SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
14
มหัศจรรย์ป่าสาคู
ถิ่นกำ�เนิดป่าสาคู
	 สาคู ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคใต้ 14 จังหวัดตั้งแต่ชุมพร ลงมา เป็นชนิด
ยอดสีแดง Metroxylon sagus Rottb (Phengklai,1995) จัดเป็นพืชท้องถิ่น สามารถขึ้น
ได้เองตามธรรมชาติ ชอบขึ้นและเจริญได้ดี ในที่ชื้นแฉะ มีน้ำ�ขังอยู่ตลอดเวลา เช่น ริมน้ำ�
ริมห้วยในหนองและในป่าพรุทั่วไปซึ่งมีสภาพดินเปรี้ยวจัดแหล่งที่พบในโลกคือเขตร้อนชื้น
แถบเอเชียตะวันออก - เฉียงใต้ และแถบโอซีเนีย (Oceania) ซึ่งเป็น หมู่เกาะแปซิฟิกใต้
และบางส่วนในเขตร้อนของทวีปอเมริกาแถบออสเตรเลียนิวซีแลนด์และหมู่เกาะใกล้เคียง
	 กล่าวคือ พบการกระจายอยู่ระหว่าง Melanesia (ตะวันออก) ถึง ไทย (ตะวันตก)
และ Mindanao (เหนือ) ถึง Timor (ใต้ ) ( Manan,et al. 1984)
	 เนื่องจากมีข้อจำ�กัดอยู่ในแนวเส้นรุ้งที่17องศาใต้ถึง16องศาเหนือเท่านั้น เพราะ
เป็นเขตร้อนชื้นช่วงอุณหภูมิประมาณ 29-32องศาเซลเซียสและพบได้ในพื้นที่ราบจนถึง
พื้นที่สูงถึง 1,200 เมตร เหนือระดับน้ำ�ทะเล หรือบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร ของทวีปเอเชีย
และหมู่เกาะแปซิฟิกโดยมีมากที่สุดในประเทศอินโดนีเซียซึ่งมีแหล่งปลูกอยู่ บนเกาะใหญ่
6เกาะคือสุมาตราชวา กาลิมันตันสุลาเวสีมาลูกูและอิเรียนจายา มีพื้นที่ปลูกประมาณ
1.2 ล้านเฮกตาร์
	 ผลผลิต80%ได้มาจากเกาะอิเรียนจายาแป้งที่มีคุณภาพดีจะส่งไปขายยังประเทศ
อังกฤษ, ประเทศญี่ปุ่น, และประเทศไต้หวัน
	 นอกจากนี้ ยังพบสาคูจำ�นวนมากที่ ประเทศปาปัวนิวกินี และประเทศมาเลเซีย
โดยเฉพาะ ในรัฐซาราวักจัดเป็นพื้นที่แหล่งใหญ่ อีกแหล่งหนึ่ง ที่มีการปลูกสาคูกันมาก
ประมาณ 19 ล้านไร่ (Sim,e 1986) (อ้างใน ธนิตย์ หนูยิ้ม : สาคูพันธุ์ไม้ 2548 )
เนื้อที่ป่าสาคูที่ขึ้นเองตามธรรมชาติในโลก มีประมาณ 14.06 ล้านไร่ และมีป่า
สาคูที่มนุษย์ปลูกขึ้นหรือกึ่งปลูก ประมาณ 1.40 ล้านไร่ รวมเป็น พื้นที่ 15.46 ล้านไร่
(Flach,1983) ปริมาณที่พบเรียงตามลำ�ดับ จากมากไปหาน้อยดังนี้
L a b S c h o o l P r o j e c t
15
มหัศจรรย์ป่าสาคู
1. ประเทศอินโดนีเซีย 56 % โดยเฉพาะที่เกาะ Irian Jaya เป็นแหล่งใหญ่ที่สุด
2. ประเทศปาปัวนิวกินี 41 %
จึงสรุปได้ว่าอินโดนีเซียเป็นประเทศที่เป็นศูนย์กลางของแหล่งวัตถุดิบจากต้นสาคู
	 สำ�หรับประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่บริเวณ จุดศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มีพื้นที่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร เฉพาะภาคใต้ ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ
71,717 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 14 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ประเทศ จากการสำ�รวจพบ
ว่าสาคูมีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติขึ้นอยู่เป็นกลุ่มย่อยๆ แต่ละกลุ่มใช้พื้นที่ไม่มากนัก
โดยพบเฉพาะพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด ของประเทศเท่านั้น เช่น ชุมพร สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา และพบหนาแน่นในตอนล่างของภาคใต้ ได้แก่
จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส
	 โดยทั่วไป สาคูมักขึ้นอยู่ริมแหล่งน้ำ�ใกล้กับหมู่บ้าน หรือที่อยู่อาศัย สาคูที่พบใน
ประเทศไทยเท่าที่สำ�รวจพบ มีเพียงชนิดเดียว คือ ชนิดยอดสีแดง
Metroxylon sagus Rottb. มีลักษณะ ขอบใบเรียบ ไม่มีหนาม และจะมีขนาดต้น
โตกว่าชนิดยอดสีขาว
แสดงภาพ เปรียบภาพแสดงลักษณะ ของ
สาคูชนิดยอดสีแดง Metroxylon sagus Rottb. กับสาคูชนิดอื่นๆที่พบในโลก
16
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพแผนที่การกระจายตัวของสาคูในภาคใต้
			 = มากที่สุด
			 = มาก
			 = ปานกลาง
			 = น้อย
			 = น้อยมาก
(ที่มา : โครงการแผนที่ภูมินิทัศน์ภาคใต้ : ฐานเศรษฐกิจและทุนวัฒนธรรม) : (ธนิต หนูยิ้ม)
L a b S c h o o l P r o j e c t
17
มหัศจรรย์ป่าสาคู
Metroxylon sagus Rottb. สาคูยอดสีแดง พบในภาคใต้ของประเทศไทย
18
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพ แผนที่แสดงการกระจายตัวของสาคู
ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestry) www.traditionaltree.org
หมู่เกาะแถบมหาสมุทรแปซิกใต้ เช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศปาปัวนิวกินี
เกาะโซโลมอน เกาะซามัว เกาะอเมริกันซามัวเกาะฟิจิฯลฯ ล้วนเป็นแหล่งกำ�เนิดป่าสาคู
ด้วยจัดเป็นเขตร้อนชื้น อยู่ใน แนวเส้นรุ้งที่ 17 องศาใต้ ถึง 16 องศาเหนือ หรือบริเวณใกล้
เส้นศูนย์สูตร ของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
L a b S c h o o l P r o j e c t
19
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพ แผนที่หมู่เกาะ
และประเทศต่างๆแถบโอซีเนียหรือหมู่เกาะในแปซิฟิกใต้
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
แสดงภาพ แผนที่หมู่เกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ถิ่นกำ�เนิดป่าสาคู
20
มหัศจรรย์ป่าสาคู
	
