SlideShare a Scribd company logo
1 of 259
ปราสาทภูเพ็ก ศาสนบรรพตที่อาจมีขนาดใหญ่ที่สุดในอุษาคเนย์
“ปราสาทภูเพ็ก” เป็นปราสาทเทวาลัย “ศาสนบรรพต” บนยอดเขา (Mountain
Temple) ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคทางทิศเหนือสุด (Northernmost) ของ “อาณาจักรกัมพุชเทศะ
– ขอม – เขมร” ในยุคโบราณ (Ancient
Khmer) และอาจเป็นปราสาทหินในรูปแบบ “ปราสาทประธานเชื่อมอาคารมณฑปบนฐาน
แกนยาว” ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้...
.
.
"ปราสาทภูเพ็ก" ศาสนบรรพตที่อาจมีขนาดใหญ่ที่สุดในอุษาคเนย์ ?
.
Entry นี้ เป็น “บทความ” (Article) ในรูปแบบหนังสือบนโลกออนไลน์ (Book on
Blog) ที่มี “ความยาว”ของเนื้อหามากที่สุดเท่าที่ผู้เขียนเคยเขียนมาใน Blog OKnation ซึ่งอา
จมีความยาวของหน้า A 4 ประมาณ 45 หน้า และมีรูปประกอบทั้งหมด 340 รูป
.
เรื่องราว “นอกกรอบ” ในครั้งนี้เขียนแบบ “สารคดีนาเที่ยวเชิงวิชาเกิน
” ตามใจตามอารมณ์“จริงไม่จริงก็ไม่รู้” เนื้อหาอาจซ้าซากวนเวียนอยู่กับเรื่องของ “ปราสาท
หิน” มากมาย จน “น่าเบื่อ” และอาจ
“ไม่น่าเชื่อ” ในบางตอนที่เป็นจินตนาการและการอนุมานโดยผู้เขียน
เนื้อความจึงไม่อาจสร้างความสนุกสนานหรือให้ความ “เร้าใจ” แบบข่าวการเมือง กีฬา
บันเทิงหรือเรื่อง “ในมุ้ง” ของใครต่อใครได ้
.
ถ้าจะอ่านเรื่องราวในวันนี้ให้สมบูรณ์ก็คงต้องมีความ “พยายาม”
เป็ นอย่างมาก !!!
.
และเรื่องราวในครั้งนี้ ก็ขออุทิศถวายให้กับ “ท่านผู้อ่าน” ทุกท่าน
ที่ได ้ผ่านเข ้ามาใน Blog ของ นักวิชาการนอกกรอบแห่งนี้
และขอให้เหล่าทวยเทพประทานพรให้ท่านผู้อ่าน มีความเจริญงอกงาม มีความอุดมสมบูรณ์
เพิ่มพูนทรัพย์ที่ได ้จากความสุจริต มีอานาจวาสนาและความสุขในชีวิต...
.
หากเพียงแต่ท่านผู้อ่านจะช่วยกรุณากดโหวตเรื่อง
หรือช่วย “แสดงความคิดเห็น” (Comments) เพื่อเป็นกาลังใจให้กับผู้เขียนบ ้างพอเป็นพิธีกรร
มแบบโบราณ….หุหุ
.
และขอแจ ้งให้ท่านผู้อ่านทราบก่อนว่า การ (วงเล็บ)
คาแปลภาษาอังกฤษที่อยู่ด ้านหลังของคาเฉพาะเป็นจานวนมาก
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ท่านได ้นาไปใช ้ประโยชน์
หาก “ไม่อยากเชื่อเรื่องที่เขียน” และต ้องการหาข ้อมูลเพิ่มเติม
ท่านสามารถคัดลอกคาเฉพาะนั้นไปวางลงใน Smart Search Engine ของโลกออนไลน์
ซึ่งท่านจะสามารถค ้นหา “องค์ความรู้” (Knowledge) ที่เกี่ยวเนื่องไปได ้อีกมากมาย
.
มิได ้ประสงค์จะโชว์พราวภาษาอังกฤษ (อันกระท่อนกระแท่น) ของผู้เขียนแต่อย่างใด .....
หุหุ (อีกที)
.
.
.
.
.....เริ่มเรื่องเลยละกัน.....
.
.
.
.
.
“อุโมงค์หิน” บนภูผาแท่น
...ในอุรังคธาตุ
.
.
“ตานานเก่าแก่” (Ancient Legend) ที่ “แต่งขึ้น” ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 21
ช่วงยุคสมัยของวัฒนธรรมล ้านช ้าง – ไทลาว ที่สาคัญเล่มหนึ่ง
ได ้บอกเล่าถึงเรื่องราวความเป็นมาของปราสาทเขมรโบราณสองหลังในภูมิภาคอีสาน เหนือ
ของจังหวัดสกลนคร
ปราสาทหนึ่งตั้งอยู่ที่ชานเมืองโบราณรูปสี่เหลี่ยมทางทิศตะวันตกเฉียงใต ้ของ “นครหนองหาร
หลวง” อีกปราสาทตั้งอยู่บนยอดเขายอดหนึ่งของเทือกเขา
“ภูพาน” ที่อยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกประมาณ 17 กิโลเมตร
.
“ตานานอุรังคธาตุ” แห่งล ้านช ้าง – อีสานเหนือ
ได ้เล่าความเป็นมาของซากศาสนสถานเก่าแก่ที่ร้างราผู้คนไปในยุคก่อนหน้าไว้ว่า
.
“....เมื่อครั้งถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแห่งองค์พระศากยมุนีเป็นที่สิ้นสุด แล ้ว
พระเถระมหากัสสปะได ้นาเอาพระบรมสารีริกธาตุเดินทางมายังดินแดนแถบอีสานเพื่อ
จะไปบรรจุมหาสถูปที่ภูกาพร้า (พระธาตุพนม) ตามที่เคยมีพุทธทานายเอาไว้แต่กาลก่อน
.
ครั้นเมื่อพระยาสุวรรณภิงคาร
กษัตริย์แห่งเมืองหนองหารหลวงทราบข่าวการเดินทางมายังสุวรรณทวีปของพระเถระ
มหากัสสปะ ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะขอแบ่งพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไว้แก่บ ้านเมือง
จึงได ้ตระเตรียมสร้างอุโมงค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ก่อนล่วงหน้า
โดยโปรดให้ชาวเมืองฝ่ายชายและฝ่ายหญิงแข่งกันสร้างอุโมงค์ให้เสร็จภายในคืน
เดียว หากฝ่ายใดเสร็จก่อนก็จะได ้นาพระอุรังคธาตุไป บรรจุไว้ให้เป็นพระมหาธาตุ
ฝ่ายหญิงเลือกพื้นที่ชานเมืองหนองหารหลวงเป็นที่ก่อสร้าง ส่วนฝ่ายชายเลือกยอดดอยแท่น
โดยทั้งสองฝ่ายมีข ้อตกลงกันว่า
หากเมื่อฝ่ายใดเห็นดาวเพ็ก (ดาวศุกร์/ดาวประกายพรึก) ขึ้นบนท ้องฟ้าตะวันออกในยามรุ่งสางแ
ล ้ว ก็ให้หยุดการก่อสร้างในทันที
.
ระหว่างการก่อสร้าง ฝ่ายหญิงทาท่าจะสู้ไม่ได ้ จึงได ้คิดอุบายหลอกฝ่ายชาย
โดยชักโคมไฟลอยขึ้นบนท ้องฟ้า
ลวงฝ่ายชายว่าเป็นเวลาย่ารุ่งสางแล ้ว เมื่อฝ่ายชายเห็นโคมไฟ ก็พากันคิดว่าเป็นดาวเพ็กขึ้นจริง
จึงหยุดการก่อสร้าง ส่วนฝ่ายหญิงก็สร้างอุโมงค์ต่อไปจนเสร็จสิ้น
.
แต่เมื่อขบวนอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุผ่านมาถึง พระ
มหากัสสปะทราบเรื่องการสร้างอุโมงค์จึงแจ ้งแก่ชาวเมืองหนองหารหลวงว่า
ไม่สามารถแบ่งพระบรมสารีริกธาตุให้ได ้เพราะต ้องนาไปไว้ยังภูกาพร้า ตามพุทธบัญชา
แต่ก็ได ้มอบ “ธาตุพระอังคาร” (เถ้าถ่าน) ให้ไว้บรรจุในอุโมงค์ของฝ่ายหญิงแทน…”
.
.
"ปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง" จังหวัดสกลนคร
.
ถึงแม้ ฝ่ายชายจะสร้างอุโมงค์บนยอดดอยแท่นไม่เสร็จสิ้น
แต่ในตานานอุรังคธาตุก็ยังไม่ลืมเรื่องราวของซากปราสาทเก่าแก่บนยอดเขา
จึงยังคงกล่าวถึง “อุโมงค์ศิลาที่ยอดภูเพ็ก” ในช่วงตานานช่วงต่อมาว่า
.
“.....ถึงพ.ศ. 500 พระอรหันต์ทั้ง 5 องค์ อันได ้แก่ พระสังขวิชาเถระ พระมหารัตนเถระ
พระจุลรัตนเถระ พระมหาสุวรรณปราสาทเถระ และพระจุลสุวรรณปราสาทเถระ
พร้อมด ้วยพระยาสุมิตธรรมวงศา กษัตริย์แห่งมรุกขนคร
ได ้ร่วมกันบูรณะพระธาตุพนมที่ดอยกะปะณะคีรี(ภูกาพร้า) สูงขึ้นประมาณ 24
เมตรและได ้อัญเชิญพระอุรังคธาตุออกมาประดิษฐานบนพานทองคา
.
.
" พระธาตุพนม" ในตำนำนอุรังคธำตุ เมื่อครั้งล้มลงเมื่อปี 2518
.
”...อมรฤๅษีและโยธิกฤๅษี
ขึ้นไปนาอุโมงค์ศิลาบนยอดเขาภูเพ็กมาตั้งไว้ชั้นบนของพระธาตุชั้นที่ 2ซึ่งอยู่สูง 14
เมตรแล ้วพระสุมิตธรรมวงศาได ้อัญเชิญพระอุรังคธาตุสถาปนาไว้บนพระเจดีย์ศิลานั้น .....”
.
เล่ากันว่า อุโมงค์ศิลาทั้งสองแห่งในตานานอุรังคธาตุ
ที่ฝ่ายหญิงสร้างไว้ชานเมืองหนองหารหลวง
มีความหมายถึง “พระธาตุนารายณ์เจงเวง” ที่มาจากคาว่า เชิง – แวง (ขา-ยาว)
หมายความถึงรูปสลักพระนารายณ์ขายาว ที่สลักอยู่บนหน้าบันปราสาทหินทางฝั่งทิศใต ้
.
.
ภาพจาลองของ"พระธาตุนารายณ์เจงเวง" ที่เมืองโบราณ สมุทรปราการ
ก็ยังผิดรูปแบบของปราสาทในยุคบาปวน ที่ยอดปราสาทเป็ นเพียงทรงศิขร - ลดหลั่น
เครื่องบน - นาคปักยังไม่สอบเข ้าเป็ นแนวโค ้งมากนัก
แต่รูปจาลองปราสาทนี้ ทายอดปราสาทเป็ น "ทรงพุ่ม"
ซึ่งเป็ นเรือนยอดที่เริ่มนิยมกันในช่วงต ้นพุทธศตวรรษที่ 17
และทาช่วงต่อของมุขหน้ากับเรือนธาตุแตกต่างไปจากความเป็ นจริง
.
ส่วนอุโมงค์ศิลาที่ฝ่ายชายสร้างค ้างคาไว้
และถูกนาไปรวมเป็นเรือนธาตุชั้นที่สองของพระธาตุพนม
หมายถึง “ปราสาทภูเพ็ก” หรือ “พระธาตุภูเพ็ก” ที่ตั้งชื่อตามนามของดาวเพ็ก
ดาวรุ่งหรือดาวประกายพรึก ที่ปรากฏเรื่องราวในตานานนั่นเองครับ
.
.
ฐำนมณฑปและคูหำปรำสำทประธำน ทำงฝั่งทิศใต้ของ "ปราสาทภูเพ็ก"
.
จากที่โปรยเรื่อง “ตานานอุรังคธาตุ” มาในข ้างต ้น ถึงตรงนี้ท่านผู้อ่านก็คงจะเดาได ้ว่า
เรื่องราว “น่าปวดหัว – ไม่น่าเชื่อและไม่น่าจา” ของผมในครั้งนี้
ก็คงจะไม่พ ้นเรื่องราวของ “ปราสาทภูเพ็ก” (Phu Phek
Pr.) ปราสาทหินขนาดใหญ่บนยอดเขาภูเพ็ก ยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาภูพาน
ที่มีเรื่องราว “นอกกรอบ” ที่น่ารู้ น่าสนใจมากมาย
.
เริ่มจากที่ “ปราสาทภูเพ็ก” เป็นปราสาทหินบนยอดเขาหรือที่เรียกว่า “ศาสนบรรพต”
(Temple – Mountain) ที่ ขึ้นมาสร้างอยู่ทางทิศเหนือสุดของภูมิภาคอีสานเหนือ – อีสานใต ้
นับเรื่อยลงไปยังเขตเขมรต่า (ขะแมร์กรอม) ทางทิศใต ้
อันเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางอานาจการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของอาณาจักรกัมพุชเทศ
หรืออาณาจักรเขมรโบราณ
.
ทั้งเรื่องราวของปราสาทหินในคติไศวะนิกายผสมกับนิกายปศุปตะ ที่สร้าง “เทวาลัย
”(Shrine) ขึ้นบนยอดเขาเพื่อสมมุติให้เป็นเขาไกรลาส (Kailasha) บนพื้นโลก เพื่อประดิ
ษฐานรูปประติมากรรม “ศิวลึงค์” (Shiva Linga) ที่มีองค์ประกอบอันซับซ ้อน เป็นสัญลักษณ์
สาคัญแทนองค์พระศิวะ ประดิษฐานอยู่เป็นประธานในอาคารปราสาทประธานที่เรียกว่า “วิมาน”
(Vimana)
.
และนอกจากจะเป็นเทวาลัยบนยอดเขาไกรลาสสมมุติแล ้ว
ปราสาทภูเพ็กยังเป็นปราสาทหินที่ถูกวางแผนผังในรูปแบบของ “ปราสาทประธาน (วิมาน)
เชื่อมต่อมณฑปด้วยอันตราละบนฐานต่อเนื่องขนาดใหญ่” ในวัฒนธรรมปราสาทแบบเขมร
อีกฐานชั้นซ ้อนของมณฑปที่ปราสาทภูเพ็ก ก็เป็นรูปแบบของฐานมณฑปแผนผังทรงจัตุรมุข
ที่ยกพื้นบัวสูงกว่าฐานบัวของปราสาทประธานเพียงแห่งเดียวในภูมิภาค
นับจากรูปแบบของปราสาทประธานในแผนผังเดียวกันที่พบในประเทศไทยและกัมพูชาเลย ครับ
.
.
ฐานบัวลูกฟักขนาดใหญ่ ยกสูง 2 ขั้น(ชั้นซ้อน)
มุขด้ำนหน้ำสุดของปรำสำทภูเพ็ก
.
แผนผังของปราสาทเชื่อมมณฑปที่ปราสาทภูเพ็ก มีขนาดความยาวประมาณ 34
เมตร ในขณะที่ความยาวของปราสาทประธานเชื่อมมณฑปของปราสาทหินพิมาย (Phimai
Pr.) ที่ถูกจัดให้เป็นปราสาทหินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีความยาวประมาณ 32. 5
เมตร ปราสาทประธานปราสาทพนมวัน (Phnom wan Pr.) 30.5
เมตร ปราสาทประธานปราสาทเขาพนมรุ้ง (Phnom Rung Pr.) มีความยาวประมาณ 30
เมตร ในขณะที่ปราสาทประธานของปราสาทตาเมือนธม (Ta Muan Thom
Pr.) มีความยาวเพียง 22 เมตร ครับ
.
.
"ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทหินพิมาย
จังหวัดนครราชสีมา
.
.
"ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทหินพนมวัน
จังหวัดนครราชสีมา
.
นอกจากปราสาทที่มีแบบแผน “ปราสาทวิมานเชื่อมต่อมณฑปบนฐานขนาดใหญ่”
ที่พบในประเทศไทยแล ้ว ปราสาทหินที่มีแผนผังแบบเดียวกันในประเทศกัมพูชา
ก็ยังมีขนาดเล็กกว่าทั้งสิ้น ทั้งที่ “ปราสาทเบงมาเลีย” (Beng Mealea
Pr.) หรือนครวัดตะวันออก ปราสาทประธานก็มีขนาดความยาวของฐานประมาณ 32.5
เมตร “ปราสาทวัดอัทตาเวีย” (Vet Athvea Pr.) ความยาวของฐาน 29.5
เมตร “ปราสาทบันทายสาเหร่” (Banteay Samre Pr.) ความยาวประมาณ 26.5
เมตร “ปราสาทธมมานนท์”(Thommanon Pr.) 26
เมตร “ปราสาทเจ้าสายเทวดา” (Chay say Tevoda Pr.) 25
เมตร “ปราสาทวัดเอกพนม” (Wat Ek Phnom Pr.) 24.5
เมตร “ปราสาทเขาพระวิหาร” (Preah Vihear Pr.) 24 เมตร หรือที่ “ปราสาทคูหานคร”
(Kuhear Nokor Pr.) ก็มีความยาวของฐานเพียง 19.5 เมตร
ซึ่งรายละเอียดของแต่ละปราสาทจะกล่าวในตอนต่อไปครับ
.
.
สภาพของปราสาทประธานที่พังทลายเป็ นกองหิน
ที่ "ปราสาทเมงเมเลีย" จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา
.
.
"ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทวัดอัทตาเวีย
จังหวัดเสียมเรียบ
.
.
"ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทคูหานคร
จังหวัดเสียมเรียบ
.
