SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ที่มาและความสําคัญ
โดยทั่วไปแล้วรายวิชาคณิตศาสตร์มีลักษณะ
เป็นนามธรรม มีโครงสร้างที่ประกอบด้วย
คํานิยาม บทนิยาม สัจพจน์ ที่เป็นข้อตกลงเบื้องต้น
จากนั้นจึงใช้การให้เหตุผลที่สมเหตุสมผลสร้างทฤษฎี
บทต่าง ๆ ขึ้นและนําไปใช้อย่างเป็นระบบ คณิตศาสตร์
มีความถูกต้องเที่ยงตรง คงเส้นคงวา มีระเบียบแบบ
แผนเป็นเหตุเป็นผล และมีความสมบูรณ์ในตัวเอง หรือ
กล่าวได้ว่าคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์และศิลป์ที่ศึกษา
เกี่ยวกับแบบรูปและความสัมพันธ์ เพื่อให้ได้ข้อสรุป
และนําไปใช้ประโยชน์ คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็น
ภาษาสากลที่ทุกคนเข้าใจตรงกันในการสื่อสาร
(สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
2544 : 2) สามารถนําประสบการณ์ทางด้านความรู้
ความคิดและทักษะที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใช้ในชีวิตประจําวัน
จากการศึกษาการให้เหตุผลแบบต่างๆ
โดยเฉพาะ “ การให้เหตุผลแบบอุปนัย ” ทําให้เกิดความ
สนใจเป็นอย่างมาก และได้เกิดข้อสงสัยต่างๆ มากมาย
เกี่ยวกับตัวเลข ที่นํามาปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์แล้ว
ทําให้ลักษณะของตัวเลขในแบบต่างๆ มีความแปลก มี
ลักษณะเฉพาะตัว คณะผู้จัดทําจึงได้ร่วมมือกันศึกษา
ค้นคว้าเรื่อง “ การให้เหตุผลแบบอุปนัย ” จากแหล่งการ
เรียนรู้ต่างๆ เมื่อมีความเข้าใจดีแล้วคณะผู้จัดทําจึงอยาก
ที่จะเผยแพร่ความรู้นี้ให้กับผู้ที่สนใจ จึงได้จัดทํา
โครงงานนี้ขึ้น ทั้งนี้ นอกจากจะเป็นการเผยแพร่ความรู้
ความชํานาญ ให้แก่ผู้ที่สนใจแล้ว ยังเป็นการสร้างสื่อใน
การเรียนการสอนอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อนําเรื่องการให้เหตุผลไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจําวัน
2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับการทําโครงงาน
และการให้เหตุผลแบบอุปนัย เพิ่มขึ้น
ขอบเขตของการศึกษา
ขอบเขตในการศึกษาครั้งนี้ คือการให้เหตุผล
แบบอุปนัย ระยะเวลาในการศึกษา ระหว่างวันที่ 2
พฤศจิกายน พ.ศ.2558 ถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการให้
เหตุผลแบบอุปนัยมากขึ้น
2. ได้นําความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่น
3. สามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวันได้
เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การดําเนินงาน
1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหาวิชา
คณิตศาสตร์ บทนิยามและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับการให้
เหตุผล แบบอุปนัย
2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพิสูจน์และการ
ให้เหตุผล
3. วิเคราะห์ข้อมูล โดยการแยกข้อมูลเป็นข้อ
4. นําเสนอข้อมูลในรูปแบบของตาราง
สรุปผล
โครงงานคณิตศาสตร์เรื่อง การให้เหตุผล
แบบอุปนัยในชีวิตประจําวันนี้ เป็นโครงงานที่เน้นหลัก
ความจริง และต้องใช้ความคิดพิจารณาในการให้เหตุผล
แบบอุปนัย และจะต้องนึกถึงหลักความเป็นจริง ถ้า
เหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นจริง ก็จะสรุปได้ว่าสมเหตุสมผล
ตามหลักความเป็นจริง และถ้าไม่เป็นจริง ก็ไม่สามารถ
สรุปได้ว่าสมเหตุสมผล และไม่เป็นจริง
โครงงานคณิตศาสตร์
“การให้เหตุผลแบบอุปนัยในชีวิตประจําวัน”
จัดทําโดย
นางสาวกาญจนา คําระกาย
นางสาวจุฑารัตน์ บุสดี
นางสาวเจนจิรา พิมทา
โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
ตําบลหัวช้าง อําเภอจตุรพักตรพิมาน
จังหวัดร้อยเอ็ด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
อภิปรายผล
ในชีวิตประจําวันมีข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
มากมาย ซึ่งสามารถนํามาประยุกต์ให้เข้ากับโครงงาน
คณิตศาสตร์เรื่องการให้เหตุผลแบบอุปนัย ซึ่งจะต้อง
เน้นหลักตามความเป็นจริงในชีวิตประจําวัน เพื่อหา
ข้อสรุปในการรับข่าวสาร ดังนั้นถ้าข้อมูลนั้นเป็นจริงก็
แสดงว่า สมเหตุสมผล ตามหลักความเป็นจริง แต่ถ้า
ข้อมูลนั้นไม่เป็นจริงก็แสดงว่าไม่สมเหตุสมผล