แสดงภาพ พื้นที่ป่าสาคูแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
แสดงภาพ แผนที่ประเทศปาปัวนิวกินี
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
ภาคใต้ของประเทศไทย
ประเทศอินโดนิเซีย “พบมากที่สุด”
ประเทศปาปัวนิวกินี
L a b S c h o o l P r o j e c t
21
มหัศจรรย์ป่าสาคู
สาคูทั่วโลก
ชนิดพันธุ์ ของสาคูเท่าที่สำ�รวจพบจนถึงปัจจุบันนี้ ตามรายงานของ Flach (1997)
พบว่าในโลกนี้มี 9 ชนิด คือ
1.Metroxylon sagus Rottb.
2.M. rumphii Mart.
3.M. squarrosum Becc.
4.M. warburgii Heim
5.M. upoluense Becc.
6.M. Vitiense Benth et Hook.
7.M. amicarum Becc.
8.M. salomoense Becc. และ
9.M. bougainvillense Becc.
แสดงภาพ สาคูชนิด M. warburgii Heim
พบที่ เกาะอเมริกันซามัว
ที่มา : Species Profiles for Pacific Island
Agroforestrywww.traditionaltree.org
22
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพ สาคูชนิด
M. warburgii Heim ที่เกาะซามัว
ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
L a b S c h o o l P r o j e c t
23
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพ ลักษณะและการใช้ประโยชน์จากสาคู
ชนิด M. warburgii Heim ของชาวเกาะซามัวและท่อนสาคูในปาปัวนิวกินี
ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
24
มหัศจรรย์ป่าสาคู
	