ซึ่งนั่นก็อาจยืนยันถึงความโดดเด่นและความน่าสนใจของปราสาทภูเพ็ก
ที่นอกจากจะเป็นเทวาลัยบนยอดเขาไกรลาสสมมุติแล ้ว
ปราสาทภูเพ็กก็ยังเป็นปราสาทหินวัฒนธรรมปราสาทแบบเขมร
ในรูปแบบ “ปราสาทประธาน(วิมาน)เชื่อมต่อมณฑป” ที่อาจมีขนาดของฐาน”ใหญ่ที่สุดใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” อีกด ้วยครับ
.
ซึ่งก็ไม่อยากจะคิดจินตนาการต่อไปว่า หากเหล่าชายฉกรรจ์ร่างกายา
ที่กาลังแข่งขันก่อสร้างอุโมงค์ศิลา
(ซากคูหาของเรือนธาตุปราสาทที่พังทลายลงมาเป็นกองหินที่มีประตูทางเข ้า
ปราชญ์โบราณที่เคยมาเยือนและเขียนตานานขึ้นคงมองเห็นเป็นอุโมงค์
และผู้คนยุคต่อมาก็พากันเรียกว่า “ดอย (ที่มี)คูหา”) ไม่ถูกนารีพิฆาต
หลอกเอาโคมไฟลอยขึ้นไปประดับฟ้า ให้เสียอารมณ์จนหยุดก่อสร้างไปในคราวตานานหนึ่ง
และเหล่าฤๅษีที่ได ้มายกเอาอุโมงค์ศิลาไปสร้างพระธาตุพนมในคราวนั้น
ในวันนี้เราอาจจะได ้เห็น “มหาปราสาทบนยอดเขาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก”
.
.
...ที่บนยอดเขา “ภูเพ็ก” แห่งเทือกเขา “ ภูพาน” ก็เป็ นได้ !!!
.
.
.
.
.
“เทวาลัย – วิมาน” แห่ง ไศวะนิกาย – ปศุปตะ
บนยอดเขาไกรลาสแห่ง “อีสานเหนือ”
.
.
“ปราสาทภูเพ็ก” (Phu Phek Pr.) ในโลกปัจจุบันวันนี้
ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของบ ้านภูเพ็ก ตาบลนาหัวบ่อ อาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
ห่างจากตัวเมืองโดยทางถนนประมาณ 34กิโลเมตร ตามเส ้นทางถนนทางหลวงหมายเลข 22 จ
าก ช่วงตัวเมืองสกลนคร ไปยังอาเภอพรรณานิคม ประมาณ 21 กิโลเมตร
แยกซ ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข 2016 ผ่านบ ้านนาหัวบ่อ บ ้านหนองดินดา
ถึงเชิงเขาภูพานที่บ ้านภูเพ็ก
แล ้วผ่านบ ้านภูเพ็กไปทางโรงเรียนบ ้านภูเพ็กและขึ้นเขาตามเส ้นทางเดี่ยว อีกประมาณ 5
กิโลเมตร จะถึงลานจอดรถของวัดพระธาตุภูเพ็ก จากตัววัด
จะต ้องเดินเท ้าขึ้นบันได “หัวนาคคู่” ที่สร้างขึ้นใหม่ที่ทับอยู่บนซากบันไดโบราณอีก 491 ขั้น
ถึงยอดหน้าผาของดอยเพ็กทางด ้านทิศตะวันออก เดินเท ้าต่ออีกประมาณ 100 เมตร
ก็จะมาถึงตัวซากปราสาท
.
.
ปราสาทภูเพ็ก ตั้งอยู่บนยอดเขาทางทิศตะวันตกของหนองหาร
แนวเดียวกกับปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง ที่สร้างในยุคใกล ้เคียงกัน
.
ปราสาทภูเพ็กเป็นซากของปราสาทหินที่สร้างตามขนบแบบแผน ศิลปะ
และคติความเชื่อในสถาปัตยกรรมแบบ “ปราสาท” (Prasat) ของวัฒนธรรมเขมรโบราณ
บนยอดเขา "ดอยคูหาหรือดอยเพ็ก" ซึ่งเป็นยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาภูพานฝั่งตะวันตก
มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 520 เมตร
ตัวปราสาทสร้างขึ้นโดยใช ้วัสดุประเภท “หินทราย” (Sandstone) ซึ่งเป็นหินทรายในหมวดหิน
ภูพาน ลักษณะเป็นหินทรายสีเทาปนขาว เนื้อหินเป็นตะกอนปานกลางจนถึงหยาบ
เนื้อไม่ละเอียดมากนัก
.
หินที่ใช ้ในการสร้างปราสาทภูเพ็ก เป็นหินที่สกัดออกมาจากชั้นหินทราย
บริเวณที่เรียกว่า “ลานแค้นแท้” เป็น
ลานหินที่อยู่ห่างจากตัวซากปราสาทไปทางทิศตะวันตกสุดขอบหน้าผาดอยแท่น
ซึ่งในปัจจุบันยังพบเห็นร่องรอยของก ้อนหินทรายที่ถูกสลักแยกออกจากพื้นชั้น หินทราย
ทั้งที่สกัดขาดแล ้วเป็นก ้อนขนาดใหญ่
และที่อยู่ระหว่างสกัดเซาะเห็นเป็นร่องแนวหินรูปสี่เหลี่ยมจานวนมาก
.
.
บันไดหัวนาคคู่ ทำงขึ้นสู่ตัวปรำสำท
.
เล่าเป็นนิทานพื้นบ ้านต่อกันมาว่า ชื่อของลาน “แค้นแท้” บนยอดภูเพ็กนั้น
เป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากการแข่งขันสร้างอุโมงค์ระหว่างฝ่ายชายและฝ่าย หญิงนั่นแหละครับ
เพราะเมื่อตอนพ่ายแพ ้ด ้วยกลลวงดาวเพ็กปลอม
เหล่าบุรุษแห่งเมืองหนองหานหลวงก็ได ้ทิ้งเครื่องมือเซาะสกัด
ทิ้งงานบากหินไว้บนลานจนฝ่ายหญิงสร้างอุโมงค์เจงเวงสาเร็จ
แต่เมื่อรู้ตัวว่าได ้เสียรู้ให้กับฝ่ายสตรีจนสิ้นแล ้ว ต่างก็นั่งคอตกคอพับ
มีแต่ความแค ้นให้สุมอกหนา ...แต ้แต ้...
.
ส่วนเรื่องราวในเอปพิโสดต่อไป ฝ่ายชายจะไปก่อการร้าย
ทาอะไรฝ่ายหญิงแบบ “อุโมงค์แพ้
...คนไม่แพ้” ตามวิสัยของชาวสุวรรณภูมิที่ตกทอดมาถึงผู้คนในยุคปัจจุบัน
ที่นิยมการใช ้กาลังและพวกมากลากไปในเกมกีฬายุคใหม่ “บอลแพ้
...คนไม่แพ้” หรือไม่นั้น ...ตานานก็ไม่ได ้เล่าต่อซะด ้วยซิ....หุหุ
.
กลับมาเข ้าเรื่องต่อกันดีกว่า “ปราสาทหินภูเพ็ก” ถูกสร้างเพื่อให้เป็น "เทวสถาน" (S
hrine) ในลัทธิฮินดูตันตระ "ไศวะนิกาย" (Civaisme) นิกายย่อย “ปศุปตะ” หรือผู้บูชาพระ
ศิวะเป็นเทพสูงสุดในรูปของ “ศิวลึงค์” (Shiva Lingam) และ
จะสถาปนาเทวาลัยไว้บนยอดเขา เช่นเดียวกับที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง ปราสาทเขาพระวิหาร
หรือปราสาทวัดภูในประเทศลาวที่เรารู้จักกันดีนะครับ....ส่วนที่ไม่รู้จัก เดี๋ยวพาไปชมครับ...
.
จากเทวาลัยบนยอดเขาไกรลาส
(Kailasha) ที่ประทับแห่งองค์พระศิวะในคติความเชื่อ “ไศวะนิกาย –
ปศุปตะ” จึงกลายมาเป็นปราสาทหินบนยอดเขาในวัฒนธรรมเขมรโบราณ
ซึ่งก็ได ้รับอิทธิพลทางความเชื่อและศาสนาจากอินเดียผ่านมาทางชวา
(Java) มาตั้งแต่ครั้งราวพุทธศตวรรษที่10 - 11 อีกต่อหนึ่ง
ดังที่พบเทวาลับใกล ้ปากแม่น้าโขงที่ "ปราสาทอาศรมมหาฤๅษี” (Ashram Maharishi
Pr.) บนยอดเขาพนมดา จังหวัดตาแก ้ว และ"ปราสาทกุกพระธาตุ" (Kuk Preah
Theat Pr.) ที่เขาพนมฮันเจย ทางทิศเหนือของตัวเมืองกาปงจาม
ที่เป็นปราสาทหิน (หินบะซอลท์ – หินอัคนี) แผนผังกล่องสี่เหลี่ยม
(Cella) บนยอดเขาในยุคแรก ๆ
.
.
เขาพนมดา ยอดเขาเล็ก ๆ ใกล ้กับแม่น้าโขง
บนยอดเป็ นที่ตั้งของปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 17
บนรากฐานเก่าแก่ของปราสาทอิฐหลังเดิมในยุคพุทธศตวรรษที่ 10 -11
.
.
ปราสาทอาศรมมหาฤๅษี ปราสาทบนยอดเขายุคแรกในศิลปะแบบชวา
ที่เขาพนมดา จังหวัดตาแก้ว
.
ว่ากันว่า “หินบะซอลท์” (Basalt rock) ที่นามาใช ้สร้างเป็นองค์ปราสาทนั้น
อาจขนข ้ามน้าข ้ามทะเลมาจากเกาะชวาถิ่นที่มีหินภูเขาไฟมากมายโดยตรง
สอดรับกับคติความเชื่อของฮินดูตันตระในการเลือกวัสดุ “หิน” มาใช ้ในการก่อสร้างอาคารศาสน
สถานศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเชื่อกันว่า
หินที่ถือว่ามี “พลังอานาจ” มากที่สุดก็คือ “หินแกรนิต” (Granite
rock) ศาสนสถานฮินดูในอินเดียยุคโบราณ จึงนิยมนาหินแกรนิตมาสร้างอาคารศาสนสถาน
หลายแห่งก็ใช ้วิธีเจาะผนังเข ้าไปในภูเขา
ทั้งสร้างเป็นอาคารหินหรือหมู่ถ้าที่มีการแกะสลักหินอย่างงดงามตระการตา
.
.
.
ปราสาทกุกพระธาตุ อาคารรูปสี่เหลี่ยมมีเรือนยอดปราสาท
เป็ นปราสาทบนยอดเขาในยุคแรก ศิลปะแบบชวา บนเขาพนมฮันเจย
จังหวัดกาปงจาม ประเทศกัมพูชา
.
และเมื่ออิทธิพลทางคติความเชื่อในเรื่องพลังอานาจของหินแกรนิตจากวัฒนธรรม
อินเดีย เดินทางเข ้ามาสู่ชวา สัณฐานธรณีที่เกาะชวาก็มีหินอัคนี
แต่ประเภทหินบะซอลท์แทบทั้งสิ้น
การก่อสร้างอาคารศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์ในยุคเริ่มแรกของวัฒนธรรมอินเดียที่เข ้ามาสู่เกาะชวา
อย่างที่หมู่เทวสถาน “เดียง พลาโต” หรือ ที่ราบสูงเดียง (Dieng
Plateau) หรือที่หมู่เทวสถาน “พรัมบานัน” (Prambanan Hindu Temple) ศาสน
สถานที่สร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 – 13 จึงนิยมใช ้หินบะซอลท์
หินอัคนีหรือหินภูเขาไฟที่หาได ้ง่ายในภูมิภาคเป็นวัสดุหลักในการก่อสร้าง ครับ
.
.
เทวสถานฮินดู ที่เดียงพลาโด บนเกาะชวา ประเทศอินโดนิเชีย
.
.
หมู่เทวสถานฮินดูขนาดใหญ่ "พรัมบาน ัน" บนเกาะชวา ประเทศอินโดนิเชีย
ทางผ่านหลักของ "วัฒนธรรมอินเดีย" ที่เข ้าสู่เขมรโบราณ
.
และด้วยเหตุผลทางด้านศิลปะและวัสดุที่มีความคล้ายคลึงกันเป็ นอย่างมากกับช
วา อาคารศาสนสถานรูปกล่องสี่เหลี่ยมบนเขาพนมดาและพนมฮันเจย ที่มีประตูเข ้าทางเดียว
มีชั้นปราสาทซ ้อนลดหลั่น มีซุ้มปราสาทและวงโค ้ง “กุฑุ” ที่มีใบหน้าบุคคลแทรกอยู่
แทนความหมายของที่ประทับแห่งเทพเจ ้าตามลาดับชั้นบนสรวงสวรรค์
และมียอดแหลมคล ้ายรูปหัวหอมอยู่ด ้านบนสุดของหลังคา จึงน่าจะถูกสร้างขึ้นที่เกาะชวา
ก่อนจะถูกแยกส่วนเคลื่อนย ้ายข ้ามทะเลมายังดินแดนแห่งใหม่บนคาบสมุทรโดยผู้คน
ที่หลากลายจากเกาะชวาในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 12
สอดรับกับหลักฐานบางตอนของจารึก “ปราสาทสด๊อกก๊อกธม” (Sdok Kok Thom
Inscription) ที่กล่าวถึงเรื่องราวของ “มหาราชาแห่งซาบัค” (Maharaja of
Zabaj) ผู้ปกครองแห่งเกาะชวา (จาวกะ – Javaka) ได ้เข ้ามายึดครองเจนละ
ในช่วงเวลาแห่งความขัดแย ้งสับสน
ก่อนจะคลี่คลายออกไปสู่การเริ่มต ้นยุคสมัยอันเรืองรองของเมืองพระนคร
(Angkor) และลัทธิเทวราชา (Devaraja) ในยุคสมัยของ “พระเจ้าชัยวรมันที่ 2”
(Jayavarman II) ผู้ปลดปล่อยอาณาจักรเก่าแก่ให้หลุดพ ้นจากอานาจของจาวกะ
รวบรวมอาณาจักรเจนละที่แตกแยกให้กลับมาเป็นอาณาจักร “กัมพุชเทศะ” ที่ยิ่งใหญ่
.
.
ยอดบนสุดของปราสทอาศรมมหาฤๅษี มีซุ้มปราสาทและหน้าบันรูปโค ้งที่เรียกว่า
"กุฑุ"
ยอดบนสุดมีรูปร่างคล ้าย "หัวหอม"
.
ปราสาทหิน “เทวาลัย” บนยอดเขาในยุคแรก ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นปราสาทอิฐหลังเดี่ยว
(Brick Tower) ใช ้หินทราย
(Sandstone) ซึ่งเป็นหินที่หาได ้ง่ายในท ้องถิ่นเป็นคานรับน้าหนัก ไม่มีอาคารมณฑป
(Mandapa) อยู่ด้านหน้า ปราสาทบนยอดเขาที่อาจจะ “เก่าแก่” ที่สุดของวัฒนธรรมเขมร
อาจเป็นซากอาคารอิฐขนาดใหญ่ของ “ปราสาทวัดภู” (Wat Phou
Pr.) บนยอดเขา “ภูควาย” แขวงจาปาศักดิ์ ศูนย์กลางแห่งเจนละบกในยุคก่อนเมืองพระนคร
เป็นปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่11 – 12 (ซึ่งต่อมาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่
16 และ พุทธศตวรรษที่ 17 จึงมีการสร้างมหามณฑป
(Mandapa) ด ้วยหินทรายเชื่อมต่อที่ด ้านหน้าของเรือนธาตุปราสาทอีกทีหนึ่ง
.
.
.
.
ปราสาทอิฐขนาดใหญ่ด ้านหลังมณฑปในยุคพุทธศตวรรษที่ 17
และด ้านในห ้อง "ครรภคฤหะ"
ของปราสาทอิฐในยุคพุทธศตวรรษที่ 11 ปราสาทวัดภู แขวงจาปาศักดิ์
.
.
ทับหลังในยุคพุทธศตวรรษที่ 11 - 12 ที่พบอยู่ใกล ้เคียงกับปราสาทวัดภู
เป็ นรูปของมกรคลายท่อนพฤกษามีบุคคลในวงดอกไม ้ตรงกลาง
อันเป็ นลักษณะเด่นของทับหลังในยุค "สมโบร์ไพรกุก"
.
ปราสาทบนยอดเขายุคแรก ๆ ของวัฒนธรรมเขมรอีกกลุ่มหนึ่ง
คือกลุ่มปราสาทอิฐบนยอดเขา”พนมบายองกอร์” (Phnom
BayongKor) ทางทิศใต ้ของจังหวัดตาแก ้วติดกับชายแดนเวียดนาม
หมู่ปราสาทประกอบด ้วย “ปราสาทพนมบายัง” (Phnom Bayang Pr.) ปราสาท
อิฐหลังเดี่ยวอยู่บนยอดเขาโดดเป็นที่สังเกตได ้ง่าย
เป็นเทวาลัยศักดิ์สิทธิ์ในยุคแรกที่ยังคงถูกใช ้งานแห่งการบูชาทวยเทพมาโดย
ตลอดจากหลักฐานที่มีการก่อสร้างกาแพงศิลาแลงขึ้นเพิ่มเติมในยุคหลัง
อีกทั้ง “ปราสาทพระโค” (Preah Ko Pr.) “ปราสาทตาเนียนคางกรัท” (Ta Nhean
Khang Kaeut Pr.) และ “ปราสาทตาเนียนคางเลช” (Ta Nhean Khang Lech
Pr.) ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวที่ตั้งอยู่ใกล ้เคียงกันในระดับเขาที่ต่ากว่า
กลุ่มปราสาทเก่าแก่บนยอดเขานี้อาจมีอายุเริ่มต ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่12
และบางหลังอาจสร้างขึ้นในช่วงเวลาต่อมาไม่นานนัก ซึ่งเป็นช่วงปลายสมัยวัฒนธรรมเจนละ
(Chenla Culture) ที่กาลังเข ้าสู่สมัยเมืองพระนคร (Angkor Period)
.