More Related Content

What's hot

คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรJiraprapa Suwannajak
 
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีโครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีTanyaporn Puttawan
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์K.s. Mam
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2Yoon Yoon
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Rut' Np
 

What's hot (17)

คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไร
 
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีโครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวก ภาคผนวก
ภาคผนวก
 
0102 01 พัฒนาการของตรรกศาสตร์
0102 01 พัฒนาการของตรรกศาสตร์0102 01 พัฒนาการของตรรกศาสตร์
0102 01 พัฒนาการของตรรกศาสตร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แนะนำขอบข่ายเนื้อหา
แนะนำขอบข่ายเนื้อหาแนะนำขอบข่ายเนื้อหา
แนะนำขอบข่ายเนื้อหา
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความการเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 

Viewers also liked

โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับEisclassspk
 
แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่
แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่
แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่Nicha Nichakorn
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมJutarat Bussadee
 
แผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระแผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระAon Narinchoti
 
แผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลายแผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลายjunyarat
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติsiriyakorn saratho
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศJutarat Bussadee
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Tanakorn Pansupa
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 

Viewers also liked (20)

โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่
แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่
แผ่นพับผ้าไหมมัดหมี่
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
แผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระแผ่นพับกลุ่่มสาระ
แผ่นพับกลุ่่มสาระ
 
แผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลายแผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลาย
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 

Similar to แผ่นพับ

โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์Anuchai Theeraroungchaisri
 
ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfssuser639c13
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfssuser639c13
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์Benz Lovestory
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2kanwan0429
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2kanwan0429
 
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการkrupornpana55
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...Ployza Com-ed
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...Ham Had
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2nattawad147
 

Similar to แผ่นพับ (20)

บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
 
ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdf
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 

