SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
03 วิธีการเก็บและ
รวบรวมข ้อมูล
METHOD OF
GATHERING DATA
• วัตถุประสงค์การวิจัย
• คาถามการวิจัย
• การกาหนดตัวแปร
• กรอบแนวคิดและสมมติฐาน
• ประชากร
• การสุ่มตัวอย่าง
Remind you, again see the 10th slide
Here, the researchable research include….
2.1 การคัดเลือกหัวข้อในการวิจัย (selection of problem area)
2.2 วิธีการเก็บและรวบรวมข้อมูล (method of gathering data)
2.3 การวิเคราะห์และการตีความข้อมูล (analysis and interpretation
of the data)
2.4 การเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป (conclusions and final report)
Environmental Research Method: METHOD OF GATHERING DATA
2 9/24/2023
TODAY - METHOD OF GATHERING DATA
1) วัตถุประสงค์การวิจัย OBJECTIVES*
2) คาถามการวิจัย QUESTIONS*
3) การกาหนดตัวแปร VARIABLES
4) กรอบแนวคิด/สมมติฐาน FRAMEWORKS / HYPOTHESIS
5) ประชากร POPULATIONS
6) การสุ่มตัวอย่าง SAMPLING
3 9/24/2023 Environmental Research Method: METHOD OF GATHERING DATA
*เคล็ดลับการเขียนรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (สิทธิ์ ธีรสรณ์, 2560 : 50-52)
วัตถุประสงค์การวิจัย – Research
Objectives
• คือ การกล่าวถึงเป้าหมายโดยการอธิบาย “กิจกรรมหรืองาน” ที่งานวิจัยชิ้นนี้จะทา
เพื่อให ้ได ้มาซี่ง “คาตอบในการวิจัย”
• รูปแบบ
เพื่อ + { หา/ ศึกษา/ สารวจ } + หัวข้อที่ศึกษา / ตัวแปรที่ศึกษา
{ วิเคราะห์/ ประเมิน }
{ ตรวจสอบ/ เปรียบเทียบ }
{ สร ้าง/ พัฒนา }
{ ทดสอบ }
{ เสนอแนะ }
…
4 9/24/2023 Add a footer
คาถามการวิจัย – Research Questions
• งานวิจัยที่ดี ใช ้ “คาถามวิจัย” และ/หรือ “สมมติฐานวิจัย” ร่วมกันในการ
กาหนด “เป้าหมาย”ของงานวิจัยที่ทา
• คาถามวิจัย คือ คาถามที่งานวิจัยต้องการหาคาตอบ โดยผู้วิจัยดาเนินการ
หาคาตอบเอง
1. มักจะใช ้ในงานวิจัยด ้านสังคมวิทยา สังคมวิทยาสิ่งแวดล ้อม และ
สังคมวิทยาการพัฒนาสภาพแวดล ้อมสรรค์สร ้าง ตลอดจนงานวิจัยที่คล ้ายคลึง
2. มักจะใช ้ในงานวิจัยด ้านสารวจ ทดสอบ ทดลอง
3. อาจใช ้ได ้ดีกับการวิจัยด ้านสารวจภาพอนาคต วางกรอบนโยบาย กล
ยุทธ์
5 9/24/2023 Add a footer
นิยาม
คาถามการวิจัย – Research Questions
1. เป็นประโยคคาถาม
2. หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจานวน 2 ตัวขึ้นไปที่วัดได ้ ไดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง
(ยกเว ้น “งานวิจัยเชิงบรรยาย” ซึ่งมุ่งเน้นเก็บรวบรวมข ้อมูล)
3. คาถามวิจัยต้องชี้ให้เห็นตัวแปรหลัก
1. ในการวิจัยเชิงปริมาณ/สถิติ คาถามวิจัยต้องชี้ให้เห็นตัวแปรหลัก และความสัมพันธ์ที่ต้อง
ตรวจสอบ ดังนั้น ในการวิจัยเชิงสถิติ (ปริมาณ) ตัวแปรที่จะศึกษาต้องสามารถ “วัด
ได้” ในทางสถิติ
2. ในการวิจัยเชิงคุณภาพ เช่น กลยุทธ์ ภาพอนาคต นโยบาย แผนแม่บท รูปแบบที่
เหมาะสมในอนาคต ฯลฯ คาถามวิจัยต้องชี้ให้เห็นตัวแปรหลักที่สามารถ “เก็บข้อมูล” ได้
และสามารถ “วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประมวลผลลัพธ์” ได้
เช่น
• องค์กรในประเทศกับองค์กรระหว่างประเทศมีความเหมือนและความแตกต่างกัน ในเรื่อง
บรรยากาศองค์กร ภาวะผู้นา และความสัมพันธ ์กับหน่วยงานภายนอกอย่างไร
• องค์กรในประเทศกับองค์กรระหว่างประเทศต่างกันในตัวแปรใด / องค์กรในประเทศกับ
องค์กรระหว่างประเทศเหมือนกันในตัวแปรใด
• องค์กรในประเทศแต่ละแห่งต่างกันในตัวแปรใด / องค์กรระหว่างประเทศแต่ละแห่ง
6 9/24/2023 Add a footer
คุณลักษณะ
สมมติฐาน
และกรอบ
แนวคิด
งานวิจัย
ณพงศ์ นพเกตุ
องค์ประกอบ
สมมติฐาน
ตัวแปร
กรอบแนวคิด
01
สมมติฐานในงานวิจัย
สมมติฐานในการวิจัย (Research
Hypothesis)
หมายถึง ...