แสดงภาพ ลักษณะและการใช้ประโยชน์จากสาคูชนิด M. warburgii Heim
ของชาวเกาะอเมริกันซามัว
ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
L a b S c h o o l P r o j e c t
25
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพ แผนที่แสดงที่ตั้งเกาะซามัว
ที่ตั้ง หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ อยู่ใกล้กับหมู่เกาะคุก กึ่ง กลางระหว่าง
ฮาวายและ นิวซีแลนด์ ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ คือ Savai’I และ Upolu และ
เกาะเล็กๆ อีกจำ�นวน 7 เกาะ ตั้งอยู่ในแนวเขตภูเขาไฟ พบสาคู ชนิด M. warburgii Heim
แสดงภาพ บ้านชาวเกาะซามัวใช้ใบสาคูทำ�หลังคาและฝาบ้าน
26
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพ สาคูชนิด M. Vitiense Benth et Hook สำ�รวจพบในหมู่เกาะฟิจิ
ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
	 สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิ ที่ตั้ง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ห่าง
จากออสเตรเลียไปทางทิศตะวันออกประมาณ 2,880 กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศ เป็น
เกาะหินภูเขาไฟ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีพื้นที่ราบเพียงเล็กน้อยมีแร่ธรรมชาติเช่น
ทอง เงิน ทองแดง แมงกานีส ในเกาะ Viti Levu มีบ่อน้ำ�พุร้อนและหุบเขาที่มีแม่น้ำ�ไหล
ผ่าน พื้นที่ ส่วนใหญ่ ปกคลุมด้วยป่าไม้ และต้นมะพร้าวที่บริเวณชายฝั่ง บริเวณที่แห้งแล้ง
เป็นทุ่งหญ้า หรือใช้ในการทำ�ไร่อ้อย ภูมิอากาศแบบเขตร้อน และอยู่ในเขตมรสุม
พบสาคูชนิด M. Vitiense Benth et Hook
L a b S c h o o l P r o j e c t
27
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพลักษณะสาคูชนิด M. salomoense Becc. ที่พบในหมู่เกาะโซโลมอน
ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
28
มหัศจรรย์ป่าสาคู
	 แสดงภาพหมู่เกาะโซโลมอน
หมู่เกาะโซโลมอน ที่ตั้งตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกห่างจากปาปัวกินีไปทาง
ตะวันออกประมาณ1,600กิโลเมตรเชื้อชาติเมลานีเซียน(Melanesian)ร้อยละ94ที่เหลือ
ร้อยละ 6 ประกอบด้วยไมโครนีเซีย เอเชีย และยุโรป พบสาคู ชนิด M. salomoense Becc.
แสดงภาพ ต้นสาคูกำ�ลังออกดอกที่มา : http://www.wildcrafting.net/forage/plant/91
L a b S c h o o l P r o j e c t
29
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพสาคูชนิด M. amicarum Becc
ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org

More Related Content

What's hot

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้Kittayaporn Changpan
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้Alatreon Deathqz
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรAuraphin Phetraksa
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forestpukan19
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 

What's hot (17)

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
ป่าไม้
ป่าไม้ป่าไม้
ป่าไม้
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forest
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 

Viewers also liked

BONIE / AVATAR
BONIE / AVATARBONIE / AVATAR
BONIE / AVATARroxanaip
 
Informativo n° 23 4º básico a- viernes 23 de agosto
Informativo n° 23  4º básico a- viernes 23 de agostoInformativo n° 23  4º básico a- viernes 23 de agosto
Informativo n° 23 4º básico a- viernes 23 de agostoColegio Camilo Henríquez
 
Licencias Creatives Commons
Licencias Creatives CommonsLicencias Creatives Commons
Licencias Creatives CommonsCamila Reyes
 
Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017
Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017
Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017Slamet Nurhadi
 
Visita na Casa de Weube dia 14/11/11
Visita na Casa de Weube dia 14/11/11Visita na Casa de Weube dia 14/11/11
Visita na Casa de Weube dia 14/11/11Zé de Melo
 
Reserva de la biosfera urdaibai
Reserva de la biosfera urdaibaiReserva de la biosfera urdaibai
Reserva de la biosfera urdaibaiAmanda C
 
Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...
Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...
Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...Skelton Thatcher Consulting Ltd
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001suttidakamsing
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

Viewers also liked (18)

BONIE / AVATAR
BONIE / AVATARBONIE / AVATAR
BONIE / AVATAR
 
Informativo n° 23 4º básico a- viernes 23 de agosto
Informativo n° 23  4º básico a- viernes 23 de agostoInformativo n° 23  4º básico a- viernes 23 de agosto
Informativo n° 23 4º básico a- viernes 23 de agosto
 
Licencias Creatives Commons
Licencias Creatives CommonsLicencias Creatives Commons
Licencias Creatives Commons
 
Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017
Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017
Slamet Nurhadi's CV - Jan 2017
 
Gimnasio
GimnasioGimnasio
Gimnasio
 
Creative commons
Creative commonsCreative commons
Creative commons
 
CovarrubiasHartmanNCCWE
CovarrubiasHartmanNCCWECovarrubiasHartmanNCCWE
CovarrubiasHartmanNCCWE
 
Evaluation
EvaluationEvaluation
Evaluation
 
Visita na Casa de Weube dia 14/11/11
Visita na Casa de Weube dia 14/11/11Visita na Casa de Weube dia 14/11/11
Visita na Casa de Weube dia 14/11/11
 
Reserva de la biosfera urdaibai
Reserva de la biosfera urdaibaiReserva de la biosfera urdaibai
Reserva de la biosfera urdaibai
 
Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...
Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...
Demystifying Operational Features for Product Owners - AgileCam - SkeltonThat...
 
Infosys ppt
Infosys pptInfosys ppt
Infosys ppt
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
geología introducción
geología introducción geología introducción
geología introducción
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Similar to 2ถิ่นกำเนิด

Similar to 2ถิ่นกำเนิด (7)

ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Sci Project
Sci ProjectSci Project
Sci Project
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 