.
.
.
.
ปราสาทพนมบายัง ปรำสำทบนยอดเขำพนมบำยองกอร์
.
.
.
“ปราสาทพระโค” บนเนินเขำพนมบำยองกอร์
.
.
“ปราสาทตาเนียนคางกรัท” บนชั้นเนินของเขำพนมบำยองกอร์
.
.
“ปราสาทตาเนียนคางเลช” ปรำสำทหลังเดี่ยวอีกหลังหนึ่งบนเนินเขำ
.
ข ้ามเข ้ามาในประเทศไทยซักนิด ปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาในประเทศไทย
ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดคือ “ปราสาทเขาน้อยสีชมพู” (Khao Noi Si Shampu
Pr.) หมู่ปราสาทอิฐสามหลังบนยอดเขาขนาดไม่สูงมากนัก (แต่
หากเดินขึ้นบันไดเนี่ย...เหนื่อยจิง จิง) ในเขตอาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก ้ว
เริ่มต ้นก่อสร้างปราสาทหลังแรกในราวพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากนั้น
เมื่อเกิดอิทธิพลทางคติความเชื่อที่ผสมผสานระหว่างลัทธิไศวะนิกายกับ “ตรีมูรติ”
(Trimurti) ที่หันกลับมาให้การยอมรับนับถือพระพรหม (Brahma) และพระวิษณุ
(Vishnu) ในการสักการบูชาคราวเดียวกับพระศิวะ
(Shiva) นาไปสู่แบบแผนการสร้างปราสาทสามหลังมาตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่14
ทั้งบนพื้นราบและบนยอดเขา ปราสาทเขาน้อยสีชมพูจึงได ้ถูกเปลี่ยนแปลงบูรณะ
จากปราสาทหลังเดี่ยวมาเป็นปราสาทแบบตรีมูรติสามหลัง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
ปราสาทเขาน้อยสีชมพู จังหวัดสระแก้ว
.
ย้อนกลับไปที่กัมพูชา ปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาในช่วงเวลาต่อมา
ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต ้นของวัฒนธรรมขอม –
กัมพุชเทศในยุคเมืองพระนคร (Angkor Period) สืบต่อจากวัฒนธรรมเจนละ
ยังพบปราสาทเก่าแก่บนยอดเขาในคติความเชื่อไศวะนิกาย ที่ “ปราสาทพนมบาเส็ท”
(Phnom Baset Pr.) ที่จังหวัดกันดาล
ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวที่มีลวดลายแกะสลักบนผนังอิฐและทับหลังใบไม ้ม ้วนอันเลื่องชื่อในยุคศิล
ปะแบบ “กาพงพระ” ( Kampong Kreah Style) และที่ “ปราสาทออกยม” (Ak yom
Pr.) จังหวัดเสียมเรียบ ปราสาทอิฐในยุคแรก ๆ บนยอดเขาเตี้ย ๆ
ที่กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของคันบารายตะวันตกทางทิศใต ้
.
.
.
ปราสาทพนมบาเสท ปรำสำทบนยอดเขำในยุคพุทธศตวรรษที่ 13
.
.
ปราสาทออกยม ปรำสำทบนยอดเขำในยุคแรก ๆ รำวพุทธศตวรรษที่ 12 - 13
.
ในช่วงเวลาเดียวกัน ยังมีการสร้างกลุ่มปราสาทอิฐบน “มเหนทร -
บรรพต” (Mahendraparvata) หรือเทือกเขา “พนมกุเลน” (Phnom Kulen
Mountain) ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งอาณาจักรยุคแรก ที่สร้างขึ้นในหลายช่วงเวลา
เช่น “ปราสาทดาเร็ยกรับ” (Damrei
Krap Pr.) ที่เป็นกลุ่มปราสาทอิฐสามหลังทางทิศใต ้ของเทือกเขาพนมกุเลน “ปราสาทเนียก
ตา” (Neak Ta Pr.) “ปราสาทโอพะออง” (O Pha Ong Pr.) “ปราสาทธมาดรับ”
(Thma Dap Pr.) และ “ปราสาทพระอารามโรงจีน” (Krus Preah Aram Rong Chen
Pr.) ที่มีลักษณะของฐานอาคารเทวาลัยเครื่องไม ้ที่ยกชั้นสูงเป็นขั้น บนเนินเขาขนาดใหญ่
.
.
ปราสาทดาเร็ยกร ับ หมู่ปราสาทสามหลังบนยอดเขาพนมกุเลน
.
.
ปราสาทธมาดร ับ ปราสาทหลังเดี่ยวในยุคพนมกุเลน
.
.
ปราสาทเนียกตา บนเขาพนมกุเลน
.
.
ปราสาทพระอารามโรงจีน บนเขาพนมกุเลน
.
ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 14 – ต้นพุทธศตวรรษที่ 15 จึง
เริ่มปรากฏแบบแผนของการสร้างอาคารประกอบพิธีกรรมหรือที่เรียกว่า “มณฑป” (Mohndoh
p - Mandapa) มาตั้งทางด ้านหน้าของปราสาทประธานเป็นครั้งแรก
เป็นมณฑปแบบที่เป็นอาคารผนังทึบยัง “ไม่มีประตูข้าง” อย่างเช่นมณฑปเชื่อมปราสาทอิฐหลั
งกลางของ “ปราสาทกอกโป” (Kok Pouh Pr.) “ปราสาทเสาตาต่วย” (Sak Ta Tuy
Pr.) และ “ปราสาทตระเปรียงขยัง” (Trapreang
Khyang) (ซึ่งทั้งหมดก็ยังไม่ใช่ปราสาทเทวาลัยแบบที่อยู่บนยอดเขาธรรมชาตินะครับ)
.
.
ปราสาทกอกโป ปราสาทอิฐในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 15
ที่อาจเป็ นปราสาทเชื่อมต่อกับอาคารมณฑปหลังแรก ๆ
.
.
ปราสาทเสกตาต่วยหรือปราสาทว ัดปราสาท
ปราสาทอิฐในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 15
.
รูปแบบของการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดเขา
เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากเพียงการสร้างปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนภูเขาธรรมชาติ
มาเป็นการดัดแปลงภูเขาขนาดเล็กให้กลายเป็น “พีระมิด” (Pyramid) ขั้นบันไดขนาดใหญ่
แล ้วสร้างหมู่ปราสาทตามแบบแผน “วงล้อมรอบจุดศูนย์กลาง” (Plan
Centre) ที่มีเรือนยอดของปราสาทใหญ่น้อยรายล ้อมปราสาทประธาน
ตามคติแผนผัง “จักรวาล –
สรวงสวรรค์” และคติของ ”มูรติทั้งแปด” ที่ก่อกาเนิดเป็นรูปกายและอานาจแห่งองค์พระศิวะ
ครั้งแรกที่ “ปราสาทบากอง” (Bakong Pr.) เมืองหริหราลัย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
.
ปราสาทพีระมิดบากอง ที่มีการวางผนผังรูปมณฑลจักรวาล
และ "มูรติท ั้ง 8 " เป็ นครั้งแรก
.
ในภายหลังการสถาปนาเมืองพระนครหลวง หรือ “ศรียโสธรปุระ” (Sri
Yacodharapura) ขึ้น โดย “พระเจ้ายโสวรมันที่ 1” (Yasovarman
I) ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 15 ได ้มีการดัดแปลงภูเขา “พนมบาแค็ง – วนา กันดาล”
(Phnom Bakheng – Vnam Kantal
Mountain) ให้กลายเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งอาณาจักร ในชื่อของ “ศรียโสธรคีรี” (Sri
Yasodharagiri) ประดิษฐานรูปศิวลึงค์“ยโศธเรศวร” ขนาดใหญ่
แทนความหมายขององค์พระศิวะ มีการสร้างพีระมิดขั้นบันไดแผนผังจักรวาล 4 เหลี่ยม จานวน
5 ชั้นตามแผนผังแบบ “วงล้อมรอบจุดศูนย์กลาง” (Plan Centre) ขึ้น
โดยการใช ้หินส่วนยอดของภูเขาธรรมชาติเป็นแกนด ้านใน
และสร้างปราสาทวิมานขนาดเล็กที่ประทับแห่งทวยเทพตามลาดับชั้นบนสรวงสวรรค์
รายล ้อมจานวน 108 องค์
ซึ่งเป็นการจาลองภาพของระบบจักรวาลตามแบบ “ดาราศาสตร์ผสมผสานคติความเชื่อ” ข
องลัทธิฮินดู ที่มีเขาพระสุเมรุเป็นจุดศูนย์กลางหรือ “แก่นจักรวาล” (Cosmic
Axis) มีปราสาทเทวาลัยขนาดใหญ่เป็นประธาน
ในความหมายของวิมานที่ประทับขององค์พระศิวะบนเขาไกรลาสที่จะตั้งอยู่สูงขึ้น
ไปจากเขาพระสุเมรุอีกทีหนึ่ง
.
.
ปราสาทพนมบาแค็ง ปราสาทบนยอดเขาผสมระหว่างแกนเขาธรรมชาติพนมกันดาล
กับฐานพีระมิดลาดับสรวงสวรรค์ 5 ชั้นที่โอบล ้อมอยู่ด ้านนอก
.
นอกจากจะถูกสถาปนาให้เป็นศูนย์กลางทางความเชื่อและศูนย์รวมจิตใจแห่ง
อาณาจักรใหม่แล ้ว
ปราสาทพนมบาแค็งก็ยังเป็นศูนย์กลางของ “อานาจ” แห่งผู้เป็นสมมุติเทพบนพื้นโลกของระบ
บการปกครองแบบ “เทวราชา”
(Devaraja) ที่ตั้งตระหง่านบนยอดเขากึ่งกลางของมหานคร “ศรียโสธรปุระ” และ
บาราย “ยโศธรฏฏะกะ” หรือบารายตะวันออก (Eastern
Baray) ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงเวลาเดียวกัน
.
.
ภำพวำดของ Maurice Fiévet ในปี 1950
แสดงภำพของพระเจ้ำยโศวรมันประทับอยู่บนยอดสูงสุดของปรำสำทพนมบำแค็ง
กำลังทอดพระเนตรแผ่นดินและวำงแผนกำรจัดสรรน้ำจำกบำรำยเพื่อกำรเกษตรกรรม
.
ปราสาทเทวาลัย –
ศาสนบรรพตบนยอดเขาเทียมแบบพีระมิดขั้นบันไดตามคติไศวะนิกาย – ปศุปตะ
ยังคงได ้รับความนิยมสถาปนาขึ้นมาโดยตลอดช่วงพุทธศตวรรษที่15
เช่นที่ “ปราสาทปักษีจากรง” (Baksai Chamkrong
Pr.) ทางทิศใต ้ของเมืองพระนครธม “มหาปราสาทธม” (Thom
Pr.) พีระมิดขั้นบันไดที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้
ศูนย์กลางแห่งนคร “โฉกครรคยาร์ – เกาะแกร์” (Chok Gargyar – Kor
Ker) “ปราสาทแม่บุญตะวันออก” (Eastern Mebon Pr.) ที่ล ้อมรอบด ้วยปราสาทมูรติทั้ง
8 และ “ปราสาทแปรรับ” (Pre Rup Pr.) ทางทิศใต ้ของบารายตะวันออก
.
.
ปราสาทปักษีจากรง
.
.
"ปราสาทธม" มหาปราสาทรูปทรงพีระมิดขั้นบันได ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค
.
.
ปราสาทแปรร ับ กับการสืบทอดคติความเชื่อของ "มูรติท ั้ง 8 "
.
.
กลุ่มปราสาทประธาน บนยอดพีระมิดแห่งปราสาทแม่บุญตะวันออก
.
แต่กระนั้น
กษัตริย์สมมุติเทพแห่งอาณาจักรอันยิ่งใหญ่และเหล่าผู้ปกครองต่างพระเนตรพระ
กรรณในท ้องถิ่นต่าง ๆ
ก็ยังคงมีความนิยมสร้าง “ศาสนบรรพตบนยอดเขาธรรมชาติ” ในช่วงเวลาเดียวกันหลายต่อ
หลายแห่ง เช่น ที่ “ปราสาทพนมกรอม” (Phnom Krom
Pr.) ปราสาทหินทรายสามหลังตามคติ “ตรีมูรติ”
(Trimurti) บนเนินเขาขนาดเล็กทางทิศตะวันตกของตัวเมืองเสียมเรียบใกล ้กับโตนเลสาบ “ป
ราสาทพนมบก” (Phnom Bok
Pr.) ปราสาทหินทรายสามหลังตามคติ “ตรีมูรติ” บนยอดเขาโดดทางทิศตะวันออกของบาราย
ตะวันออก “ปราสาทพนมได 2” หรือ “ปุรันทรบรรพต” (Phnom Dei 2 Pr.-
Purandraparvata) ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนยอดเขา
ทางทิศตะวันออกของปราสาทบันทายสรี (Banteay Srei Pr.) “ปราสาทพนมโต๊ป” (Phnom
Trop) ปราสาทอิฐสามหลังบนยอดเขาศิลปะแบบแปรรับ
ตามคติ “ตรีมูรติ” ที่จังหวัดกัมปงจาม “ปราสาทพนมพรนารายณ์” (Phnom
Ponnareay Pr.) ปราสาทอิฐคู่ตามคติ ศิวะ – ศักติ” (Shiva – Sakti) ที่จังหวัดกาปงชนัง
หรือ “ปราสาทพนมสันดัก” (Phnom Sandak
Pr.) ปราสาทบนยอดเขาแห่งนคร “โฉกครรคยาร์ – เกาะแกร์” ศิลปะแบบเกาะแกร์ (Kor
Ker Style) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต ้ของจังหวัดพระวิหาร
.
.
.
ทิวเขาพนมกรอมและปราสาทหินสามหลังในคติตรีมูรติบนยอดเขา
อายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
.
เขาพนมบกและปราสาทหินสามหลังในคติตรีมูรติบนยอดเขา
อายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
.
เขาพนมได 2 และปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนยอดเขา
อายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
.
.
.
ทิวเขาพนมโต๊ปและปราสาทอิฐสามหลังในคติตรีมูรติบนยอดเขา
และรูปสลักเทพเจ้าลงบนผนังอิฐในคูหาอันงดงาม
อายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
.
ทิวเขาพนมพรนารายณ์และปราสาทหินสองหลังในคติศิวะ - ศักติบนยอดเขา
อายุในราวกลาง - ปลายพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
.
ทิวเขาพนมสันดักและหมู่อาคารปราสาทในคติไศวะนิกายบนยอดเขา
อายุในราวกลาง - ปลายพุทธศตวรรษที่ 15
.
ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 15 จนถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 16 (หรือราว 900
ปี ที่แล้ว) ก็ยังคงมีความนิยมในการสร้างปราสาทบนยอดเขาจักรวาลจาลองในรูปแบบของพีระมิ
ดขั้นบันได ทั้งที่ “ปราสาทตาแก้ว” (Ta Keo
Pr.) ปราสาทยอดห้าหลังที่ใช ้หินทรายสีเขียวที่มีคุณภาพดีที่สุดในบรรดาหินทรายสีต่าง ๆ
ที่ตั้งอยู่นอกเมืองพระนครธมทางด ้านตะวันออก และ “ปราสาทพิมานอากาศ”
(Phimeanakas Pr.)ในบริเวณเขตพระราชวังหลวงของนครศรียโศธรปุระ ที่ “โจวต้ากวาน”
(Chou Ta-kuan) ราช
ทูตมองโกลที่เดินทางเข ้ามาเยือนเมืองพระนครหลวงในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่18 เล่าว่า
เป็นที่พานักของนางนาคเก ้าเศียร ที่พระราชาต ้องมาบรรทมและสมสู่ด ้วยในทุกคืน
หากพระราชาลืมสังวาสเสพสวาทในวันใด... ก็อาจจะนามาซึ่งความล่มสลายของอาณาจักร
.
.
ปราสาทตาแก้ว หมู่ปราสาทขนาดใหญ่ 5 หลังบนฐานพีระมิด
.
.
ปราสาทพิมานอากาส ที่ต ้องร่วม "สวาท" เพื่ออาณาจักร
.
....มีเมียงูยั่วสวาท....ก็ต้องตามใจกันหน่อย !!!
ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่
15 ยังพบรูปแบบปราสาทเชื่อมมณฑปแบบผนังทึบแผนผังสี่เหลี่ยมผืนผ ้า
เข ้าได ้เฉพาะทางทางด ้านหน้า ที่ปราสาทประธานของ “กลุ่มปราสาทมูรติทั้ง
8” ที่ “ปราสาทธม” (Thom Pr.) นครโฉกครรคยาร์ – เกาะแกร์
ซึ่งก็เป็นมณฑปที่ยังไม่มีประตูด ้านข ้าง
.
