหนึ่ งงามีสระบัวอยู่ ๗ สระ และสระบัวหนึ่ งสระมีบวอยู่ ๗ กอ ั บทที่ ๕ กอบัวหนึ่ งกอมีดอกบัวอยู่ ๗ ดอก และบัวหนึ่ งดอกมีกลีบบัวอยู่ ๗ กลีบ บทที่ ๖ บัว ๑ กลีบมีเทพธิดาผูอ่อนเยาว์และงดงามอยู่ ๗ องค์ ้ บทที่ ๗ เทพธิดาองค์หนึ่ งมีบริวาร ๗ ตนล้วนแต่เป็ นยักษ์แปลงมาทั้งสิ้ น
  • 10. คาศัพท์ อินทรชิต ยักษ์ ลูกทศกัณฑ์กบนางมณโท ั กายิน ร่างกาย อมรินทร์ พระอินทร์ ผูเป็ นใหญ่เทวดา ้ คชเอราวัณ ช้างพระอินทร์ นิมิต แปลงกาย ฤทธิแรง แรงมาก เผือกผ่องผิวพรรณ ผิวพรรณสวยดี สีสงข์ ั สีของหอยทะเลกาบเดียว โอฬาร์ ใหญ่โต เศียร หัว ศีรษะ
  • 11. โสภา งาม เพชรรัตน์ แก้วส่องประกาย รูจี แสง ความรุ่งเรือง ความงาม โบกขรณี สระบัว อุบล ดอกบัว ดวงมาลย์ ดอกบัว ผกา ดอกไม้ เทพธิดา นางฟ้ า เทวดาหญิง โสภา งาม ผ่องใส ลาเพานงพาล งาม อ่อนเยาว์
  • 12. บริวาร ผูติดตาม ้ เยาวมาลย์ หญิงสาวสวย นิรมิตมายา แปลงกาย จับระบาราร่าย ฟ้ อนราทาเพลง ส่ายหา เบนไปมา ชาเลืองหางตา ชายตาดู หางตา เทพอัปสร นางฟ้ า วิมานแก้ว ที่ประทับเทวดาเป็ นแก้ว งามบวร งามประเสริฐเลิศ ์ เกศกุญชร หัวช้าง. เวไชยันต์ ชื่อวิมาน,รถของพระอินทร์ เก้าแก้ว แก้ว 9 นพรัตน์ ได้แก่ เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย ไพฑูรย์
  • 13. ลักษณะคาประพันธ์ กาพย์ฉบัง ๑๖ - ๑ บทมี ๓ วรรค แบ่งเป็ นวรรคแรก ๖ คา วรรคสอง ๔ คาและ วรรคสาม ๖ คา - ใน ๑ บท มีสมผัสบังคับ ๑ แห่ง คือ ั คาสุดท้ายของวรรคแรกสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคสอง - มีสมผัสระหว่างบทอยูที่คาสุดท้ายของบทแรกกับคาสุดท้ายของ ั ่ วรรคแรกของบทต่อไป
  • 16.
  • 17. 1." มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร ดังเวไชยันต์อมรินทร์" คาประพันธ์ขางต้นใช้โวหารใด ้ ก. อุปลักษณ์ ข. อุปมา ค. สัทพจน์ ง. บุคคลวัต
  • 22. 2 ช้างเอราวัณมีหวทั้งหมดเท่าไร ั ก. 3 หัว ข. 9 หัว ค. 33 หัว ง. 99 หัว