SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
สถานการณการกัดเซาะชายฝงหาดประพาส จังหวัดระนอง
Coastal Erosion Situation in Praphat Beach, Ranong Province
ปรารพ แปลงงาน
ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
Plarop Plangngan
ชายฝงทะเลเปนพื้นที่ที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงมากตลอดเวลาและเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
ในรูปแบบการสะสมตัว (Depositional coast) และการกัดเซาะ (Erosional coast) เกิดขึ้นมีสาเหตุจาก
ลักษณะทางธรณีวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติ (Natural processes) (นวรัตน, 2544 ; สิน และ
คณะ, 2545) เชน ความแรงคลื่น ลม และกระแสน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเพิ่มขึ้นของ
ระดับน้ำทะเล การขาดความสมดุลของมวลทรายที่เคลื่อนที่ตามแนวชายฝง (อดุลย และคณะ, 2550)
และกิจกรรมของมนุษย สงผลใหความสมดุลตามธรรมชาติของชายฝงถูกรบกวนอยางตอเนื่อง และเปน
ตัวเรงใหแนวชายฝงทะเลมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะการเกิดการกัดเซาะชายฝง (erosion)
การแกปญหาการกัดเซาะชายฝงตองใหความสำคัญตอวิธีการที่สอดคลองกับระบบหรือกระบวนการทาง
ธรรมชาติ หรือเรียกวา “การทำงานรวมกับธรรมชาติ และ “สมดุลของตระกอนทราย” เพื่อไมใหเกิด
ปญหาแบบลูกโซ” (สมบูรณ , 2549) การกัดเซาะหาดประพาสเกิดขึ้นระยะทางยาวประมาณ 8 กม.
อัตรา 2-3 เมตรตอป คลื่นและกระแสน้ำในฤดูมรสุมเปนตัวการหลักที่ทำใหเกิดการกัดเซาะชายฝง
คำนำ
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความลาดชันและลักษณะสัณฐานของชายหาด บริเวณหาดประพาส จังหวัดระนอง โดยการทําภาพหนาตัดความสูง-ต่ำดวยวิธีระบบแนวเล็งกลองระดับ เก็บขอมูล
ในเดือนมกราคม 2557 และ 2558 และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงดวยภาพถายทางอากาศและภาพดาวเทียมป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาลักษณะสัณฐานของ
ชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝง ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะเปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุด
ประมาณ 0.76 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 เปนระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร และระยะทางดิ่งประมาณ 0.50 เมตร การเปลี่ยนแปลงมวลทราย พบวา ในป พ.ศ. 2558 ปริมาณ
มวลทรายสุทธิลดลงประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง มีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตรตอป และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11
เมตรตอป พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะในระดับที่มากขึ้นคือบริเวณตอนเหนือหางจากปากคลองกำพวนมาทางทิศใตประมาณ 500 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร มีอัตรา
การกัดเซาะเฉลี่ย 2.96 เมตรตอป และเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดินเปนแนวกวางประมาณ 5.50 เมตรตอป แนวทางการแกปญหาโดยการการเติมทรายชายหาดและการฟนฟูระบบนิเวศปาชายหาด
นาจะเปนแนวทางในการปองกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลได
วัตถุประสงค
ศึกษาและติดตามรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาดและปริมาณมวลทรายชายฝง
ในชวง 2 ชวงฤดูกาล และการเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝงทะเล โดยใชขอมูลจากการสำรวจระยะไกล
(Remotely sensed data) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System)
ในพื้นที่หาดประพาส อุทยานแหงชาติแหลมสน จังหวัดระนอง
การสำรวจภาคสนาม(Field Survey) โดยสำรวจระดับสูง-ต่ำของชายหาด และจัดทําภาพตัดขวาง
ชายหาด (Beach Profile) ดวยวิธีระบบแนวเล็งดวยกลองระดับ วิเคราะหเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง
สัณฐานชายหาด ระหวางป พ.ศ. 2557- 2558
2. การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝง
ขอมูลคือ ภาพถายดาวเทียม IKONOS ป พ.ศ.2549 และดาวเทียม THAICHOTE ป พ.ศ.2556
ปรับแกขอมูลเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) โดยการกำหนดตําแหนงจุดควบคุม
ภาคพื้นดิน (G.C.P) ดวยวิธี Image Geometric Correction)
สรางเสนขอบเขตแนวชายฝง โดยกำหนดขอบเขตจากการอางอิงกับแนวสุดทายของแถวตนไม
ที่ปรากฏ และวิเคราะหพื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะชายฝงหรือการทับถมชายฝงโดยกระบวนการซอนทับขอมูล
เชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร คํานวณอัตราการกัดเซาะชายฝงเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของ
สิน สินสกุลและคณะ (2545) คือ การกัดเซาะรุนแรง (กัดเซาะ> 5 เมตรตอป) การกัดเซาะปานกลาง
(กัดเซาะ 1-5 เมตรตอป) การสะสมตัว (>1 เมตรตอป) ชายฝงคงสภาพ (เปลี่ยนแปลงไมเกิน 1 เมตรตอป)
1
2.1
2
2.2
บทคัดยอ
ผลการศึกษา
สรุปและวิจารณผล
ผลการศึกษา
วิธีการศึกษา
นวรัตน ไกรพานนท. 2544. การกัดเซาะชายฝงทะเล. ปญหาและแนวทางการจัดการ. วารสารอนุรักษดินและน้ำ. 17 (1) : 23-54.