และยังพบรูปแบบของอาคารมณฑปเชื่อมต่อด ้านหน้าประธานแบบใช ้เสายันโครงสร้าง
ไม้เรือนหลังคา ของปราสาทบนยอดเขาตามคติไศวะนิกาย – ปศุปตะ หลังแรก ๆ
ของวัฒนธรรมปราสาทแบบเขมร
น่าจะอยู่ที่ปราสาทประธานของ “ปราสาทพระเนียคบวช” (Preah Neak Buos
Pr.) ทางทิศเหนือของจังหวัดพระวิหาร ใกล ้ชายแดนไทยด ้านอาเภอน้ายืน
จังหวัดอุบลราชธานี
และปราสาทบนยอดเขาที่มีความชัดเจนของการเชื่อมต่ออาคารมณฑปด้านหน้าที่
“เก่าแก่” ที่สุดในประเทศไทย ก็น่าจะเป็นที่ “ปราสาทโดนตวล” (Don Tuan Pr.) อาเภอ
กันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ
ตั้งอยู่ห่างจากปราสาทเขาพระวิหารไปทางทิศตะวันออกประมาณ 7 กิโลเมตร
เป็นปราสาทบนยอดเขาใกล ้หน้าผา ที่มีโครงสร้าง รูปแบบและวัสดุ
แบบเดียวกันกับปราสาทพระเนียคบวช
ที่อยู่ห่างไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต ้ในเขตจังหวัดพระวิหารประมาณ 32 กิโลเมตร
ทั้งสองปราสาทจะใช ้“หินศิลาแลง” (Laterite) เป็นวัสดุหลักในการก่อสร้างตั้งแต่ส่วนของฐ
านขึ้นมาถึงชั้นเรือนธาตุบริเวณเหนือกรอบประตู(Door Frame)เล็ก น้อย
ส่วนบนเรือนธาตุขึ้นไปจะก่อด ้วยอิฐเป็นยอดเรือนปราสาท
ส่วนทางด ้านหน้าของทั้งสองปราสาท จะสร้างเป็นอาคารเชื่อมต่อโดยใช ้เสาหิน
และเสากรอบประตู รองรับน้าหนักของอิฐที่ก่อเป็นผนังและค้ายันโครงสร้างเครื่องไม้
อีกทั้งยังปรากฏ “ร่องรู” ของการสอดคานเครื่องไม้หลังคาบนหน้าบัน
(Pediment) ของปราสาทประธานอย่างชัดเจน
.
.
.
หมู่อาคารของปราสาทพระเนียคบวช ปราสาทเชื่อมมณฑปบนเขาธรรมชาติในยุคแรก
และแผนผังที่ได ้จากการสารวจโดยสานักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ
อายุในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
ปราสาทโดนตวล ปราสาทเชื่อมมณฑปบนเขาธรรมชาติที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
อายุในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 15 สร้างขึ้นพร้อมกันกับปราสาทพระเนียคบวช
.
ถ ้าใครอ่านมาถึงตรงนี้ คงจะต ้องแยกสติกันหน่อยนะครับ
ระหว่าง “ปราสาทบนยอดเขา” กับ”ปราสาทเชื่อมต่อกับเรือนมณฑป” คือปราสาทหินบนย
อดเขานั้นจะพบได ้ทั้งรูปแบบของ “ปราสาทยอดเดี่ยว ปราสาทสามยอด
และปราสาทที่มีเรือนมณฑปเชื่อมต่อกับตัวปราสาทประธานของเทวสถาน” ครับ
.
.
ปราสาทแบบหลังเดี่ยว
.
.
ปราสาทแบบสามหลัง
.
.
ปราสาทแบบปราสาทประธาน (วิมาน)
เชื่อมต่อก ับอาคารมณฑปด้วยมุขกระสัน - ฉนวนทางเดิน - อันตราละ
.
กลับมาที่เรื่องของปราสาทบนยอดเขาก่อนนะครับ ในช่วงหลังพุทธศตวรรษที่ 15
– ช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 รูปแบบของปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาตามคติความเชื่อไศวะนิกาย
– ปศุปตะ ก็ยังคงได ้รับความนิยมสร้างขึ้นหลายแห่ง เช่นที่ “ปราสาทพนมได 1” (Phnom
Dei 1) เนินเขาที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมืองพระนคร “ปราสาทเขาโล้น” (Khao Lon
Pr.) อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก ้ว “ปราสาทปลายบัด 1” (Plai Bat 1
Pr.) และ “ปราสาทปลายบัด 2” (Plai Bat 2 Pr.) ปราสาทหินบนยอดภูเขาไฟ 2 ยอดคู่
ที่อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ “ปราสาทเขาปู่ จ่า (Khao Puuja
Pr.) ปราสาทอิฐบนยอดเขาเล็ก ๆ ที่อาจตั้งอยู่ไกลสุดจากเมืองพระนครหลวง ที่อาเภอคีรีมาศ
จังหวัดสุโขทัย หรือซากของ “ปราสาทภูฝ้ าย” (Phu Fai Ruin) ที่อาเภอขุนหาญ
จังหวัดศรีสะเกษ หรือ ซากศาสนสถานบนยอดเขา(ที่หายไปแล ้วเหลือแต่ฐานศิวลึงค์)
บนยอดภูโค ้ง อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ และซากปราสาทหลังเดี่ยวบนยอดเขากระโดง
จังหวัดบุรีรัมย์
.
.
ปราสาทพนมได 1 ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนเนินเขาเตี้ย ๆ
.
.
ปราสาทเขาโล้น ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนยอดเขา จังหวัดสระแก ้ว
.
.
แนวเทือกเขาภูเขาไฟ ทางซ ้ายเป็ นยอดเขาปลายบัด 1 และทางขวาเป็ นยอดเขาปลายบัด 2
อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
.
.
.
ปราสาทเขาปลายบ ัด 1 เป็ นปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นบนยอดเขาในยุคปลายพุทธศตวรรษที่ 15
ก่อนจะมีการมาบูรณะสร้างเสริมใหม่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17
.
.
ปราสาทเขาปลายบ ัด 2 เป็ นปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นบนยอดเขาปลายบัดอีกหลังหนึ่ง
ที่มีการวางแนวกาแพงล ้อมรอบ ในยุคปลายพุทธศตวรรษที่ 15
.
.
ซากกองหิน - อิฐของปราสาทภูฝ้ าย จังหวัดศรีสะเกษ
อายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 16
.
.
ปรางค์อิฐหลังเดี่ยวบนเขาปู่ จ่า
อายุในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 จังหวัดสุโขทัย
.
.
ปราสาทอิฐหลังเดี่ยว บนยอดเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์
อายุในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 - 17
.
ซึ่ง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 นี้ ได ้เกิดการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดเขา
ที่มีการจัดวางแผนผังของกลุ่มอาคารมณเฑียร บรรณาลัย โคปุระ
อาคารระเบียงคดล ้อมรอบและระดับชั้นที่มีแผนผังซับซ ้อนมากขึ้น
ตัวปราสาทประธานมีขนาดใหญ่และมีการเชื่อมต่อเข ้ากับเรือนมณฑป ด ้วยอาคาร “ฉนวน
(ทางเดิน) – มุขกระสัน – อันตราละ”(Antarala) เช่นที่ “ปราสาทตาเมือนธม“ (Ta
Muan Thom Pr.) ปราสาทศักดิ์สิทธิ์บนช่องเขาตาเมือน ที่อาเภอพนมดงรัก
จังหวัดสุรินทร์ “ปราสาทวัดภู” (Wat Phu Pr.) แขวงจาปาศักดิ์ ประเทศลาว
โดยการเริ่มขุดบาราย ก่อหินขึ้นเป็นขั้นพีระมิดขนาดใหญ่ สร้างทางดาเนินขึ้นสู่ภูควาย
ที่เป็นที่ตั้งของปราสาทอิฐเก่าแก่ขึ้นใหม่ และ “ปราสาทพระวิหาร” (Preah Vihear
Pr.) ปราสาท “ศาสนบรรพต” ที่มีความโดดเด่นที่สุดในอุษาคเนย์
.
.
ปราสาทประธาน ปราสาทพระวิหาร
.
.
.
หมู่อาคารพลับพลา ชาลาทางเดินและผนังชั้นบันไดขนาดใหญ่ ของปราสาทวัดภู
เริ่มสร้างขึ้นในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16
.
และในช่วงเวลาเดียวกันนี้ ก็ยังคงมีความนิยมในการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดพีระมิด
(ภูเขาจาลองลาดับชั้นสรวงสวรรค์5 ชั้น) สืบต่อเนื่องจากยุคก่อนหน้า
แต่ก็มีคติความเชื่อที่เปลี่ยนแปลงไป จากความนิยมของอาณาจักรในลัทธิไศวะนิกาย – ปศุปตะ
และตรีมูรติ ก็ได ้กลืนกลายมาเป็นคติ “ไวษณพนิกาย” ที่ยกย่องบูชาให้พระวิษณุ
(พระนารายณ์) ขึ้นเป็นเทพเจ ้าสูงสุดในกลุ่มตรีมูรติ
กลายมาเป็นการผสมผสานการก่อสร้างปราสาทหินตามแผนผังจักรวาลรูปทรงพีระมิด
เดิมกับคติความเชื่อใหม่ของอาณาจักร ที่ “ปราสาทบาปวน (Baphhuon
Pr.)” ทางทิศใต ้ของพระราชวังหลวง
.
.
ปราสาทบาปวน ปราสาทพีระมิดในคติฮินดูแบบ "ไวษณพนิกาย"
.
ปราสาทวิมานบนยอดเขาที่น่าสนใจในยุคปลายพุทธศตวรรษที่16 อีกหลังหนึ่ง
คือ “ปราสาทเจ้าสรีวิบล” (Prasat Chau Srei Vibol Pr.) ปราสาท
หินบนยอดเขาโดดเล็ก ๆ ห่างไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต ้ของมุมบารายตะวันออกประมาณ 16
กิโลเมตร เป็นปราสาทที่มีการจัดวางแผนผังของกลุ่มอาคารศาสนสถาน ซุ้มประตูโคปุระ
มณเฑียร บรรณาลัย และระดับชั้นที่มีแผนผังซับซ ้อน
ในระบบ “ระเบียงคด” ล ้อมรอบปริมณฑลศักดิ์สิทธิ์ที่จุดศูนย์กลาง
ล ้อมรอบด ้วยกาแพงและคูน้าขนาดใหญ่ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก
.
.
.
.
.
ปราสาทเจ้าสรีวิบล ปราสาทหินหลังเดี่ยวบนยอดเขา
ที่มีการวางหมู่อาคารระเบียงคดล ้อมรอบปราสาทประธาน
.
หลังจากพุทธศตวรรษที่ 16 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 17
เป็ นต้นมา ความนิยมในการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาทั้งแบบปราสาทหลังเดี่ยว
ปราสาทสามยอดและหมู่อาคารปราสาทที่มีแผนผังซับซ้อน ก็ยังคงปรากฏอยู่หลายแห่งทั้
งในเขตของประเทศไทยและกัมพูชา ที่มีชื่อเสียงที่สุดก็คงไม่พ ้น “ปราสาทเขาพนมรุ้ง”
(Phnom Rung
Pr.) ศาสนบรรพตบนยอดภูเขาไฟที่งดงามที่สุดในประเทศไทย ที่อาเภอเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดบุรีรัมย์ และปราสาทหินหลังเดี่ยวบนยอดเขาในยุคปลายพุทธศตวรรษที่ 17
อย่าง “ปราสาทตาควาย – ตากระเบย “(Ta Khwai – Ta Krabei Pr.) อาเภอ พนมดงรัก
จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทหินทรายที่ยังไม่ได ้แกะสลักรูปศิลปะใด ๆ
บนยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก
ท่ามกลางความขัดแย ้งของเรื่อง “เส้นสมมุติ” มาจนถึงในทุกวันนี้
.
.
.
เทือกเขาพนมรุ ้ง ที่ตั้งของมหาศาสนบรรพตที่มีความงามที่สุดในภูมิภาค "ปราสาทเขาพนมรุ้ง"
.
.
ปราสาทตาควาย ปราสาทปริศนาในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 18
ตั้งอยู่บนยอดเขา "สันปันน้า" ยอดหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก
.
.
.
.
ปราสาท “วิมาน” เชื่อมต่อมณฑปบนยอดเขา
ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอุษาคเนย์
.
.
.
ถึงปราสาทภูเพ็กจะเป็นเพียงซากของฐานอาคารปราสาทหินขนาดใหญ่บนยอดเขา
แต่รูปแบบของแผนผังรวมเป็นแบบที่ใช ้แกนยาวเป็นหลัก (Plan Axe) ในแนวตะวันออก –
ตะวันตก ที่เริ่มต ้นจากบันไดต ้นทางมายังชาลาทางเดินหรือทางดาเนิน
(Pathway) ตรงขึ้นสู่ตระพักบันได (Terrace) ก่อนขึ้นสู่บันได
(Staircase) ที่ไต่ระดับความลาดชันขึ้นไปสิ้นสุดที่เพิงหน้าผาหินทรายทางด ้านหน้าของยอดเข
าดอยเพ็ก
.
.
ชาลาทางเดิน หันหน ้าขึ้นไปสู่ยอดเขา
.
จากแนวแกนยาวเส ้นตรง เมื่อผ่านขึ้นไปสู่ยอดเขา ระยะทางกว่า 100 เมตร
ก็จะพบตัวฐานของปราสาทภูเพ็ก
วางตัวทอดยาว “หมุนหน้า” (Orientations) ไปทาง “ทิศตะวันออกแท้” (Due
east ) โดยจะเห็นพระอาทิตย์ขึ้นตรงกับกรอบประตูในช่วงวัน “วสันตวิษุวัต” (Vernal
Equinox) ซึ่งเป็นวันที่ “เวลา” (Times) ของช่วงสว่าง (กลางวัน) และช่วงมืด(กลางคืน)
ในหนึ่งวันจะมีเวลาใกล ้เคียงกันมากที่สุดในรอบปี โดยแนว ฐานปราสาทภูเพ็ก
จะทามุมเฉียงขึ้นไปทางทิศเหนือจากแนวเส ้นขนานละติจูด (Latitude Parallel) ประมาณ 3
องศา (มุม Azimuth 87 องศา)ในช่วงเวลาหนึ่งของเดือนมีนาคมและกันยายนในทุกปี
พระอาทิตย์จะพ ้นขึ้นที่ขอบฟ้าทางทิศตะวันออกแท ้ตรงกับแกนหลักของปราสาทพอดี
.
.
บนยอดฐานมณฑปของปราสาทภูเพ็ก แนวแกนยาวหันหน ้าไปทางทิศตะวันออก
.
ซึ่งก็เหมือนกันกับการหมุนหน้าหรือหมุนทิศของปราสาทเทวาลัยในวัฒนธรรมปร
าสาทของเขมรโบราณโดยทั่วไปครับ ที่ส่วนใหญ่ก็จะเริ่มต ้นจากการ “รังวัด” หา
มุมแสงของพระอาทิตย์ยามรุ่งเช ้าในช่วงเวลาอันเป็นมหามงคลฤกษ์ (ที่เรียกกันง่าย ๆ ว่า
ฤกษ์งามยามดี)
ในศาสตร์วิศวกรรมและดาราศาสตร์ธรรมชาติที่ซ่อนตัวอยู่ใน “ระบบความเชื่อ” (Belief
System) โดยวางแผนผังตามแนวของแสงพระอาทิตย์ขึ้นยามเช ้า
แสงทาบเป็นเงาจากหลักหมุดหนึ่งไปยังอีกหลักหนึ่งตามแนวเงาไปทางทิศตะวันตก
เพื่อเตรียมการก่อสร้างอาคารศาสนสถานตามแนวหลักที่กาหนดขึ้นจากแสงอาทิตย์
สอดรับกับคติความเชื่อเก่าแก่ที่สืบทอดกันต่อมาตั้งแต่ยุคเก่าก่อน
.
ในสังคมเกษตรกรรมโบราณ (Ancient agricultural
society) ซึ่งเป็ นสังคมบรรพกาล (Primitive
Society) ก่อนการกาเนิดเกิดขึ้นของคติความเชื่อทางศาสนาที่ซับซ ้อนและมากขั้นตอน
ช่วงเวลา “วสันตวิษุวัต” (March
equinox) ก็คือช่วงเวลาของการ “เริ่มต้น” ของวิถีการผลิตในฤดูกาลเพาะปลูกใหม่
ที่จะต ้องใช ้การสังเกตช่วงเวลานี้ของรอบปี เพื่อการคานวณเวลาในการเตรียมเมล็ดพันธุ์
เพาะต ้นกล ้า เตรียมไถปรับดิน
ถากร่องน้าและซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องใช ้ให้พร้อมพอเหมาะพอดีกับฝนแรกของ
ช่วงฤดูกาลใหม่ ที่จะตกลงมาในช่วงเวลาอีกไม่นานนัก
.
การคานวณเวลาใหม่ที่ถูกต ้องจะนามาซึ่ง “ผลผลิต” (Productivity) ที่
เพียงพอต่อการอยู่รอดของชุมชน สังคมเกษตรกรรม
และจะนาไปสู่ความเจริญเติบโตของสังคมขึ้นเป็นเมืองและวัฒนธรรมที่มีความซับ ซ ้อน
มีพัฒนาการจนกลายเป็นอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่
.
แต่หากการคานวณเวลาผิดพลาด ชักช ้าไม่ทันการ
ชุมชนเกษตรกรรมโบราณที่ไม่มีเทคโนโลยีในการควบคุมธรรมชาติเฉกเช่นในยุค ปัจจุบัน
ก็จะสุ่มเสี่ยงต่อ “การล่มสลาย” (Disintegrations) ของชุมชนไปตลอดกาล
.
ช่วงเวลาเริ่มต ้นฤดูเพาะปลูกจากการสังเกตการขึ้นของดวงอาทิตย์ของมนุษย์
จึงได ้กลายมาเป็น “ความสาคัญ” อย่างมหาศาลแก่มนุษย์ในสังคมเกษตรกรรม
และเมื่อมีความสาคัญเช่นนี้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ใน “อานาจเหนือธรรมชาติ”
(Animism) ที่พัฒนากลายมาเป็นคติความเชื่อทางศาสนา และเทวนิยมก็ยังคงสืบทอด –
รักษาช่วงเวลาอันเป็นสาคัญให้เป็นช่วงเวลา “มหามงคลฤกษ์ –
ศักดิ์สิทธิ์” จากอารยธรรมเก่าแก่ มาผสมผสานไว้กับการก่อสร้างอาคารศาสนสถาน
ที่นอกจากจะเป็นศูนย์กลางของอานาจเหนือธรรมชาติและคติความเชื่อแล ้ว
ยังคงใช ้เป็น “เครื่องมือ”
(Tool) เพื่อเป็นจุดสังเกตที่สาคัญของมนุษย์ในการบ่งบอกช่วงเวลาสาคัญในรอบปี
นั่นก็คือการสร้างอาคารศาสนสถานให้หันทิศทางไปให้ตรงกับช่วงเวลาอันเป็นมงคล
จากอดีตนั่นเอง
.