แผ่นพับ

  • 1. ที่มาและความสําคัญ โดยทั่วไปแล้วรายวิชาคณิตศาสตร์มีลักษณะ เป็นนามธรรม มีโครงสร้างที่ประกอบด้วย คํานิยาม บทนิยาม สัจพจน์ ที่เป็นข้อตกลงเบื้องต้น จากนั้นจึงใช้การให้เหตุผลที่สมเหตุสมผลสร้างทฤษฎี บทต่าง ๆ ขึ้นและนําไปใช้อย่างเป็นระบบ คณิตศาสตร์ มีความถูกต้องเที่ยงตรง คงเส้นคงวา มีระเบียบแบบ แผนเป็นเหตุเป็นผล และมีความสมบูรณ์ในตัวเอง หรือ กล่าวได้ว่าคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์และศิลป์ที่ศึกษา เกี่ยวกับแบบรูปและความสัมพันธ์ เพื่อให้ได้ข้อสรุป และนําไปใช้ประโยชน์ คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็น ภาษาสากลที่ทุกคนเข้าใจตรงกันในการสื่อสาร (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2544 : 2) สามารถนําประสบการณ์ทางด้านความรู้ ความคิดและทักษะที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจําวัน จากการศึกษาการให้เหตุผลแบบต่างๆ โดยเฉพาะ “ การให้เหตุผลแบบอุปนัย ” ทําให้เกิดความ สนใจเป็นอย่างมาก และได้เกิดข้อสงสัยต่างๆ มากมาย เกี่ยวกับตัวเลข ที่นํามาปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์แล้ว ทําให้ลักษณะของตัวเลขในแบบต่างๆ มีความแปลก มี ลักษณะเฉพาะตัว คณะผู้จัดทําจึงได้ร่วมมือกันศึกษา ค้นคว้าเรื่อง “ การให้เหตุผลแบบอุปนัย ” จากแหล่งการ เรียนรู้ต่างๆ เมื่อมีความเข้าใจดีแล้วคณะผู้จัดทําจึงอยาก ที่จะเผยแพร่ความรู้นี้ให้กับผู้ที่สนใจ จึงได้จัดทํา โครงงานนี้ขึ้น ทั้งนี้ นอกจากจะเป็นการเผยแพร่ความรู้ ความชํานาญ ให้แก่ผู้ที่สนใจแล้ว ยังเป็นการสร้างสื่อใน การเรียนการสอนอีกด้วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนําเรื่องการให้เหตุผลไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวัน 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับการทําโครงงาน และการให้เหตุผลแบบอุปนัย เพิ่มขึ้น ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตในการศึกษาครั้งนี้ คือการให้เหตุผล แบบอุปนัย ระยะเวลาในการศึกษา ระหว่างวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 ถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการให้ เหตุผลแบบอุปนัยมากขึ้น 2. ได้นําความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่น 3. สามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวันได้ เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย การดําเนินงาน 1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหาวิชา คณิตศาสตร์ บทนิยามและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับการให้ เหตุผล แบบอุปนัย 2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพิสูจน์และการ ให้เหตุผล 3. วิเคราะห์ข้อมูล โดยการแยกข้อมูลเป็นข้อ 4. นําเสนอข้อมูลในรูปแบบของตาราง สรุปผล โครงงานคณิตศาสตร์เรื่อง การให้เหตุผล แบบอุปนัยในชีวิตประจําวันนี้ เป็นโครงงานที่เน้นหลัก ความจริง และต้องใช้ความคิดพิจารณาในการให้เหตุผล แบบอุปนัย และจะต้องนึกถึงหลักความเป็นจริง ถ้า เหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นจริง ก็จะสรุปได้ว่าสมเหตุสมผล ตามหลักความเป็นจริง และถ้าไม่เป็นจริง ก็ไม่สามารถ สรุปได้ว่าสมเหตุสมผล และไม่เป็นจริง
  • 2. โครงงานคณิตศาสตร์ “การให้เหตุผลแบบอุปนัยในชีวิตประจําวัน” จัดทําโดย นางสาวกาญจนา คําระกาย นางสาวจุฑารัตน์ บุสดี นางสาวเจนจิรา พิมทา โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก ตําบลหัวช้าง อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ อภิปรายผล ในชีวิตประจําวันมีข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ มากมาย ซึ่งสามารถนํามาประยุกต์ให้เข้ากับโครงงาน คณิตศาสตร์เรื่องการให้เหตุผลแบบอุปนัย ซึ่งจะต้อง เน้นหลักตามความเป็นจริงในชีวิตประจําวัน เพื่อหา ข้อสรุปในการรับข่าวสาร ดังนั้นถ้าข้อมูลนั้นเป็นจริงก็ แสดงว่า สมเหตุสมผล ตามหลักความเป็นจริง แต่ถ้า ข้อมูลนั้นไม่เป็นจริงก็แสดงว่าไม่สมเหตุสมผล