สิน สินสกุล, สุวัฒน ติยะไพรัช, นิรันดร ชัยมณี, และบรรเจิด อรามประยูร. 2545. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝงอันดามัน. กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี.
สมบูรณ พรพิเนตพงศ. 2549. กระบวนการของชายฝงและผลกระทบจากงานวิศวกรรมชายฝง. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. แหลงที่มา: http:// biolawcom.de/?/article/201#content_1, 14 มิถุนายน 2555
อดุลย เบ็ญนุย, รุจ ศรีวิไล, พยอม รัตนมณี, อานันต คำภีระ, ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และพีระพิทย พืชมงคล. 2550. การประยุกตใชขอมูลระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดปตตานี. ศูนยภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคใต.
1 ลักษณะสัณฐานชายฝง
สัณฐานของชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม
เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงมากในฤดูมรสุม ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะ
เปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุดประมาณ 0.76 เมตร และเกิดกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ในระยะทาง
ดิ่งประมาณ 0.50 เมตร และระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร (ภาพที่ 1)
2 ปริมาณมวลทราย
3 การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝง
การเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายระหวางแนวสำรวจ พบวา ในป พ.ศ. 2558 มีปริมาณทรายประมาณ
11,073.95 ลูกบาศกเมตร ซึ่งนอยกวาป พ.ศ. 2557 ประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร จะเห็นวา
ปริมาณมวลทรายสุทธิิลดลง 2,576.68 ลูกบาศกเมตร แสดงวามวลทรายเคลื่อนยายออกจากหนา
หาดกวาการเติมของมวลทราย (ตารางที่ 1)
การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในชวงระยะเวลา 7 ป ระหวางป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 พบวา
การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะและรูปแบบการสะสมตัว พื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะ
ชายฝงประมาณ 48,451.14 ตารางเมตร (30.28 ไร) และพื้นที่สะสมตัวประมาณ 27,408.94 ตาราง
เมตร (17.13 ไร) (ภาพที่ 2) การคำนวนการเปลี่ยนแปลงชายฝงมีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตร
ตอป มีแนวกัดเซาะเขาในแผนดินกวางสุดประมาณ 32.6 เมตร จัดอยูในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง
และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11 เมตรตอป จัดอยูในรูปแบบชายฝงสะสมตัว
ซึ่งการสะสมตัวเกิดขึ้นมากที่สุดบริเวณปากคลองกำพวน
ตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณมวลทราย
ม.ค. 2557
ม.ค. 2558
4.0
3.0
2.0
1.0
00
-1.0
-2.0
20 40 60 80 100 120 140
ระดับความสูง(เมตร)
ความกวางของหาด (เมตร)
แนวสำรวจที่ 1
ม.ค. 2557
ม.ค. 2558
4.0
3.0
2.0
1.0
00
-1.0
-2.0
20 40 60 80 100 120 140
ระดับความสูง(เมตร)
ความกวางของหาด (เมตร)
แนวสำรวจที่ 2
11,073.95
ปริมาณทรายเพิ่มขึ้น
ปริมาณทราย (ลูกบาศกเมตร)
ม.ค.-57 ม.ค.-58 ปริมาณทรายสุทธิปริมาณทรายลดลง
13,650.63 3.95 2,580.63 -2,576.68
การเปลี่ยนแปลงสัณฐานตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลมเปนตัวการหลัก
และเกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงที่ไมสมดุล ทำใหในป พ.ศ. 2558 ชายหาด
ถูกกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ทั้งระยะทางดิ่งและทางราบ เมื่อพิจารณาอัตราการกัดเซาะ พบวา
การกัดเซาะระดับปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร โดยเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดิน
เปนแนวกวางประมาณ 5.5 เมตรตอป และมีชายฝงสะสมตัวมากบริเวณตอนเหนือของหาด ซึ่งแสดง
ใหเห็นวาในชวงเวลาที่ทำการศึกษาหาดประพาสมีการกัดเซาะเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโนมรุนแรงมากขึ้น
สาเหตุหลักของการกัดเซาะสวนใหญเกิดจากคลื่นลมแรงในฤดูมรสุม ทำใหเกิดการขาดความสมดุลของ
มวลทรายชายฝง การรบกวนพื้นที่ชายฝง การใชประโยชนที่ดินที่ไมเหมาะสม สงผลตอระบบนิเวศ
ชายฝงที่ทำหนาที่เปนแนวปองกันคลื่นและลม การปองกันชายฝงคือการทำใหชายฝงเกิดเสถียรภาพ
(coastal stabilization) ชายฝงที่ยังไมเขาสูสมดุล (equilibrium) จึงไมเสถียรภาพ แนวทางการแก
ปญหาโดยการการเติมทรายและการฟนฟูระบบนิเวศชายฝง จึงนาจะเปนแนวทางการปองกันและ
บรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลและสามารถจัดการใหชายฝงมีเสถียร
ภาพในระยะยาวได
ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงชายฝงระหวางป พ.ศ. 2549-พ.ศ. 2556 (ก) พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะ
รุนแรง (ข)
(ก) (ข)
ภาพที่ 1 ลักษณะสัณฐานชายหาด บริเวณแนวสำรวจที่ 1 (ก) และแนวสำรวจที่ 2 (ข)
(ก) (ข)
เอกสารอางอิง

More Related Content

More from Jaae Watcharapirak

More from Jaae Watcharapirak (10)

Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
โปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทองโปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทอง
 
ศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ตศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ต
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015
 
1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 

ศูนย์ภูเก็ต

  • 1. สถานการณการกัดเซาะชายฝงหาดประพาส จังหวัดระนอง Coastal Erosion Situation in Praphat Beach, Ranong Province ปรารพ แปลงงาน ศูนยนวัตกรรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่คุมครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต Plarop Plangngan ชายฝงทะเลเปนพื้นที่ที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงมากตลอดเวลาและเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ในรูปแบบการสะสมตัว (Depositional coast) และการกัดเซาะ (Erosional coast) เกิดขึ้นมีสาเหตุจาก ลักษณะทางธรณีวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติ (Natural processes) (นวรัตน, 2544 ; สิน และ คณะ, 2545) เชน ความแรงคลื่น ลม และกระแสน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเพิ่มขึ้นของ ระดับน้ำทะเล การขาดความสมดุลของมวลทรายที่เคลื่อนที่ตามแนวชายฝง (อดุลย และคณะ, 2550) และกิจกรรมของมนุษย สงผลใหความสมดุลตามธรรมชาติของชายฝงถูกรบกวนอยางตอเนื่อง และเปน ตัวเรงใหแนวชายฝงทะเลมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะการเกิดการกัดเซาะชายฝง (erosion) การแกปญหาการกัดเซาะชายฝงตองใหความสำคัญตอวิธีการที่สอดคลองกับระบบหรือกระบวนการทาง ธรรมชาติ หรือเรียกวา “การทำงานรวมกับธรรมชาติ และ “สมดุลของตระกอนทราย” เพื่อไมใหเกิด ปญหาแบบลูกโซ” (สมบูรณ , 2549) การกัดเซาะหาดประพาสเกิดขึ้นระยะทางยาวประมาณ 8 กม. อัตรา 2-3 เมตรตอป คลื่นและกระแสน้ำในฤดูมรสุมเปนตัวการหลักที่ทำใหเกิดการกัดเซาะชายฝง คำนำ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความลาดชันและลักษณะสัณฐานของชายหาด บริเวณหาดประพาส จังหวัดระนอง โดยการทําภาพหนาตัดความสูง-ต่ำดวยวิธีระบบแนวเล็งกลองระดับ เก็บขอมูล ในเดือนมกราคม 2557 และ 2558 และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงดวยภาพถายทางอากาศและภาพดาวเทียมป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาลักษณะสัณฐานของ ชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝง ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะเปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุด ประมาณ 0.76 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 เปนระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร และระยะทางดิ่งประมาณ 0.50 เมตร การเปลี่ยนแปลงมวลทราย พบวา ในป พ.