2ถิ่นกำเนิด

  • 1. 14 มหัศจรรย์ป่าสาคู ถิ่นกำ�เนิดป่าสาคู สาคู ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคใต้ 14 จังหวัดตั้งแต่ชุมพร ลงมา เป็นชนิด ยอดสีแดง Metroxylon sagus Rottb (Phengklai,1995) จัดเป็นพืชท้องถิ่น สามารถขึ้น ได้เองตามธรรมชาติ ชอบขึ้นและเจริญได้ดี ในที่ชื้นแฉะ มีน้ำ�ขังอยู่ตลอดเวลา เช่น ริมน้ำ� ริมห้วยในหนองและในป่าพรุทั่วไปซึ่งมีสภาพดินเปรี้ยวจัดแหล่งที่พบในโลกคือเขตร้อนชื้น แถบเอเชียตะวันออก - เฉียงใต้ และแถบโอซีเนีย (Oceania) ซึ่งเป็น หมู่เกาะแปซิฟิกใต้ และบางส่วนในเขตร้อนของทวีปอเมริกาแถบออสเตรเลียนิวซีแลนด์และหมู่เกาะใกล้เคียง กล่าวคือ พบการกระจายอยู่ระหว่าง Melanesia (ตะวันออก) ถึง ไทย (ตะวันตก) และ Mindanao (เหนือ) ถึง Timor (ใต้ ) ( Manan,et al. 1984) เนื่องจากมีข้อจำ�กัดอยู่ในแนวเส้นรุ้งที่17องศาใต้ถึง16องศาเหนือเท่านั้น เพราะ เป็นเขตร้อนชื้นช่วงอุณหภูมิประมาณ 29-32องศาเซลเซียสและพบได้ในพื้นที่ราบจนถึง พื้นที่สูงถึง 1,200 เมตร เหนือระดับน้ำ�ทะเล หรือบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร ของทวีปเอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิกโดยมีมากที่สุดในประเทศอินโดนีเซียซึ่งมีแหล่งปลูกอยู่ บนเกาะใหญ่ 6เกาะคือสุมาตราชวา กาลิมันตันสุลาเวสีมาลูกูและอิเรียนจายา มีพื้นที่ปลูกประมาณ 1.2 ล้านเฮกตาร์ ผลผลิต80%ได้มาจากเกาะอิเรียนจายาแป้งที่มีคุณภาพดีจะส่งไปขายยังประเทศ อังกฤษ, ประเทศญี่ปุ่น, และประเทศไต้หวัน นอกจากนี้ ยังพบสาคูจำ�นวนมากที่ ประเทศปาปัวนิวกินี และประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะ ในรัฐซาราวักจัดเป็นพื้นที่แหล่งใหญ่ อีกแหล่งหนึ่ง ที่มีการปลูกสาคูกันมาก ประมาณ 19 ล้านไร่ (Sim,e 1986) (อ้างใน ธนิตย์ หนูยิ้ม : สาคูพันธุ์ไม้ 2548 ) เนื้อที่ป่าสาคูที่ขึ้นเองตามธรรมชาติในโลก มีประมาณ 14.06 ล้านไร่ และมีป่า สาคูที่มนุษย์ปลูกขึ้นหรือกึ่งปลูก ประมาณ 1.40 ล้านไร่ รวมเป็น พื้นที่ 15.46 ล้านไร่ (Flach,1983) ปริมาณที่พบเรียงตามลำ�ดับ จากมากไปหาน้อยดังนี้
  • 2. L a b S c h o o l P r o j e c t 15 มหัศจรรย์ป่าสาคู 1. ประเทศอินโดนีเซีย 56 % โดยเฉพาะที่เกาะ Irian Jaya เป็นแหล่งใหญ่ที่สุด 2. ประเทศปาปัวนิวกินี 41 % จึงสรุปได้ว่าอินโดนีเซียเป็นประเทศที่เป็นศูนย์กลางของแหล่งวัตถุดิบจากต้นสาคู สำ�หรับประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่บริเวณ จุดศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร เฉพาะภาคใต้ ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 71,717 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 14 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ประเทศ จากการสำ�รวจพบ ว่าสาคูมีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติขึ้นอยู่เป็นกลุ่มย่อยๆ แต่ละกลุ่มใช้พื้นที่ไม่มากนัก โดยพบเฉพาะพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด ของประเทศเท่านั้น เช่น ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา และพบหนาแน่นในตอนล่างของภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส โดยทั่วไป สาคูมักขึ้นอยู่ริมแหล่งน้ำ�ใกล้กับหมู่บ้าน หรือที่อยู่อาศัย สาคูที่พบใน ประเทศไทยเท่าที่สำ�รวจพบ มีเพียงชนิดเดียว คือ ชนิดยอดสีแดง Metroxylon sagus Rottb. มีลักษณะ ขอบใบเรียบ ไม่มีหนาม และจะมีขนาดต้น โตกว่าชนิดยอดสีขาว แสดงภาพ เปรียบภาพแสดงลักษณะ ของ สาคูชนิดยอดสีแดง Metroxylon sagus Rottb. กับสาคูชนิดอื่นๆที่พบในโลก
  • 3. 16 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพแผนที่การกระจายตัวของสาคูในภาคใต้ = มากที่สุด = มาก = ปานกลาง = น้อย = น้อยมาก (ที่มา : โครงการแผนที่ภูมินิทัศน์ภาคใต้ : ฐานเศรษฐกิจและทุนวัฒนธรรม) : (ธนิต หนูยิ้ม)
  • 4. L a b S c h o o l P r o j e c t 17 มหัศจรรย์ป่าสาคู Metroxylon sagus Rottb. สาคูยอดสีแดง พบในภาคใต้ของประเทศไทย