.
มุมมองจากฐานมุขด ้านหน ้า ไปยังฐานมณฑปทางด ้านทิศฝั่งทิศใต ้
.
จากวันมงคลในช่วงเริ่มต ้นของฤดูกาลเพาะปลูก
สืบทอดมาสู่คติความเชื่อโบราณของอินเดียผสมผสานรายละเอียดที่มีความซับซ ้อน
มากขึ้นกว่าเดิม การหันทิศตามคติการสร้างศาสนสถานแห่งองค์เทพเจ ้า
จึงใช ้คัมภีร์ปุราณะทางศาสนาเป็นข ้อกาหนด - กากับการก่อสร้างอย่างเคร่งครัด
เพราะมณฑลของปราสาทก็คือ “ยันตรมณฑล” (Yantra
Mandala) อันศักดิ์สิทธิ์ ที่ต ้องมีการจัดวาง “พลังอานาจ” ของกษัตริย์ผู้สถาปนาไว้ตามหลั
กมณฑลจักรวาล (Cosmic Mandala) เพื่อให้มีอานาจ
อานุภาพที่ยิ่งใหญ่ในทางโลกหรือการปกครองอาณาจักร
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก
ปราสาทภูเพ็ก

More Related Content

Similar to ปราสาทภูเพ็ก

Similar to ปราสาทภูเพ็ก (8)

Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
ศิริวรรณ เคนมา
ศิริวรรณ เคนมาศิริวรรณ เคนมา
ศิริวรรณ เคนมา
 
วัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยวัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทย
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

ปราสาทภูเพ็ก

  • 1. ปราสาทภูเพ็ก ศาสนบรรพตที่อาจมีขนาดใหญ่ที่สุดในอุษาคเนย์ “ปราสาทภูเพ็ก” เป็นปราสาทเทวาลัย “ศาสนบรรพต” บนยอดเขา (Mountain Temple) ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคทางทิศเหนือสุด (Northernmost) ของ “อาณาจักรกัมพุชเทศะ – ขอม – เขมร” ในยุคโบราณ (Ancient Khmer) และอาจเป็นปราสาทหินในรูปแบบ “ปราสาทประธานเชื่อมอาคารมณฑปบนฐาน แกนยาว” ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้... .
  • 2. . "ปราสาทภูเพ็ก" ศาสนบรรพตที่อาจมีขนาดใหญ่ที่สุดในอุษาคเนย์ ? . Entry นี้ เป็น “บทความ” (Article) ในรูปแบบหนังสือบนโลกออนไลน์ (Book on Blog) ที่มี “ความยาว”ของเนื้อหามากที่สุดเท่าที่ผู้เขียนเคยเขียนมาใน Blog OKnation ซึ่งอา จมีความยาวของหน้า A 4 ประมาณ 45 หน้า และมีรูปประกอบทั้งหมด 340 รูป . เรื่องราว “นอกกรอบ” ในครั้งนี้เขียนแบบ “สารคดีนาเที่ยวเชิงวิชาเกิน ” ตามใจตามอารมณ์“จริงไม่จริงก็ไม่รู้” เนื้อหาอาจซ้าซากวนเวียนอยู่กับเรื่องของ “ปราสาท หิน” มากมาย จน “น่าเบื่อ” และอาจ “ไม่น่าเชื่อ” ในบางตอนที่เป็นจินตนาการและการอนุมานโดยผู้เขียน เนื้อความจึงไม่อาจสร้างความสนุกสนานหรือให้ความ “เร้าใจ” แบบข่าวการเมือง กีฬา บันเทิงหรือเรื่อง “ในมุ้ง” ของใครต่อใครได ้ . ถ้าจะอ่านเรื่องราวในวันนี้ให้สมบูรณ์ก็คงต้องมีความ “พยายาม” เป็ นอย่างมาก !!! . และเรื่องราวในครั้งนี้ ก็ขออุทิศถวายให้กับ “ท่านผู้อ่าน” ทุกท่าน ที่ได ้ผ่านเข ้ามาใน Blog ของ นักวิชาการนอกกรอบแห่งนี้ และขอให้เหล่าทวยเทพประทานพรให้ท่านผู้อ่าน มีความเจริญงอกงาม มีความอุดมสมบูรณ์ เพิ่มพูนทรัพย์ที่ได ้จากความสุจริต มีอานาจวาสนาและความสุขในชีวิต... . หากเพียงแต่ท่านผู้อ่านจะช่วยกรุณากดโหวตเรื่อง หรือช่วย “แสดงความคิดเห็น” (Comments) เพื่อเป็นกาลังใจให้กับผู้เขียนบ ้างพอเป็นพิธีกรร มแบบโบราณ….หุหุ . และขอแจ ้งให้ท่านผู้อ่านทราบก่อนว่า การ (วงเล็บ) คาแปลภาษาอังกฤษที่อยู่ด ้านหลังของคาเฉพาะเป็นจานวนมาก มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ท่านได ้นาไปใช ้ประโยชน์ หาก “ไม่อยากเชื่อเรื่องที่เขียน” และต ้องการหาข ้อมูลเพิ่มเติม ท่านสามารถคัดลอกคาเฉพาะนั้นไปวางลงใน Smart Search Engine ของโลกออนไลน์ ซึ่งท่านจะสามารถค ้นหา “องค์ความรู้” (Knowledge) ที่เกี่ยวเนื่องไปได ้อีกมากมาย .
  • 3. มิได ้ประสงค์จะโชว์พราวภาษาอังกฤษ (อันกระท่อนกระแท่น) ของผู้เขียนแต่อย่างใด ..... หุหุ (อีกที) . . . . .....เริ่มเรื่องเลยละกัน..... . . . . . “อุโมงค์หิน” บนภูผาแท่น ...ในอุรังคธาตุ . . “ตานานเก่าแก่” (Ancient Legend) ที่ “แต่งขึ้น” ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 21 ช่วงยุคสมัยของวัฒนธรรมล ้านช ้าง – ไทลาว ที่สาคัญเล่มหนึ่ง ได ้บอกเล่าถึงเรื่องราวความเป็นมาของปราสาทเขมรโบราณสองหลังในภูมิภาคอีสาน เหนือ ของจังหวัดสกลนคร ปราสาทหนึ่งตั้งอยู่ที่ชานเมืองโบราณรูปสี่เหลี่ยมทางทิศตะวันตกเฉียงใต ้ของ “นครหนองหาร หลวง” อีกปราสาทตั้งอยู่บนยอดเขายอดหนึ่งของเทือกเขา “ภูพาน” ที่อยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกประมาณ 17 กิโลเมตร . “ตานานอุรังคธาตุ” แห่งล ้านช ้าง – อีสานเหนือ ได ้เล่าความเป็นมาของซากศาสนสถานเก่าแก่ที่ร้างราผู้คนไปในยุคก่อนหน้าไว้ว่า . “....เมื่อครั้งถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแห่งองค์พระศากยมุนีเป็นที่สิ้นสุด แล ้ว พระเถระมหากัสสปะได ้นาเอาพระบรมสารีริกธาตุเดินทางมายังดินแดนแถบอีสานเพื่อ จะไปบรรจุมหาสถูปที่ภูกาพร้า (พระธาตุพนม) ตามที่เคยมีพุทธทานายเอาไว้แต่กาลก่อน . ครั้นเมื่อพระยาสุวรรณภิงคาร กษัตริย์แห่งเมืองหนองหารหลวงทราบข่าวการเดินทางมายังสุวรรณทวีปของพระเถระ
  • 4. มหากัสสปะ ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะขอแบ่งพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไว้แก่บ ้านเมือง จึงได ้ตระเตรียมสร้างอุโมงค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ก่อนล่วงหน้า โดยโปรดให้ชาวเมืองฝ่ายชายและฝ่ายหญิงแข่งกันสร้างอุโมงค์ให้เสร็จภายในคืน เดียว หากฝ่ายใดเสร็จก่อนก็จะได ้นาพระอุรังคธาตุไป บรรจุไว้ให้เป็นพระมหาธาตุ ฝ่ายหญิงเลือกพื้นที่ชานเมืองหนองหารหลวงเป็นที่ก่อสร้าง ส่วนฝ่ายชายเลือกยอดดอยแท่น โดยทั้งสองฝ่ายมีข ้อตกลงกันว่า หากเมื่อฝ่ายใดเห็นดาวเพ็ก (ดาวศุกร์/ดาวประกายพรึก) ขึ้นบนท ้องฟ้าตะวันออกในยามรุ่งสางแ ล ้ว ก็ให้หยุดการก่อสร้างในทันที . ระหว่างการก่อสร้าง ฝ่ายหญิงทาท่าจะสู้ไม่ได ้ จึงได ้คิดอุบายหลอกฝ่ายชาย โดยชักโคมไฟลอยขึ้นบนท ้องฟ้า ลวงฝ่ายชายว่าเป็นเวลาย่ารุ่งสางแล ้ว เมื่อฝ่ายชายเห็นโคมไฟ ก็พากันคิดว่าเป็นดาวเพ็กขึ้นจริง จึงหยุดการก่อสร้าง ส่วนฝ่ายหญิงก็สร้างอุโมงค์ต่อไปจนเสร็จสิ้น . แต่เมื่อขบวนอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุผ่านมาถึง พระ มหากัสสปะทราบเรื่องการสร้างอุโมงค์จึงแจ ้งแก่ชาวเมืองหนองหารหลวงว่า ไม่สามารถแบ่งพระบรมสารีริกธาตุให้ได ้เพราะต ้องนาไปไว้ยังภูกาพร้า ตามพุทธบัญชา แต่ก็ได ้มอบ “ธาตุพระอังคาร” (เถ้าถ่าน) ให้ไว้บรรจุในอุโมงค์ของฝ่ายหญิงแทน…” . . "ปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง" จังหวัดสกลนคร . ถึงแม้ ฝ่ายชายจะสร้างอุโมงค์บนยอดดอยแท่นไม่เสร็จสิ้น แต่ในตานานอุรังคธาตุก็ยังไม่ลืมเรื่องราวของซากปราสาทเก่าแก่บนยอดเขา จึงยังคงกล่าวถึง “อุโมงค์ศิลาที่ยอดภูเพ็ก” ในช่วงตานานช่วงต่อมาว่า
  • 5. . “.....ถึงพ.ศ. 500 พระอรหันต์ทั้ง 5 องค์ อันได ้แก่ พระสังขวิชาเถระ พระมหารัตนเถระ พระจุลรัตนเถระ พระมหาสุวรรณปราสาทเถระ และพระจุลสุวรรณปราสาทเถระ พร้อมด ้วยพระยาสุมิตธรรมวงศา กษัตริย์แห่งมรุกขนคร ได ้ร่วมกันบูรณะพระธาตุพนมที่ดอยกะปะณะคีรี(ภูกาพร้า) สูงขึ้นประมาณ 24 เมตรและได ้อัญเชิญพระอุรังคธาตุออกมาประดิษฐานบนพานทองคา . . " พระธาตุพนม" ในตำนำนอุรังคธำตุ เมื่อครั้งล้มลงเมื่อปี 2518 . ”...อมรฤๅษีและโยธิกฤๅษี ขึ้นไปนาอุโมงค์ศิลาบนยอดเขาภูเพ็กมาตั้งไว้ชั้นบนของพระธาตุชั้นที่ 2ซึ่งอยู่สูง 14 เมตรแล ้วพระสุมิตธรรมวงศาได ้อัญเชิญพระอุรังคธาตุสถาปนาไว้บนพระเจดีย์ศิลานั้น .....” . เล่ากันว่า อุโมงค์ศิลาทั้งสองแห่งในตานานอุรังคธาตุ ที่ฝ่ายหญิงสร้างไว้ชานเมืองหนองหารหลวง มีความหมายถึง “พระธาตุนารายณ์เจงเวง” ที่มาจากคาว่า เชิง – แวง (ขา-ยาว) หมายความถึงรูปสลักพระนารายณ์ขายาว ที่สลักอยู่บนหน้าบันปราสาทหินทางฝั่งทิศใต ้ .
  • 6. . ภาพจาลองของ"พระธาตุนารายณ์เจงเวง" ที่เมืองโบราณ สมุทรปราการ ก็ยังผิดรูปแบบของปราสาทในยุคบาปวน ที่ยอดปราสาทเป็ นเพียงทรงศิขร - ลดหลั่น เครื่องบน - นาคปักยังไม่สอบเข ้าเป็ นแนวโค ้งมากนัก แต่รูปจาลองปราสาทนี้ ทายอดปราสาทเป็ น "ทรงพุ่ม" ซึ่งเป็ นเรือนยอดที่เริ่มนิยมกันในช่วงต ้นพุทธศตวรรษที่ 17 และทาช่วงต่อของมุขหน้ากับเรือนธาตุแตกต่างไปจากความเป็ นจริง . ส่วนอุโมงค์ศิลาที่ฝ่ายชายสร้างค ้างคาไว้ และถูกนาไปรวมเป็นเรือนธาตุชั้นที่สองของพระธาตุพนม หมายถึง “ปราสาทภูเพ็ก” หรือ “พระธาตุภูเพ็ก” ที่ตั้งชื่อตามนามของดาวเพ็ก ดาวรุ่งหรือดาวประกายพรึก ที่ปรากฏเรื่องราวในตานานนั่นเองครับ .
  • 7. . ฐำนมณฑปและคูหำปรำสำทประธำน ทำงฝั่งทิศใต้ของ "ปราสาทภูเพ็ก" . จากที่โปรยเรื่อง “ตานานอุรังคธาตุ” มาในข ้างต ้น ถึงตรงนี้ท่านผู้อ่านก็คงจะเดาได ้ว่า เรื่องราว “น่าปวดหัว – ไม่น่าเชื่อและไม่น่าจา” ของผมในครั้งนี้ ก็คงจะไม่พ ้นเรื่องราวของ “ปราสาทภูเพ็ก” (Phu Phek Pr.) ปราสาทหินขนาดใหญ่บนยอดเขาภูเพ็ก ยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาภูพาน ที่มีเรื่องราว “นอกกรอบ” ที่น่ารู้ น่าสนใจมากมาย . เริ่มจากที่ “ปราสาทภูเพ็ก” เป็นปราสาทหินบนยอดเขาหรือที่เรียกว่า “ศาสนบรรพต” (Temple – Mountain) ที่ ขึ้นมาสร้างอยู่ทางทิศเหนือสุดของภูมิภาคอีสานเหนือ – อีสานใต ้ นับเรื่อยลงไปยังเขตเขมรต่า (ขะแมร์กรอม) ทางทิศใต ้ อันเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางอานาจการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของอาณาจักรกัมพุชเทศ หรืออาณาจักรเขมรโบราณ . ทั้งเรื่องราวของปราสาทหินในคติไศวะนิกายผสมกับนิกายปศุปตะ ที่สร้าง “เทวาลัย ”(Shrine) ขึ้นบนยอดเขาเพื่อสมมุติให้เป็นเขาไกรลาส (Kailasha) บนพื้นโลก เพื่อประดิ ษฐานรูปประติมากรรม “ศิวลึงค์” (Shiva Linga) ที่มีองค์ประกอบอันซับซ ้อน เป็นสัญลักษณ์ สาคัญแทนองค์พระศิวะ ประดิษฐานอยู่เป็นประธานในอาคารปราสาทประธานที่เรียกว่า “วิมาน” (Vimana) . และนอกจากจะเป็นเทวาลัยบนยอดเขาไกรลาสสมมุติแล ้ว ปราสาทภูเพ็กยังเป็นปราสาทหินที่ถูกวางแผนผังในรูปแบบของ “ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมต่อมณฑปด้วยอันตราละบนฐานต่อเนื่องขนาดใหญ่” ในวัฒนธรรมปราสาทแบบเขมร อีกฐานชั้นซ ้อนของมณฑปที่ปราสาทภูเพ็ก ก็เป็นรูปแบบของฐานมณฑปแผนผังทรงจัตุรมุข ที่ยกพื้นบัวสูงกว่าฐานบัวของปราสาทประธานเพียงแห่งเดียวในภูมิภาค นับจากรูปแบบของปราสาทประธานในแผนผังเดียวกันที่พบในประเทศไทยและกัมพูชาเลย ครับ .
  • 8. . ฐานบัวลูกฟักขนาดใหญ่ ยกสูง 2 ขั้น(ชั้นซ้อน) มุขด้ำนหน้ำสุดของปรำสำทภูเพ็ก . แผนผังของปราสาทเชื่อมมณฑปที่ปราสาทภูเพ็ก มีขนาดความยาวประมาณ 34 เมตร ในขณะที่ความยาวของปราสาทประธานเชื่อมมณฑปของปราสาทหินพิมาย (Phimai Pr.) ที่ถูกจัดให้เป็นปราสาทหินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีความยาวประมาณ 32. 5 เมตร ปราสาทประธานปราสาทพนมวัน (Phnom wan Pr.) 30.5 เมตร ปราสาทประธานปราสาทเขาพนมรุ้ง (Phnom Rung Pr.) มีความยาวประมาณ 30 เมตร ในขณะที่ปราสาทประธานของปราสาทตาเมือนธม (Ta Muan Thom Pr.) มีความยาวเพียง 22 เมตร ครับ .
  • 9. . "ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา . .
  • 10. "ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทหินพนมวัน จังหวัดนครราชสีมา . นอกจากปราสาทที่มีแบบแผน “ปราสาทวิมานเชื่อมต่อมณฑปบนฐานขนาดใหญ่” ที่พบในประเทศไทยแล ้ว ปราสาทหินที่มีแผนผังแบบเดียวกันในประเทศกัมพูชา ก็ยังมีขนาดเล็กกว่าทั้งสิ้น ทั้งที่ “ปราสาทเบงมาเลีย” (Beng Mealea Pr.) หรือนครวัดตะวันออก ปราสาทประธานก็มีขนาดความยาวของฐานประมาณ 32.5 เมตร “ปราสาทวัดอัทตาเวีย” (Vet Athvea Pr.) ความยาวของฐาน 29.5 เมตร “ปราสาทบันทายสาเหร่” (Banteay Samre Pr.) ความยาวประมาณ 26.5 เมตร “ปราสาทธมมานนท์”(Thommanon Pr.) 26 เมตร “ปราสาทเจ้าสายเทวดา” (Chay say Tevoda Pr.) 25 เมตร “ปราสาทวัดเอกพนม” (Wat Ek Phnom Pr.) 24.5 เมตร “ปราสาทเขาพระวิหาร” (Preah Vihear Pr.) 24 เมตร หรือที่ “ปราสาทคูหานคร” (Kuhear Nokor Pr.) ก็มีความยาวของฐานเพียง 19.5 เมตร ซึ่งรายละเอียดของแต่ละปราสาทจะกล่าวในตอนต่อไปครับ . . สภาพของปราสาทประธานที่พังทลายเป็ นกองหิน ที่ "ปราสาทเมงเมเลีย" จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา .
  • 11. . "ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทวัดอัทตาเวีย จังหวัดเสียมเรียบ . . "ปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมอาคารมณฑป" ปราสาทคูหานคร จังหวัดเสียมเรียบ .
  • 12. ซึ่งนั่นก็อาจยืนยันถึงความโดดเด่นและความน่าสนใจของปราสาทภูเพ็ก ที่นอกจากจะเป็นเทวาลัยบนยอดเขาไกรลาสสมมุติแล ้ว ปราสาทภูเพ็กก็ยังเป็นปราสาทหินวัฒนธรรมปราสาทแบบเขมร ในรูปแบบ “ปราสาทประธาน(วิมาน)เชื่อมต่อมณฑป” ที่อาจมีขนาดของฐาน”ใหญ่ที่สุดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” อีกด ้วยครับ . ซึ่งก็ไม่อยากจะคิดจินตนาการต่อไปว่า หากเหล่าชายฉกรรจ์ร่างกายา ที่กาลังแข่งขันก่อสร้างอุโมงค์ศิลา (ซากคูหาของเรือนธาตุปราสาทที่พังทลายลงมาเป็นกองหินที่มีประตูทางเข ้า ปราชญ์โบราณที่เคยมาเยือนและเขียนตานานขึ้นคงมองเห็นเป็นอุโมงค์ และผู้คนยุคต่อมาก็พากันเรียกว่า “ดอย (ที่มี)คูหา”) ไม่ถูกนารีพิฆาต หลอกเอาโคมไฟลอยขึ้นไปประดับฟ้า ให้เสียอารมณ์จนหยุดก่อสร้างไปในคราวตานานหนึ่ง และเหล่าฤๅษีที่ได ้มายกเอาอุโมงค์ศิลาไปสร้างพระธาตุพนมในคราวนั้น ในวันนี้เราอาจจะได ้เห็น “มหาปราสาทบนยอดเขาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก” . . ...ที่บนยอดเขา “ภูเพ็ก” แห่งเทือกเขา “ ภูพาน” ก็เป็ นได้ !!! . . . . . “เทวาลัย – วิมาน” แห่ง ไศวะนิกาย – ปศุปตะ บนยอดเขาไกรลาสแห่ง “อีสานเหนือ” . . “ปราสาทภูเพ็ก” (Phu Phek Pr.) ในโลกปัจจุบันวันนี้ ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของบ ้านภูเพ็ก ตาบลนาหัวบ่อ อาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ห่างจากตัวเมืองโดยทางถนนประมาณ 34กิโลเมตร ตามเส ้นทางถนนทางหลวงหมายเลข 22 จ าก ช่วงตัวเมืองสกลนคร ไปยังอาเภอพรรณานิคม ประมาณ 21 กิโลเมตร แยกซ ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข 2016 ผ่านบ ้านนาหัวบ่อ บ ้านหนองดินดา ถึงเชิงเขาภูพานที่บ ้านภูเพ็ก แล ้วผ่านบ ้านภูเพ็กไปทางโรงเรียนบ ้านภูเพ็กและขึ้นเขาตามเส ้นทางเดี่ยว อีกประมาณ 5
  • 13. กิโลเมตร จะถึงลานจอดรถของวัดพระธาตุภูเพ็ก จากตัววัด จะต ้องเดินเท ้าขึ้นบันได “หัวนาคคู่” ที่สร้างขึ้นใหม่ที่ทับอยู่บนซากบันไดโบราณอีก 491 ขั้น ถึงยอดหน้าผาของดอยเพ็กทางด ้านทิศตะวันออก เดินเท ้าต่ออีกประมาณ 100 เมตร ก็จะมาถึงตัวซากปราสาท . . ปราสาทภูเพ็ก ตั้งอยู่บนยอดเขาทางทิศตะวันตกของหนองหาร แนวเดียวกกับปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง ที่สร้างในยุคใกล ้เคียงกัน . ปราสาทภูเพ็กเป็นซากของปราสาทหินที่สร้างตามขนบแบบแผน ศิลปะ และคติความเชื่อในสถาปัตยกรรมแบบ “ปราสาท” (Prasat) ของวัฒนธรรมเขมรโบราณ บนยอดเขา "ดอยคูหาหรือดอยเพ็ก" ซึ่งเป็นยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาภูพานฝั่งตะวันตก มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 520 เมตร ตัวปราสาทสร้างขึ้นโดยใช ้วัสดุประเภท “หินทราย” (Sandstone) ซึ่งเป็นหินทรายในหมวดหิน ภูพาน ลักษณะเป็นหินทรายสีเทาปนขาว เนื้อหินเป็นตะกอนปานกลางจนถึงหยาบ เนื้อไม่ละเอียดมากนัก . หินที่ใช ้ในการสร้างปราสาทภูเพ็ก เป็นหินที่สกัดออกมาจากชั้นหินทราย บริเวณที่เรียกว่า “ลานแค้นแท้” เป็น ลานหินที่อยู่ห่างจากตัวซากปราสาทไปทางทิศตะวันตกสุดขอบหน้าผาดอยแท่น ซึ่งในปัจจุบันยังพบเห็นร่องรอยของก ้อนหินทรายที่ถูกสลักแยกออกจากพื้นชั้น หินทราย ทั้งที่สกัดขาดแล ้วเป็นก ้อนขนาดใหญ่ และที่อยู่ระหว่างสกัดเซาะเห็นเป็นร่องแนวหินรูปสี่เหลี่ยมจานวนมาก .
  • 14. . บันไดหัวนาคคู่ ทำงขึ้นสู่ตัวปรำสำท . เล่าเป็นนิทานพื้นบ ้านต่อกันมาว่า ชื่อของลาน “แค้นแท้” บนยอดภูเพ็กนั้น เป็นเรื่องที่ต่อเนื่องมาจากการแข่งขันสร้างอุโมงค์ระหว่างฝ่ายชายและฝ่าย หญิงนั่นแหละครับ เพราะเมื่อตอนพ่ายแพ ้ด ้วยกลลวงดาวเพ็กปลอม เหล่าบุรุษแห่งเมืองหนองหานหลวงก็ได ้ทิ้งเครื่องมือเซาะสกัด ทิ้งงานบากหินไว้บนลานจนฝ่ายหญิงสร้างอุโมงค์เจงเวงสาเร็จ แต่เมื่อรู้ตัวว่าได ้เสียรู้ให้กับฝ่ายสตรีจนสิ้นแล ้ว ต่างก็นั่งคอตกคอพับ มีแต่ความแค ้นให้สุมอกหนา ...แต ้แต ้... . ส่วนเรื่องราวในเอปพิโสดต่อไป ฝ่ายชายจะไปก่อการร้าย ทาอะไรฝ่ายหญิงแบบ “อุโมงค์แพ้ ...คนไม่แพ้” ตามวิสัยของชาวสุวรรณภูมิที่ตกทอดมาถึงผู้คนในยุคปัจจุบัน ที่นิยมการใช ้กาลังและพวกมากลากไปในเกมกีฬายุคใหม่ “บอลแพ้ ...คนไม่แพ้” หรือไม่นั้น ...ตานานก็ไม่ได ้เล่าต่อซะด ้วยซิ....หุหุ . กลับมาเข ้าเรื่องต่อกันดีกว่า “ปราสาทหินภูเพ็ก” ถูกสร้างเพื่อให้เป็น "เทวสถาน" (S hrine) ในลัทธิฮินดูตันตระ "ไศวะนิกาย" (Civaisme) นิกายย่อย “ปศุปตะ” หรือผู้บูชาพระ ศิวะเป็นเทพสูงสุดในรูปของ “ศิวลึงค์” (Shiva Lingam) และ จะสถาปนาเทวาลัยไว้บนยอดเขา เช่นเดียวกับที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง ปราสาทเขาพระวิหาร หรือปราสาทวัดภูในประเทศลาวที่เรารู้จักกันดีนะครับ....ส่วนที่ไม่รู้จัก เดี๋ยวพาไปชมครับ... . จากเทวาลัยบนยอดเขาไกรลาส (Kailasha) ที่ประทับแห่งองค์พระศิวะในคติความเชื่อ “ไศวะนิกาย –
  • 15. ปศุปตะ” จึงกลายมาเป็นปราสาทหินบนยอดเขาในวัฒนธรรมเขมรโบราณ ซึ่งก็ได ้รับอิทธิพลทางความเชื่อและศาสนาจากอินเดียผ่านมาทางชวา (Java) มาตั้งแต่ครั้งราวพุทธศตวรรษที่10 - 11 อีกต่อหนึ่ง ดังที่พบเทวาลับใกล ้ปากแม่น้าโขงที่ "ปราสาทอาศรมมหาฤๅษี” (Ashram Maharishi Pr.) บนยอดเขาพนมดา จังหวัดตาแก ้ว และ"ปราสาทกุกพระธาตุ" (Kuk Preah Theat Pr.) ที่เขาพนมฮันเจย ทางทิศเหนือของตัวเมืองกาปงจาม ที่เป็นปราสาทหิน (หินบะซอลท์ – หินอัคนี) แผนผังกล่องสี่เหลี่ยม (Cella) บนยอดเขาในยุคแรก ๆ . . เขาพนมดา ยอดเขาเล็ก ๆ ใกล ้กับแม่น้าโขง บนยอดเป็ นที่ตั้งของปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 17 บนรากฐานเก่าแก่ของปราสาทอิฐหลังเดิมในยุคพุทธศตวรรษที่ 10 -11 .
  • 16. . ปราสาทอาศรมมหาฤๅษี ปราสาทบนยอดเขายุคแรกในศิลปะแบบชวา ที่เขาพนมดา จังหวัดตาแก้ว . ว่ากันว่า “หินบะซอลท์” (Basalt rock) ที่นามาใช ้สร้างเป็นองค์ปราสาทนั้น อาจขนข ้ามน้าข ้ามทะเลมาจากเกาะชวาถิ่นที่มีหินภูเขาไฟมากมายโดยตรง สอดรับกับคติความเชื่อของฮินดูตันตระในการเลือกวัสดุ “หิน” มาใช ้ในการก่อสร้างอาคารศาสน สถานศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเชื่อกันว่า หินที่ถือว่ามี “พลังอานาจ” มากที่สุดก็คือ “หินแกรนิต” (Granite rock) ศาสนสถานฮินดูในอินเดียยุคโบราณ จึงนิยมนาหินแกรนิตมาสร้างอาคารศาสนสถาน หลายแห่งก็ใช ้วิธีเจาะผนังเข ้าไปในภูเขา ทั้งสร้างเป็นอาคารหินหรือหมู่ถ้าที่มีการแกะสลักหินอย่างงดงามตระการตา .
  • 17. .
  • 18. . ปราสาทกุกพระธาตุ อาคารรูปสี่เหลี่ยมมีเรือนยอดปราสาท เป็ นปราสาทบนยอดเขาในยุคแรก ศิลปะแบบชวา บนเขาพนมฮันเจย จังหวัดกาปงจาม ประเทศกัมพูชา . และเมื่ออิทธิพลทางคติความเชื่อในเรื่องพลังอานาจของหินแกรนิตจากวัฒนธรรม อินเดีย เดินทางเข ้ามาสู่ชวา สัณฐานธรณีที่เกาะชวาก็มีหินอัคนี แต่ประเภทหินบะซอลท์แทบทั้งสิ้น การก่อสร้างอาคารศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์ในยุคเริ่มแรกของวัฒนธรรมอินเดียที่เข ้ามาสู่เกาะชวา อย่างที่หมู่เทวสถาน “เดียง พลาโต” หรือ ที่ราบสูงเดียง (Dieng Plateau) หรือที่หมู่เทวสถาน “พรัมบานัน” (Prambanan Hindu Temple) ศาสน สถานที่สร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 – 13 จึงนิยมใช ้หินบะซอลท์ หินอัคนีหรือหินภูเขาไฟที่หาได ้ง่ายในภูมิภาคเป็นวัสดุหลักในการก่อสร้าง ครับ .
  • 19. . เทวสถานฮินดู ที่เดียงพลาโด บนเกาะชวา ประเทศอินโดนิเชีย . . หมู่เทวสถานฮินดูขนาดใหญ่ "พรัมบาน ัน" บนเกาะชวา ประเทศอินโดนิเชีย ทางผ่านหลักของ "วัฒนธรรมอินเดีย" ที่เข ้าสู่เขมรโบราณ .
  • 20. และด้วยเหตุผลทางด้านศิลปะและวัสดุที่มีความคล้ายคลึงกันเป็ นอย่างมากกับช วา อาคารศาสนสถานรูปกล่องสี่เหลี่ยมบนเขาพนมดาและพนมฮันเจย ที่มีประตูเข ้าทางเดียว มีชั้นปราสาทซ ้อนลดหลั่น มีซุ้มปราสาทและวงโค ้ง “กุฑุ” ที่มีใบหน้าบุคคลแทรกอยู่ แทนความหมายของที่ประทับแห่งเทพเจ ้าตามลาดับชั้นบนสรวงสวรรค์ และมียอดแหลมคล ้ายรูปหัวหอมอยู่ด ้านบนสุดของหลังคา จึงน่าจะถูกสร้างขึ้นที่เกาะชวา ก่อนจะถูกแยกส่วนเคลื่อนย ้ายข ้ามทะเลมายังดินแดนแห่งใหม่บนคาบสมุทรโดยผู้คน ที่หลากลายจากเกาะชวาในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 12 สอดรับกับหลักฐานบางตอนของจารึก “ปราสาทสด๊อกก๊อกธม” (Sdok Kok Thom Inscription) ที่กล่าวถึงเรื่องราวของ “มหาราชาแห่งซาบัค” (Maharaja of Zabaj) ผู้ปกครองแห่งเกาะชวา (จาวกะ – Javaka) ได ้เข ้ามายึดครองเจนละ ในช่วงเวลาแห่งความขัดแย ้งสับสน ก่อนจะคลี่คลายออกไปสู่การเริ่มต ้นยุคสมัยอันเรืองรองของเมืองพระนคร (Angkor) และลัทธิเทวราชา (Devaraja) ในยุคสมัยของ “พระเจ้าชัยวรมันที่ 2” (Jayavarman II) ผู้ปลดปล่อยอาณาจักรเก่าแก่ให้หลุดพ ้นจากอานาจของจาวกะ รวบรวมอาณาจักรเจนละที่แตกแยกให้กลับมาเป็นอาณาจักร “กัมพุชเทศะ” ที่ยิ่งใหญ่ .
  • 21. . ยอดบนสุดของปราสทอาศรมมหาฤๅษี มีซุ้มปราสาทและหน้าบันรูปโค ้งที่เรียกว่า "กุฑุ" ยอดบนสุดมีรูปร่างคล ้าย "หัวหอม" . ปราสาทหิน “เทวาลัย” บนยอดเขาในยุคแรก ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นปราสาทอิฐหลังเดี่ยว (Brick Tower) ใช ้หินทราย (Sandstone) ซึ่งเป็นหินที่หาได ้ง่ายในท ้องถิ่นเป็นคานรับน้าหนัก ไม่มีอาคารมณฑป (Mandapa) อยู่ด้านหน้า ปราสาทบนยอดเขาที่อาจจะ “เก่าแก่” ที่สุดของวัฒนธรรมเขมร อาจเป็นซากอาคารอิฐขนาดใหญ่ของ “ปราสาทวัดภู” (Wat Phou Pr.) บนยอดเขา “ภูควาย” แขวงจาปาศักดิ์ ศูนย์กลางแห่งเจนละบกในยุคก่อนเมืองพระนคร เป็นปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่11 – 12 (ซึ่งต่อมาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 16 และ พุทธศตวรรษที่ 17 จึงมีการสร้างมหามณฑป (Mandapa) ด ้วยหินทรายเชื่อมต่อที่ด ้านหน้าของเรือนธาตุปราสาทอีกทีหนึ่ง .
  • 22. . .
  • 23. . ปราสาทอิฐขนาดใหญ่ด ้านหลังมณฑปในยุคพุทธศตวรรษที่ 17 และด ้านในห ้อง "ครรภคฤหะ" ของปราสาทอิฐในยุคพุทธศตวรรษที่ 11 ปราสาทวัดภู แขวงจาปาศักดิ์ . . ทับหลังในยุคพุทธศตวรรษที่ 11 - 12 ที่พบอยู่ใกล ้เคียงกับปราสาทวัดภู เป็ นรูปของมกรคลายท่อนพฤกษามีบุคคลในวงดอกไม ้ตรงกลาง อันเป็ นลักษณะเด่นของทับหลังในยุค "สมโบร์ไพรกุก" . ปราสาทบนยอดเขายุคแรก ๆ ของวัฒนธรรมเขมรอีกกลุ่มหนึ่ง คือกลุ่มปราสาทอิฐบนยอดเขา”พนมบายองกอร์” (Phnom BayongKor) ทางทิศใต ้ของจังหวัดตาแก ้วติดกับชายแดนเวียดนาม หมู่ปราสาทประกอบด ้วย “ปราสาทพนมบายัง” (Phnom Bayang Pr.) ปราสาท อิฐหลังเดี่ยวอยู่บนยอดเขาโดดเป็นที่สังเกตได ้ง่าย เป็นเทวาลัยศักดิ์สิทธิ์ในยุคแรกที่ยังคงถูกใช ้งานแห่งการบูชาทวยเทพมาโดย ตลอดจากหลักฐานที่มีการก่อสร้างกาแพงศิลาแลงขึ้นเพิ่มเติมในยุคหลัง อีกทั้ง “ปราสาทพระโค” (Preah Ko Pr.) “ปราสาทตาเนียนคางกรัท” (Ta Nhean Khang Kaeut Pr.) และ “ปราสาทตาเนียนคางเลช” (Ta Nhean Khang Lech
  • 24. Pr.) ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวที่ตั้งอยู่ใกล ้เคียงกันในระดับเขาที่ต่ากว่า กลุ่มปราสาทเก่าแก่บนยอดเขานี้อาจมีอายุเริ่มต ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่12 และบางหลังอาจสร้างขึ้นในช่วงเวลาต่อมาไม่นานนัก ซึ่งเป็นช่วงปลายสมัยวัฒนธรรมเจนละ (Chenla Culture) ที่กาลังเข ้าสู่สมัยเมืองพระนคร (Angkor Period) . . .