ศ. 2558 ปริมาณ มวลทรายสุทธิลดลงประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง มีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตรตอป และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11 เมตรตอป พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะในระดับที่มากขึ้นคือบริเวณตอนเหนือหางจากปากคลองกำพวนมาทางทิศใตประมาณ 500 เมตร ซึ่งเกิดการกัดเซาะปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร มีอัตรา การกัดเซาะเฉลี่ย 2.96 เมตรตอป และเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดินเปนแนวกวางประมาณ 5.50 เมตรตอป แนวทางการแกปญหาโดยการการเติมทรายชายหาดและการฟนฟูระบบนิเวศปาชายหาด นาจะเปนแนวทางในการปองกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลได วัตถุประสงค ศึกษาและติดตามรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของชายหาดและปริมาณมวลทรายชายฝง ในชวง 2 ชวงฤดูกาล และการเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝงทะเล โดยใชขอมูลจากการสำรวจระยะไกล (Remotely sensed data) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System) ในพื้นที่หาดประพาส อุทยานแหงชาติแหลมสน จังหวัดระนอง การสำรวจภาคสนาม(Field Survey) โดยสำรวจระดับสูง-ต่ำของชายหาด และจัดทําภาพตัดขวาง ชายหาด (Beach Profile) ดวยวิธีระบบแนวเล็งดวยกลองระดับ วิเคราะหเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง สัณฐานชายหาด ระหวางป พ.ศ. 2557- 2558 2. การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝง ขอมูลคือ ภาพถายดาวเทียม IKONOS ป พ.ศ.2549 และดาวเทียม THAICHOTE ป พ.ศ.2556 ปรับแกขอมูลเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) โดยการกำหนดตําแหนงจุดควบคุม ภาคพื้นดิน (G.C.P) ดวยวิธี Image Geometric Correction) สรางเสนขอบเขตแนวชายฝง โดยกำหนดขอบเขตจากการอางอิงกับแนวสุดทายของแถวตนไม ที่ปรากฏ และวิเคราะหพื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะชายฝงหรือการทับถมชายฝงโดยกระบวนการซอนทับขอมูล เชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร คํานวณอัตราการกัดเซาะชายฝงเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของ สิน สินสกุลและคณะ (2545) คือ การกัดเซาะรุนแรง (กัดเซาะ> 5 เมตรตอป) การกัดเซาะปานกลาง (กัดเซาะ 1-5 เมตรตอป) การสะสมตัว (>1 เมตรตอป) ชายฝงคงสภาพ (เปลี่ยนแปลงไมเกิน 1 เมตรตอป) 1 2.1 2 2.2 บทคัดยอ ผลการศึกษา สรุปและวิจารณผล ผลการศึกษา วิธีการศึกษา นวรัตน ไกรพานนท. 2544. การกัดเซาะชายฝงทะเล. ปญหาและแนวทางการจัดการ. วารสารอนุรักษดินและน้ำ. 17 (1) : 23-54. สิน สินสกุล, สุวัฒน ติยะไพรัช, นิรันดร ชัยมณี, และบรรเจิด อรามประยูร. 2545. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝงอันดามัน. กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี. สมบูรณ พรพิเนตพงศ. 2549. กระบวนการของชายฝงและผลกระทบจากงานวิศวกรรมชายฝง. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. แหลงที่มา: http:// biolawcom.de/?/article/201#content_1, 14 มิถุนายน 2555 อดุลย เบ็ญนุย, รุจ ศรีวิไล, พยอม รัตนมณี, อานันต คำภีระ, ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และพีระพิทย พืชมงคล. 2550. การประยุกตใชขอมูลระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดปตตานี. ศูนยภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคใต. 1 ลักษณะสัณฐานชายฝง สัณฐานของชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงที่ตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลม เกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงมากในฤดูมรสุม ในป พ.ศ. 2558 ชายหาดถูกกัดเซาะ เปนแนวดิ่งความสูงมากที่สุดประมาณ 0.76 เมตร และเกิดกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ในระยะทาง ดิ่งประมาณ 0.50 เมตร และระยะทางราบประมาณ 4.80 เมตร (ภาพที่ 1) 2 ปริมาณมวลทราย 3 การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝง การเปลี่ยนแปลงปริมาณทรายระหวางแนวสำรวจ พบวา ในป พ.ศ. 2558 มีปริมาณทรายประมาณ 11,073.95 ลูกบาศกเมตร ซึ่งนอยกวาป พ.ศ. 2557 ประมาณ 2,576.68 ลูกบาศกเมตร จะเห็นวา ปริมาณมวลทรายสุทธิิลดลง 2,576.68 ลูกบาศกเมตร แสดงวามวลทรายเคลื่อนยายออกจากหนา หาดกวาการเติมของมวลทราย (ตารางที่ 1) การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในชวงระยะเวลา 7 ป ระหวางป พ.ศ. 2549 ถึงป พ.ศ. 2556 พบวา การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงในรูปแบบการกัดเซาะและรูปแบบการสะสมตัว พื้นที่ที่เกิดการกัดเซาะ ชายฝงประมาณ 48,451.14 ตารางเมตร (30.28 ไร) และพื้นที่สะสมตัวประมาณ 27,408.94 ตาราง เมตร (17.13 ไร) (ภาพที่ 2) การคำนวนการเปลี่ยนแปลงชายฝงมีอัตราการกัดเซาะเฉลี่ย 2.77 เมตร ตอป มีแนวกัดเซาะเขาในแผนดินกวางสุดประมาณ 32.6 เมตร จัดอยูในรูปแบบการกัดเซาะปานกลาง และอัตราการสะสมทรายชายฝงเฉลี่ย 11.11 เมตรตอป จัดอยูในรูปแบบชายฝงสะสมตัว ซึ่งการสะสมตัวเกิดขึ้นมากที่สุดบริเวณปากคลองกำพวน ตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณมวลทราย ม.ค. 2557 ม.ค. 2558 4.0 3.0 2.0 1.0 00 -1.0 -2.0 20 40 60 80 100 120 140 ระดับความสูง(เมตร) ความกวางของหาด (เมตร) แนวสำรวจที่ 1 ม.ค. 2557 ม.ค. 2558 4.0 3.0 2.0 1.0 00 -1.0 -2.0 20 40 60 80 100 120 140 ระดับความสูง(เมตร) ความกวางของหาด (เมตร) แนวสำรวจที่ 2 11,073.95 ปริมาณทรายเพิ่มขึ้น ปริมาณทราย (ลูกบาศกเมตร) ม.ค.-57 ม.ค.-58 ปริมาณทรายสุทธิปริมาณทรายลดลง 13,650.63 3.95 2,580.63 -2,576.68 การเปลี่ยนแปลงสัณฐานตอบสนองตอการกระทําจากกระแสน้ำและคลื่นลมเปนตัวการหลัก และเกิดการเคลื่อนตัวของมวลทรายตามแนวชายฝงที่ไมสมดุล ทำใหในป พ.ศ. 2558 ชายหาด ถูกกัดเซาะมากกวาป พ.ศ. 2557 ทั้งระยะทางดิ่งและทางราบ เมื่อพิจารณาอัตราการกัดเซาะ พบวา การกัดเซาะระดับปานกลางเปนระยะทางยาว 1.44 กิโลเมตร โดยเกิดการกัดเซาะเขาไปในแผนดิน เปนแนวกวางประมาณ 5.5 เมตรตอป และมีชายฝงสะสมตัวมากบริเวณตอนเหนือของหาด ซึ่งแสดง ใหเห็นวาในชวงเวลาที่ทำการศึกษาหาดประพาสมีการกัดเซาะเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโนมรุนแรงมากขึ้น สาเหตุหลักของการกัดเซาะสวนใหญเกิดจากคลื่นลมแรงในฤดูมรสุม ทำใหเกิดการขาดความสมดุลของ มวลทรายชายฝง การรบกวนพื้นที่ชายฝง การใชประโยชนที่ดินที่ไมเหมาะสม สงผลตอระบบนิเวศ ชายฝงที่ทำหนาที่เปนแนวปองกันคลื่นและลม การปองกันชายฝงคือการทำใหชายฝงเกิดเสถียรภาพ (coastal stabilization) ชายฝงที่ยังไมเขาสูสมดุล (equilibrium) จึงไมเสถียรภาพ แนวทางการแก ปญหาโดยการการเติมทรายและการฟนฟูระบบนิเวศชายฝง จึงนาจะเปนแนวทางการปองกันและ บรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝงทะเลและสามารถจัดการใหชายฝงมีเสถียร ภาพในระยะยาวได ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงชายฝงระหวางป พ.ศ. 2549-พ.ศ. 2556 (ก) พื้นที่ที่เสี่ยงตอการกัดเซาะ รุนแรง (ข) (ก) (ข) ภาพที่ 1 ลักษณะสัณฐานชายหาด บริเวณแนวสำรวจที่ 1 (ก) และแนวสำรวจที่ 2 (ข) (ก) (ข) เอกสารอางอิง