  • 5. 18 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ แผนที่แสดงการกระจายตัวของสาคู ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestry) www.traditionaltree.org หมู่เกาะแถบมหาสมุทรแปซิกใต้ เช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศปาปัวนิวกินี เกาะโซโลมอน เกาะซามัว เกาะอเมริกันซามัวเกาะฟิจิฯลฯ ล้วนเป็นแหล่งกำ�เนิดป่าสาคู ด้วยจัดเป็นเขตร้อนชื้น อยู่ใน แนวเส้นรุ้งที่ 17 องศาใต้ ถึง 16 องศาเหนือ หรือบริเวณใกล้ เส้นศูนย์สูตร ของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 6. L a b S c h o o l P r o j e c t 19 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ แผนที่หมู่เกาะ และประเทศต่างๆแถบโอซีเนียหรือหมู่เกาะในแปซิฟิกใต้ (ภาพจากอินเทอร์เน็ต) แสดงภาพ แผนที่หมู่เกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ถิ่นกำ�เนิดป่าสาคู
  • 8. L a b S c h o o l P r o j e c t 21 มหัศจรรย์ป่าสาคู สาคูทั่วโลก ชนิดพันธุ์ ของสาคูเท่าที่สำ�รวจพบจนถึงปัจจุบันนี้ ตามรายงานของ Flach (1997) พบว่าในโลกนี้มี 9 ชนิด คือ 1.Metroxylon sagus Rottb. 2.M. rumphii Mart. 3.M. squarrosum Becc. 4.M. warburgii Heim 5.M. upoluense Becc. 6.M. Vitiense Benth et Hook. 7.M. amicarum Becc. 8.M. salomoense Becc. และ 9.M. bougainvillense Becc. แสดงภาพ สาคูชนิด M. warburgii Heim พบที่ เกาะอเมริกันซามัว ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
  • 9. 22 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ สาคูชนิด M. warburgii Heim ที่เกาะซามัว ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
  • 10. L a b S c h o o l P r o j e c t 23 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ ลักษณะและการใช้ประโยชน์จากสาคู ชนิด M. warburgii Heim ของชาวเกาะซามัวและท่อนสาคูในปาปัวนิวกินี ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
  • 11. 24 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ ลักษณะและการใช้ประโยชน์จากสาคูชนิด M. warburgii Heim ของชาวเกาะอเมริกันซามัว ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
  • 12. L a b S c h o o l P r o j e c t 25 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ แผนที่แสดงที่ตั้งเกาะซามัว ที่ตั้ง หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ อยู่ใกล้กับหมู่เกาะคุก กึ่ง กลางระหว่าง ฮาวายและ นิวซีแลนด์ ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ คือ Savai’I และ Upolu และ เกาะเล็กๆ อีกจำ�นวน 7 เกาะ ตั้งอยู่ในแนวเขตภูเขาไฟ พบสาคู ชนิด M. warburgii Heim แสดงภาพ บ้านชาวเกาะซามัวใช้ใบสาคูทำ�หลังคาและฝาบ้าน
  • 13. 26 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ สาคูชนิด M. Vitiense Benth et Hook สำ�รวจพบในหมู่เกาะฟิจิ ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิ ที่ตั้ง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ห่าง จากออสเตรเลียไปทางทิศตะวันออกประมาณ 2,880 กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศ เป็น เกาะหินภูเขาไฟ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีพื้นที่ราบเพียงเล็กน้อยมีแร่ธรรมชาติเช่น ทอง เงิน ทองแดง แมงกานีส ในเกาะ Viti Levu มีบ่อน้ำ�พุร้อนและหุบเขาที่มีแม่น้ำ�ไหล ผ่าน พื้นที่ ส่วนใหญ่ ปกคลุมด้วยป่าไม้ และต้นมะพร้าวที่บริเวณชายฝั่ง บริเวณที่แห้งแล้ง เป็นทุ่งหญ้า หรือใช้ในการทำ�ไร่อ้อย ภูมิอากาศแบบเขตร้อน และอยู่ในเขตมรสุม พบสาคูชนิด M. Vitiense Benth et Hook
  • 14. L a b S c h o o l P r o j e c t 27 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพลักษณะสาคูชนิด M. salomoense Becc. ที่พบในหมู่เกาะโซโลมอน ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org
  • 15. 28 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพหมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะโซโลมอน ที่ตั้งตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกห่างจากปาปัวกินีไปทาง ตะวันออกประมาณ1,600กิโลเมตรเชื้อชาติเมลานีเซียน(Melanesian)ร้อยละ94ที่เหลือ ร้อยละ 6 ประกอบด้วยไมโครนีเซีย เอเชีย และยุโรป พบสาคู ชนิด M. salomoense Becc. แสดงภาพ ต้นสาคูกำ�ลังออกดอกที่มา : http://www.wildcrafting.net/forage/plant/91
  • 16. L a b S c h o o l P r o j e c t 29 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพสาคูชนิด M. amicarum Becc ที่มา : Species Profiles for Pacific Island Agroforestrywww.traditionaltree.org