  • 25. .
  • 28. . “ปราสาทตาเนียนคางเลช” ปรำสำทหลังเดี่ยวอีกหลังหนึ่งบนเนินเขำ . ข ้ามเข ้ามาในประเทศไทยซักนิด ปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาในประเทศไทย ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดคือ “ปราสาทเขาน้อยสีชมพู” (Khao Noi Si Shampu Pr.) หมู่ปราสาทอิฐสามหลังบนยอดเขาขนาดไม่สูงมากนัก (แต่ หากเดินขึ้นบันไดเนี่ย...เหนื่อยจิง จิง) ในเขตอาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก ้ว เริ่มต ้นก่อสร้างปราสาทหลังแรกในราวพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากนั้น เมื่อเกิดอิทธิพลทางคติความเชื่อที่ผสมผสานระหว่างลัทธิไศวะนิกายกับ “ตรีมูรติ” (Trimurti) ที่หันกลับมาให้การยอมรับนับถือพระพรหม (Brahma) และพระวิษณุ (Vishnu) ในการสักการบูชาคราวเดียวกับพระศิวะ (Shiva) นาไปสู่แบบแผนการสร้างปราสาทสามหลังมาตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่14 ทั้งบนพื้นราบและบนยอดเขา ปราสาทเขาน้อยสีชมพูจึงได ้ถูกเปลี่ยนแปลงบูรณะ จากปราสาทหลังเดี่ยวมาเป็นปราสาทแบบตรีมูรติสามหลัง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 .
  • 29. . ปราสาทเขาน้อยสีชมพู จังหวัดสระแก้ว . ย้อนกลับไปที่กัมพูชา ปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาในช่วงเวลาต่อมา ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต ้นของวัฒนธรรมขอม – กัมพุชเทศในยุคเมืองพระนคร (Angkor Period) สืบต่อจากวัฒนธรรมเจนละ ยังพบปราสาทเก่าแก่บนยอดเขาในคติความเชื่อไศวะนิกาย ที่ “ปราสาทพนมบาเส็ท” (Phnom Baset Pr.) ที่จังหวัดกันดาล ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวที่มีลวดลายแกะสลักบนผนังอิฐและทับหลังใบไม ้ม ้วนอันเลื่องชื่อในยุคศิล ปะแบบ “กาพงพระ” ( Kampong Kreah Style) และที่ “ปราสาทออกยม” (Ak yom Pr.) จังหวัดเสียมเรียบ ปราสาทอิฐในยุคแรก ๆ บนยอดเขาเตี้ย ๆ ที่กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของคันบารายตะวันตกทางทิศใต ้ .
  • 30. . . ปราสาทพนมบาเสท ปรำสำทบนยอดเขำในยุคพุทธศตวรรษที่ 13 . . ปราสาทออกยม ปรำสำทบนยอดเขำในยุคแรก ๆ รำวพุทธศตวรรษที่ 12 - 13 . ในช่วงเวลาเดียวกัน ยังมีการสร้างกลุ่มปราสาทอิฐบน “มเหนทร - บรรพต” (Mahendraparvata) หรือเทือกเขา “พนมกุเลน” (Phnom Kulen
  • 31. Mountain) ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งอาณาจักรยุคแรก ที่สร้างขึ้นในหลายช่วงเวลา เช่น “ปราสาทดาเร็ยกรับ” (Damrei Krap Pr.) ที่เป็นกลุ่มปราสาทอิฐสามหลังทางทิศใต ้ของเทือกเขาพนมกุเลน “ปราสาทเนียก ตา” (Neak Ta Pr.) “ปราสาทโอพะออง” (O Pha Ong Pr.) “ปราสาทธมาดรับ” (Thma Dap Pr.) และ “ปราสาทพระอารามโรงจีน” (Krus Preah Aram Rong Chen Pr.) ที่มีลักษณะของฐานอาคารเทวาลัยเครื่องไม ้ที่ยกชั้นสูงเป็นขั้น บนเนินเขาขนาดใหญ่ . . ปราสาทดาเร็ยกร ับ หมู่ปราสาทสามหลังบนยอดเขาพนมกุเลน .
  • 34. . ปราสาทพระอารามโรงจีน บนเขาพนมกุเลน . ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 14 – ต้นพุทธศตวรรษที่ 15 จึง เริ่มปรากฏแบบแผนของการสร้างอาคารประกอบพิธีกรรมหรือที่เรียกว่า “มณฑป” (Mohndoh p - Mandapa) มาตั้งทางด ้านหน้าของปราสาทประธานเป็นครั้งแรก เป็นมณฑปแบบที่เป็นอาคารผนังทึบยัง “ไม่มีประตูข้าง” อย่างเช่นมณฑปเชื่อมปราสาทอิฐหลั งกลางของ “ปราสาทกอกโป” (Kok Pouh Pr.) “ปราสาทเสาตาต่วย” (Sak Ta Tuy Pr.) และ “ปราสาทตระเปรียงขยัง” (Trapreang Khyang) (ซึ่งทั้งหมดก็ยังไม่ใช่ปราสาทเทวาลัยแบบที่อยู่บนยอดเขาธรรมชาตินะครับ) .
  • 35. . ปราสาทกอกโป ปราสาทอิฐในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 15 ที่อาจเป็ นปราสาทเชื่อมต่อกับอาคารมณฑปหลังแรก ๆ .
  • 36. . ปราสาทเสกตาต่วยหรือปราสาทว ัดปราสาท ปราสาทอิฐในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 15 . รูปแบบของการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดเขา เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากเพียงการสร้างปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนภูเขาธรรมชาติ มาเป็นการดัดแปลงภูเขาขนาดเล็กให้กลายเป็น “พีระมิด” (Pyramid) ขั้นบันไดขนาดใหญ่ แล ้วสร้างหมู่ปราสาทตามแบบแผน “วงล้อมรอบจุดศูนย์กลาง” (Plan Centre) ที่มีเรือนยอดของปราสาทใหญ่น้อยรายล ้อมปราสาทประธาน ตามคติแผนผัง “จักรวาล – สรวงสวรรค์” และคติของ ”มูรติทั้งแปด” ที่ก่อกาเนิดเป็นรูปกายและอานาจแห่งองค์พระศิวะ ครั้งแรกที่ “ปราสาทบากอง” (Bakong Pr.) เมืองหริหราลัย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 .
  • 37. . . ปราสาทพีระมิดบากอง ที่มีการวางผนผังรูปมณฑลจักรวาล และ "มูรติท ั้ง 8 " เป็ นครั้งแรก . ในภายหลังการสถาปนาเมืองพระนครหลวง หรือ “ศรียโสธรปุระ” (Sri Yacodharapura) ขึ้น โดย “พระเจ้ายโสวรมันที่ 1” (Yasovarman I) ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 15 ได ้มีการดัดแปลงภูเขา “พนมบาแค็ง – วนา กันดาล” (Phnom Bakheng – Vnam Kantal
  • 38. Mountain) ให้กลายเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งอาณาจักร ในชื่อของ “ศรียโสธรคีรี” (Sri Yasodharagiri) ประดิษฐานรูปศิวลึงค์“ยโศธเรศวร” ขนาดใหญ่ แทนความหมายขององค์พระศิวะ มีการสร้างพีระมิดขั้นบันไดแผนผังจักรวาล 4 เหลี่ยม จานวน 5 ชั้นตามแผนผังแบบ “วงล้อมรอบจุดศูนย์กลาง” (Plan Centre) ขึ้น โดยการใช ้หินส่วนยอดของภูเขาธรรมชาติเป็นแกนด ้านใน และสร้างปราสาทวิมานขนาดเล็กที่ประทับแห่งทวยเทพตามลาดับชั้นบนสรวงสวรรค์ รายล ้อมจานวน 108 องค์ ซึ่งเป็นการจาลองภาพของระบบจักรวาลตามแบบ “ดาราศาสตร์ผสมผสานคติความเชื่อ” ข องลัทธิฮินดู ที่มีเขาพระสุเมรุเป็นจุดศูนย์กลางหรือ “แก่นจักรวาล” (Cosmic Axis) มีปราสาทเทวาลัยขนาดใหญ่เป็นประธาน ในความหมายของวิมานที่ประทับขององค์พระศิวะบนเขาไกรลาสที่จะตั้งอยู่สูงขึ้น ไปจากเขาพระสุเมรุอีกทีหนึ่ง . . ปราสาทพนมบาแค็ง ปราสาทบนยอดเขาผสมระหว่างแกนเขาธรรมชาติพนมกันดาล กับฐานพีระมิดลาดับสรวงสวรรค์ 5 ชั้นที่โอบล ้อมอยู่ด ้านนอก . นอกจากจะถูกสถาปนาให้เป็นศูนย์กลางทางความเชื่อและศูนย์รวมจิตใจแห่ง อาณาจักรใหม่แล ้ว ปราสาทพนมบาแค็งก็ยังเป็นศูนย์กลางของ “อานาจ” แห่งผู้เป็นสมมุติเทพบนพื้นโลกของระบ บการปกครองแบบ “เทวราชา” (Devaraja) ที่ตั้งตระหง่านบนยอดเขากึ่งกลางของมหานคร “ศรียโสธรปุระ” และ บาราย “ยโศธรฏฏะกะ” หรือบารายตะวันออก (Eastern Baray) ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงเวลาเดียวกัน .
  • 39. . ภำพวำดของ Maurice Fiévet ในปี 1950 แสดงภำพของพระเจ้ำยโศวรมันประทับอยู่บนยอดสูงสุดของปรำสำทพนมบำแค็ง กำลังทอดพระเนตรแผ่นดินและวำงแผนกำรจัดสรรน้ำจำกบำรำยเพื่อกำรเกษตรกรรม . ปราสาทเทวาลัย – ศาสนบรรพตบนยอดเขาเทียมแบบพีระมิดขั้นบันไดตามคติไศวะนิกาย – ปศุปตะ ยังคงได ้รับความนิยมสถาปนาขึ้นมาโดยตลอดช่วงพุทธศตวรรษที่15 เช่นที่ “ปราสาทปักษีจากรง” (Baksai Chamkrong Pr.) ทางทิศใต ้ของเมืองพระนครธม “มหาปราสาทธม” (Thom Pr.) พีระมิดขั้นบันไดที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้ ศูนย์กลางแห่งนคร “โฉกครรคยาร์ – เกาะแกร์” (Chok Gargyar – Kor Ker) “ปราสาทแม่บุญตะวันออก” (Eastern Mebon Pr.) ที่ล ้อมรอบด ้วยปราสาทมูรติทั้ง 8 และ “ปราสาทแปรรับ” (Pre Rup Pr.) ทางทิศใต ้ของบารายตะวันออก .
  • 41. . ปราสาทแปรร ับ กับการสืบทอดคติความเชื่อของ "มูรติท ั้ง 8 " . . กลุ่มปราสาทประธาน บนยอดพีระมิดแห่งปราสาทแม่บุญตะวันออก . แต่กระนั้น กษัตริย์สมมุติเทพแห่งอาณาจักรอันยิ่งใหญ่และเหล่าผู้ปกครองต่างพระเนตรพระ กรรณในท ้องถิ่นต่าง ๆ ก็ยังคงมีความนิยมสร้าง “ศาสนบรรพตบนยอดเขาธรรมชาติ” ในช่วงเวลาเดียวกันหลายต่อ หลายแห่ง เช่น ที่ “ปราสาทพนมกรอม” (Phnom Krom
  • 42. Pr.) ปราสาทหินทรายสามหลังตามคติ “ตรีมูรติ” (Trimurti) บนเนินเขาขนาดเล็กทางทิศตะวันตกของตัวเมืองเสียมเรียบใกล ้กับโตนเลสาบ “ป ราสาทพนมบก” (Phnom Bok Pr.) ปราสาทหินทรายสามหลังตามคติ “ตรีมูรติ” บนยอดเขาโดดทางทิศตะวันออกของบาราย ตะวันออก “ปราสาทพนมได 2” หรือ “ปุรันทรบรรพต” (Phnom Dei 2 Pr.- Purandraparvata) ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนยอดเขา ทางทิศตะวันออกของปราสาทบันทายสรี (Banteay Srei Pr.) “ปราสาทพนมโต๊ป” (Phnom Trop) ปราสาทอิฐสามหลังบนยอดเขาศิลปะแบบแปรรับ ตามคติ “ตรีมูรติ” ที่จังหวัดกัมปงจาม “ปราสาทพนมพรนารายณ์” (Phnom Ponnareay Pr.) ปราสาทอิฐคู่ตามคติ ศิวะ – ศักติ” (Shiva – Sakti) ที่จังหวัดกาปงชนัง หรือ “ปราสาทพนมสันดัก” (Phnom Sandak Pr.) ปราสาทบนยอดเขาแห่งนคร “โฉกครรคยาร์ – เกาะแกร์” ศิลปะแบบเกาะแกร์ (Kor Ker Style) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต ้ของจังหวัดพระวิหาร . .
  • 46. . .
  • 49. . ทิวเขาพนมสันดักและหมู่อาคารปราสาทในคติไศวะนิกายบนยอดเขา อายุในราวกลาง - ปลายพุทธศตวรรษที่ 15 . ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 15 จนถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 16 (หรือราว 900 ปี ที่แล้ว) ก็ยังคงมีความนิยมในการสร้างปราสาทบนยอดเขาจักรวาลจาลองในรูปแบบของพีระมิ ดขั้นบันได ทั้งที่ “ปราสาทตาแก้ว” (Ta Keo Pr.) ปราสาทยอดห้าหลังที่ใช ้หินทรายสีเขียวที่มีคุณภาพดีที่สุดในบรรดาหินทรายสีต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่นอกเมืองพระนครธมทางด ้านตะวันออก และ “ปราสาทพิมานอากาศ” (Phimeanakas Pr.)ในบริเวณเขตพระราชวังหลวงของนครศรียโศธรปุระ ที่ “โจวต้ากวาน” (Chou Ta-kuan) ราช ทูตมองโกลที่เดินทางเข ้ามาเยือนเมืองพระนครหลวงในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่18 เล่าว่า เป็นที่พานักของนางนาคเก ้าเศียร ที่พระราชาต ้องมาบรรทมและสมสู่ด ้วยในทุกคืน หากพระราชาลืมสังวาสเสพสวาทในวันใด... ก็อาจจะนามาซึ่งความล่มสลายของอาณาจักร .
  • 50. . ปราสาทตาแก้ว หมู่ปราสาทขนาดใหญ่ 5 หลังบนฐานพีระมิด . . ปราสาทพิมานอากาส ที่ต ้องร่วม "สวาท" เพื่ออาณาจักร . ....มีเมียงูยั่วสวาท....ก็ต้องตามใจกันหน่อย !!! ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 15 ยังพบรูปแบบปราสาทเชื่อมมณฑปแบบผนังทึบแผนผังสี่เหลี่ยมผืนผ ้า
  • 51. เข ้าได ้เฉพาะทางทางด ้านหน้า ที่ปราสาทประธานของ “กลุ่มปราสาทมูรติทั้ง 8” ที่ “ปราสาทธม” (Thom Pr.) นครโฉกครรคยาร์ – เกาะแกร์ ซึ่งก็เป็นมณฑปที่ยังไม่มีประตูด ้านข ้าง . และยังพบรูปแบบของอาคารมณฑปเชื่อมต่อด ้านหน้าประธานแบบใช ้เสายันโครงสร้าง ไม้เรือนหลังคา ของปราสาทบนยอดเขาตามคติไศวะนิกาย – ปศุปตะ หลังแรก ๆ ของวัฒนธรรมปราสาทแบบเขมร น่าจะอยู่ที่ปราสาทประธานของ “ปราสาทพระเนียคบวช” (Preah Neak Buos Pr.) ทางทิศเหนือของจังหวัดพระวิหาร ใกล ้ชายแดนไทยด ้านอาเภอน้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี และปราสาทบนยอดเขาที่มีความชัดเจนของการเชื่อมต่ออาคารมณฑปด้านหน้าที่ “เก่าแก่” ที่สุดในประเทศไทย ก็น่าจะเป็นที่ “ปราสาทโดนตวล” (Don Tuan Pr.) อาเภอ กันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ห่างจากปราสาทเขาพระวิหารไปทางทิศตะวันออกประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นปราสาทบนยอดเขาใกล ้หน้าผา ที่มีโครงสร้าง รูปแบบและวัสดุ แบบเดียวกันกับปราสาทพระเนียคบวช ที่อยู่ห่างไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต ้ในเขตจังหวัดพระวิหารประมาณ 32 กิโลเมตร ทั้งสองปราสาทจะใช ้“หินศิลาแลง” (Laterite) เป็นวัสดุหลักในการก่อสร้างตั้งแต่ส่วนของฐ านขึ้นมาถึงชั้นเรือนธาตุบริเวณเหนือกรอบประตู(Door Frame)เล็ก น้อย ส่วนบนเรือนธาตุขึ้นไปจะก่อด ้วยอิฐเป็นยอดเรือนปราสาท ส่วนทางด ้านหน้าของทั้งสองปราสาท จะสร้างเป็นอาคารเชื่อมต่อโดยใช ้เสาหิน และเสากรอบประตู รองรับน้าหนักของอิฐที่ก่อเป็นผนังและค้ายันโครงสร้างเครื่องไม้ อีกทั้งยังปรากฏ “ร่องรู” ของการสอดคานเครื่องไม้หลังคาบนหน้าบัน (Pediment) ของปราสาทประธานอย่างชัดเจน . .
  • 52. . หมู่อาคารของปราสาทพระเนียคบวช ปราสาทเชื่อมมณฑปบนเขาธรรมชาติในยุคแรก และแผนผังที่ได ้จากการสารวจโดยสานักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ อายุในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 15 . . ปราสาทโดนตวล ปราสาทเชื่อมมณฑปบนเขาธรรมชาติที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย อายุในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 15 สร้างขึ้นพร้อมกันกับปราสาทพระเนียคบวช . ถ ้าใครอ่านมาถึงตรงนี้ คงจะต ้องแยกสติกันหน่อยนะครับ ระหว่าง “ปราสาทบนยอดเขา” กับ”ปราสาทเชื่อมต่อกับเรือนมณฑป” คือปราสาทหินบนย อดเขานั้นจะพบได ้ทั้งรูปแบบของ “ปราสาทยอดเดี่ยว ปราสาทสามยอด และปราสาทที่มีเรือนมณฑปเชื่อมต่อกับตัวปราสาทประธานของเทวสถาน” ครับ .
  • 54. . ปราสาทแบบสามหลัง . . ปราสาทแบบปราสาทประธาน (วิมาน) เชื่อมต่อก ับอาคารมณฑปด้วยมุขกระสัน - ฉนวนทางเดิน - อันตราละ . กลับมาที่เรื่องของปราสาทบนยอดเขาก่อนนะครับ ในช่วงหลังพุทธศตวรรษที่ 15 – ช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 รูปแบบของปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาตามคติความเชื่อไศวะนิกาย – ปศุปตะ ก็ยังคงได ้รับความนิยมสร้างขึ้นหลายแห่ง เช่นที่ “ปราสาทพนมได 1” (Phnom Dei 1) เนินเขาที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมืองพระนคร “ปราสาทเขาโล้น” (Khao Lon
  • 55. Pr.) อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก ้ว “ปราสาทปลายบัด 1” (Plai Bat 1 Pr.) และ “ปราสาทปลายบัด 2” (Plai Bat 2 Pr.) ปราสาทหินบนยอดภูเขาไฟ 2 ยอดคู่ ที่อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ “ปราสาทเขาปู่ จ่า (Khao Puuja Pr.) ปราสาทอิฐบนยอดเขาเล็ก ๆ ที่อาจตั้งอยู่ไกลสุดจากเมืองพระนครหลวง ที่อาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย หรือซากของ “ปราสาทภูฝ้ าย” (Phu Fai Ruin) ที่อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ หรือ ซากศาสนสถานบนยอดเขา(ที่หายไปแล ้วเหลือแต่ฐานศิวลึงค์) บนยอดภูโค ้ง อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ และซากปราสาทหลังเดี่ยวบนยอดเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ . . ปราสาทพนมได 1 ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนเนินเขาเตี้ย ๆ .
  • 56. . ปราสาทเขาโล้น ปราสาทอิฐหลังเดี่ยวบนยอดเขา จังหวัดสระแก ้ว . . แนวเทือกเขาภูเขาไฟ ทางซ ้ายเป็ นยอดเขาปลายบัด 1 และทางขวาเป็ นยอดเขาปลายบัด 2
  • 57. อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ . . . ปราสาทเขาปลายบ ัด 1 เป็ นปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นบนยอดเขาในยุคปลายพุทธศตวรรษที่ 15 ก่อนจะมีการมาบูรณะสร้างเสริมใหม่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 .
  • 58. . ปราสาทเขาปลายบ ัด 2 เป็ นปราสาทอิฐที่สร้างขึ้นบนยอดเขาปลายบัดอีกหลังหนึ่ง ที่มีการวางแนวกาแพงล ้อมรอบ ในยุคปลายพุทธศตวรรษที่ 15 . . ซากกองหิน - อิฐของปราสาทภูฝ้ าย จังหวัดศรีสะเกษ อายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 16 .
  • 59. . ปรางค์อิฐหลังเดี่ยวบนเขาปู่ จ่า อายุในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 จังหวัดสุโขทัย . . ปราสาทอิฐหลังเดี่ยว บนยอดเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ อายุในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 - 17 .
  • 60. ซึ่ง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 นี้ ได ้เกิดการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดเขา ที่มีการจัดวางแผนผังของกลุ่มอาคารมณเฑียร บรรณาลัย โคปุระ อาคารระเบียงคดล ้อมรอบและระดับชั้นที่มีแผนผังซับซ ้อนมากขึ้น ตัวปราสาทประธานมีขนาดใหญ่และมีการเชื่อมต่อเข ้ากับเรือนมณฑป ด ้วยอาคาร “ฉนวน (ทางเดิน) – มุขกระสัน – อันตราละ”(Antarala) เช่นที่ “ปราสาทตาเมือนธม“ (Ta Muan Thom Pr.) ปราสาทศักดิ์สิทธิ์บนช่องเขาตาเมือน ที่อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ “ปราสาทวัดภู” (Wat Phu Pr.) แขวงจาปาศักดิ์ ประเทศลาว โดยการเริ่มขุดบาราย ก่อหินขึ้นเป็นขั้นพีระมิดขนาดใหญ่ สร้างทางดาเนินขึ้นสู่ภูควาย ที่เป็นที่ตั้งของปราสาทอิฐเก่าแก่ขึ้นใหม่ และ “ปราสาทพระวิหาร” (Preah Vihear Pr.) ปราสาท “ศาสนบรรพต” ที่มีความโดดเด่นที่สุดในอุษาคเนย์ . . ปราสาทประธาน ปราสาทพระวิหาร .
  • 61. . . หมู่อาคารพลับพลา ชาลาทางเดินและผนังชั้นบันไดขนาดใหญ่ ของปราสาทวัดภู เริ่มสร้างขึ้นในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 . และในช่วงเวลาเดียวกันนี้ ก็ยังคงมีความนิยมในการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดพีระมิด (ภูเขาจาลองลาดับชั้นสรวงสวรรค์5 ชั้น) สืบต่อเนื่องจากยุคก่อนหน้า แต่ก็มีคติความเชื่อที่เปลี่ยนแปลงไป จากความนิยมของอาณาจักรในลัทธิไศวะนิกาย – ปศุปตะ และตรีมูรติ ก็ได ้กลืนกลายมาเป็นคติ “ไวษณพนิกาย” ที่ยกย่องบูชาให้พระวิษณุ (พระนารายณ์) ขึ้นเป็นเทพเจ ้าสูงสุดในกลุ่มตรีมูรติ กลายมาเป็นการผสมผสานการก่อสร้างปราสาทหินตามแผนผังจักรวาลรูปทรงพีระมิด
  • 62. เดิมกับคติความเชื่อใหม่ของอาณาจักร ที่ “ปราสาทบาปวน (Baphhuon Pr.)” ทางทิศใต ้ของพระราชวังหลวง . . ปราสาทบาปวน ปราสาทพีระมิดในคติฮินดูแบบ "ไวษณพนิกาย" . ปราสาทวิมานบนยอดเขาที่น่าสนใจในยุคปลายพุทธศตวรรษที่16 อีกหลังหนึ่ง คือ “ปราสาทเจ้าสรีวิบล” (Prasat Chau Srei Vibol Pr.) ปราสาท หินบนยอดเขาโดดเล็ก ๆ ห่างไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต ้ของมุมบารายตะวันออกประมาณ 16 กิโลเมตร เป็นปราสาทที่มีการจัดวางแผนผังของกลุ่มอาคารศาสนสถาน ซุ้มประตูโคปุระ มณเฑียร บรรณาลัย และระดับชั้นที่มีแผนผังซับซ ้อน ในระบบ “ระเบียงคด” ล ้อมรอบปริมณฑลศักดิ์สิทธิ์ที่จุดศูนย์กลาง ล ้อมรอบด ้วยกาแพงและคูน้าขนาดใหญ่ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก .
  • 63. . .
  • 64. . . ปราสาทเจ้าสรีวิบล ปราสาทหินหลังเดี่ยวบนยอดเขา ที่มีการวางหมู่อาคารระเบียงคดล ้อมรอบปราสาทประธาน . หลังจากพุทธศตวรรษที่ 16 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 17 เป็ นต้นมา ความนิยมในการสร้างปราสาทเทวาลัยบนยอดเขาทั้งแบบปราสาทหลังเดี่ยว ปราสาทสามยอดและหมู่อาคารปราสาทที่มีแผนผังซับซ้อน ก็ยังคงปรากฏอยู่หลายแห่งทั้
  • 65. งในเขตของประเทศไทยและกัมพูชา ที่มีชื่อเสียงที่สุดก็คงไม่พ ้น “ปราสาทเขาพนมรุ้ง” (Phnom Rung Pr.) ศาสนบรรพตบนยอดภูเขาไฟที่งดงามที่สุดในประเทศไทย ที่อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ และปราสาทหินหลังเดี่ยวบนยอดเขาในยุคปลายพุทธศตวรรษที่ 17 อย่าง “ปราสาทตาควาย – ตากระเบย “(Ta Khwai – Ta Krabei Pr.) อาเภอ พนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทหินทรายที่ยังไม่ได ้แกะสลักรูปศิลปะใด ๆ บนยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก ท่ามกลางความขัดแย ้งของเรื่อง “เส้นสมมุติ” มาจนถึงในทุกวันนี้ . .
  • 67. . ปราสาทตาควาย ปราสาทปริศนาในยุคต ้นพุทธศตวรรษที่ 18 ตั้งอยู่บนยอดเขา "สันปันน้า" ยอดหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก . . . . ปราสาท “วิมาน” เชื่อมต่อมณฑปบนยอดเขา ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอุษาคเนย์ . . . ถึงปราสาทภูเพ็กจะเป็นเพียงซากของฐานอาคารปราสาทหินขนาดใหญ่บนยอดเขา แต่รูปแบบของแผนผังรวมเป็นแบบที่ใช ้แกนยาวเป็นหลัก (Plan Axe) ในแนวตะวันออก – ตะวันตก ที่เริ่มต ้นจากบันไดต ้นทางมายังชาลาทางเดินหรือทางดาเนิน (Pathway) ตรงขึ้นสู่ตระพักบันได (Terrace) ก่อนขึ้นสู่บันได (Staircase) ที่ไต่ระดับความลาดชันขึ้นไปสิ้นสุดที่เพิงหน้าผาหินทรายทางด ้านหน้าของยอดเข าดอยเพ็ก .
  • 68. . ชาลาทางเดิน หันหน ้าขึ้นไปสู่ยอดเขา . จากแนวแกนยาวเส ้นตรง เมื่อผ่านขึ้นไปสู่ยอดเขา ระยะทางกว่า 100 เมตร ก็จะพบตัวฐานของปราสาทภูเพ็ก วางตัวทอดยาว “หมุนหน้า” (Orientations) ไปทาง “ทิศตะวันออกแท้” (Due east ) โดยจะเห็นพระอาทิตย์ขึ้นตรงกับกรอบประตูในช่วงวัน “วสันตวิษุวัต” (Vernal Equinox) ซึ่งเป็นวันที่ “เวลา” (Times) ของช่วงสว่าง (กลางวัน) และช่วงมืด(กลางคืน) ในหนึ่งวันจะมีเวลาใกล ้เคียงกันมากที่สุดในรอบปี โดยแนว ฐานปราสาทภูเพ็ก จะทามุมเฉียงขึ้นไปทางทิศเหนือจากแนวเส ้นขนานละติจูด (Latitude Parallel) ประมาณ 3 องศา (มุม Azimuth 87 องศา)ในช่วงเวลาหนึ่งของเดือนมีนาคมและกันยายนในทุกปี พระอาทิตย์จะพ ้นขึ้นที่ขอบฟ้าทางทิศตะวันออกแท ้ตรงกับแกนหลักของปราสาทพอดี .
  • 69. . บนยอดฐานมณฑปของปราสาทภูเพ็ก แนวแกนยาวหันหน ้าไปทางทิศตะวันออก . ซึ่งก็เหมือนกันกับการหมุนหน้าหรือหมุนทิศของปราสาทเทวาลัยในวัฒนธรรมปร าสาทของเขมรโบราณโดยทั่วไปครับ ที่ส่วนใหญ่ก็จะเริ่มต ้นจากการ “รังวัด” หา มุมแสงของพระอาทิตย์ยามรุ่งเช ้าในช่วงเวลาอันเป็นมหามงคลฤกษ์ (ที่เรียกกันง่าย ๆ ว่า ฤกษ์งามยามดี) ในศาสตร์วิศวกรรมและดาราศาสตร์ธรรมชาติที่ซ่อนตัวอยู่ใน “ระบบความเชื่อ” (Belief System) โดยวางแผนผังตามแนวของแสงพระอาทิตย์ขึ้นยามเช ้า แสงทาบเป็นเงาจากหลักหมุดหนึ่งไปยังอีกหลักหนึ่งตามแนวเงาไปทางทิศตะวันตก เพื่อเตรียมการก่อสร้างอาคารศาสนสถานตามแนวหลักที่กาหนดขึ้นจากแสงอาทิตย์ สอดรับกับคติความเชื่อเก่าแก่ที่สืบทอดกันต่อมาตั้งแต่ยุคเก่าก่อน . ในสังคมเกษตรกรรมโบราณ (Ancient agricultural society) ซึ่งเป็ นสังคมบรรพกาล (Primitive Society) ก่อนการกาเนิดเกิดขึ้นของคติความเชื่อทางศาสนาที่ซับซ ้อนและมากขั้นตอน ช่วงเวลา “วสันตวิษุวัต” (March equinox) ก็คือช่วงเวลาของการ “เริ่มต้น” ของวิถีการผลิตในฤดูกาลเพาะปลูกใหม่ ที่จะต ้องใช ้การสังเกตช่วงเวลานี้ของรอบปี เพื่อการคานวณเวลาในการเตรียมเมล็ดพันธุ์ เพาะต ้นกล ้า เตรียมไถปรับดิน ถากร่องน้าและซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องใช ้ให้พร้อมพอเหมาะพอดีกับฝนแรกของ ช่วงฤดูกาลใหม่ ที่จะตกลงมาในช่วงเวลาอีกไม่นานนัก . การคานวณเวลาใหม่ที่ถูกต ้องจะนามาซึ่ง “ผลผลิต” (Productivity) ที่ เพียงพอต่อการอยู่รอดของชุมชน สังคมเกษตรกรรม
  • 70. และจะนาไปสู่ความเจริญเติบโตของสังคมขึ้นเป็นเมืองและวัฒนธรรมที่มีความซับ ซ ้อน มีพัฒนาการจนกลายเป็นอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่ . แต่หากการคานวณเวลาผิดพลาด ชักช ้าไม่ทันการ ชุมชนเกษตรกรรมโบราณที่ไม่มีเทคโนโลยีในการควบคุมธรรมชาติเฉกเช่นในยุค ปัจจุบัน ก็จะสุ่มเสี่ยงต่อ “การล่มสลาย” (Disintegrations) ของชุมชนไปตลอดกาล . ช่วงเวลาเริ่มต ้นฤดูเพาะปลูกจากการสังเกตการขึ้นของดวงอาทิตย์ของมนุษย์ จึงได ้กลายมาเป็น “ความสาคัญ” อย่างมหาศาลแก่มนุษย์ในสังคมเกษตรกรรม และเมื่อมีความสาคัญเช่นนี้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ใน “อานาจเหนือธรรมชาติ” (Animism) ที่พัฒนากลายมาเป็นคติความเชื่อทางศาสนา และเทวนิยมก็ยังคงสืบทอด – รักษาช่วงเวลาอันเป็นสาคัญให้เป็นช่วงเวลา “มหามงคลฤกษ์ – ศักดิ์สิทธิ์” จากอารยธรรมเก่าแก่ มาผสมผสานไว้กับการก่อสร้างอาคารศาสนสถาน ที่นอกจากจะเป็นศูนย์กลางของอานาจเหนือธรรมชาติและคติความเชื่อแล ้ว ยังคงใช ้เป็น “เครื่องมือ” (Tool) เพื่อเป็นจุดสังเกตที่สาคัญของมนุษย์ในการบ่งบอกช่วงเวลาสาคัญในรอบปี นั่นก็คือการสร้างอาคารศาสนสถานให้หันทิศทางไปให้ตรงกับช่วงเวลาอันเป็นมงคล จากอดีตนั่นเอง . . มุมมองจากฐานมุขด ้านหน ้า ไปยังฐานมณฑปทางด ้านทิศฝั่งทิศใต ้ . จากวันมงคลในช่วงเริ่มต ้นของฤดูกาลเพาะปลูก สืบทอดมาสู่คติความเชื่อโบราณของอินเดียผสมผสานรายละเอียดที่มีความซับซ ้อน มากขึ้นกว่าเดิม การหันทิศตามคติการสร้างศาสนสถานแห่งองค์เทพเจ ้า จึงใช ้คัมภีร์ปุราณะทางศาสนาเป็นข ้อกาหนด - กากับการก่อสร้างอย่างเคร่งครัด เพราะมณฑลของปราสาทก็คือ “ยันตรมณฑล” (Yantra Mandala) อันศักดิ์สิทธิ์ ที่ต ้องมีการจัดวาง “พลังอานาจ” ของกษัตริย์ผู้สถาปนาไว้ตามหลั กมณฑลจักรวาล (Cosmic Mandala) เพื่อให้มีอานาจ อานุภาพที่ยิ่งใหญ่ในทางโลกหรือการปกครองอาณาจักร