ข้อสันนิษฐานของผู้วิจัยเกี่ยวกับ คาตอบ ที่จะ
ได้
รับจากการดาาเนินการวิจัย หรือการคาดเดา
คาตอบล่วงหน้าสาหรับปัญหาวิจัย
อีกนัยหนึ่ง คือ “การคาดเดาคาตอบไว้อย่างมี
เหตุผล”
ที่มาของสมมติฐานในการ
วิจัย
1. ความคิดเริ่มแรกของผู้วิจัย จากประสบการณ์ การ
ทางาน ความเชี่ยวชาญในประเด็นต่าง ๆ
2. ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี
3. การสังเกต การทาแบบสารวจ การวิเคราะห์ข้อมูล
ที่ได้จาก
1) การศึกษาเบื้องต ้น
2) การทบวนวรรณกรรม
3) แนวคิด ทฤษฎี
4) งานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง
4. การเชื่อมโยงความรู้ในเรื่องต่าง ๆ
5. การสังเคราะห์และการประเมิณสถานการณ์
ความสาคัญของสมมติฐานใน
งานวิจัย
เป
็ นแนวทางในการกากับการวิจัยให้มีความชัดเจน
ไม่
หลงทิศทาง
ช่วยในการออกแบบการวิจัย
1) การกาหนดตัวแปร 2) การสร ้างเครื่องมือ
3) การเก็บข ้อมูล 4) การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง
5) การวิเคราะห์ข ้อมูล 6) อื่นๆ
ช่วยชี้แนวทางในการแปรผล สรุปผล
ช่วยในการทดสอบทฤษฎีหรือการสร้าง
ทฤษฎี
ประเภทของสมมติฐาน
1. สมมติฐานทางวิจัย (Research Hypothesis) เป็น
สมมติฐานที่อธิบายด ้วยข ้อความ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะเจาะจงตรงกับ
เรื่องวิจัย *การเขียนสมมติฐานอาจจะเขียนเป็นลักษณะผลแตกต่าง
กัน หรือไม่แตกต่างกันก็ได ้* ขึ้นอยู่กับทฤษฎี ผลการวิจัยและ
ความคิดทั้งหลายที่นามาค้าจุน แต่โอกาสจะพบแบบไม่แตกต่างกัน
หรือไม่สัมพันธ์กันมีน้อย และในการเขียนสมมติฐานนั้น สามารถเลือก
แบบใดแบบหนึ่งจากสองแบบต่อไปนี้
1.1 สมมติฐานไม่มีทิศทาง (Non – Directional
Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่ไม่ระบุทิศทางของความแตกต่าง
ทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา ตัวอย่างเช่น
นักกีฬาชายและนักกีฬาหญิงมีแรงจูงใจในการเป็ น
นักกีฬาทีมชาติต่างกัน
ความถนัดกับแรงจูงใจในการเป็นนักกีฬาทีมชาติมี
ความสัมพันธ์กัน
1.2 สมมติฐานมีทิศทาง (Directional Hypothesis) เป็น
ประเภทของสมมติฐาน (ต่อ)
2. สมมุติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) เป็น
สมมติฐานที่เขียนอธิบายด้วยสัญลักษณ์ที่ใช้แทนพารามิเตอร์และ
ระเบียบวิธีทางสถิติ เพื่อนามาทดสอบโดยใช้ข้อมูล ที่ได้จากการวิจัย
สมมติฐานทางสถิติที่กาหนดไว้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท และ
ใช้คู่กันเสมอดังนี้
2.1 สมมติฐานไร้นัยสาคัญ (Null Hypothesis) หรือ
สมมติฐานเป็นกลาง เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ คือ ข้อความที่เป็น
กลางซึ่งเกี่ยวกับค่าพารามิเตอร์ ซึ่งเป็นค่าของประชากรมักจะเขียน
ในรูปของสมการที่แสดงให้เห็นว่าไม่มีความแตกต่างหรือไม่มี
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เช่น
H0 : m1 = m2 หรือ H0 : r = 0
เมื่อกาหนดให้ m1 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มที่ 1
m2 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มที่ 2
ประเภทของสมมติฐาน (ต่อ)
2.2 สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypotheses) หรือ
สมมติฐานอื่น เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ เป็นสมมติฐานที่เขียนให้
สอดคล้องกับสมมติฐานทางการวิจัย มักเขียนในรูปของสมการที่
แสดงให้เห็นว่ามีความแตกต่างหรือมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
เช่น
H1 : m1  m2 หรือ H1 : r  0
(ไม่มีทิศทาง)
H1 : m1 > m2 H1 : m1 < m2 หรือ H1 : r < 0
; r > 0 (มีทิศทาง)
เมื่อกาหนดให้ m1 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม 1
m2 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม 2
หลักการตั้งสมมติฐาน
1. ตั้งสมมุติฐานภายหลังจากที่ได ้ผ่านการศึกษาค ้นคว ้า และผ่านการ
คิดกลั่นกรองมาแล ้วอย่างดี นั่นคือ ผู้วิจัยควรนาแนวความคิด ทฤษฎี
หลักการหรือหลักเหตุผล ตลอดจนการวิจัยของผู้อื่นจากการศึกษา
เอกสารและรายงานการวิจัยของผู้อื่น เพื่อนามาใช ้อ ้างอิงในการ
ตั้งสมมติฐาน ทาให ้สมมติฐานนั้นเป็ นสมมติฐานที่มีรากฐานของความเป็ น
จริง
2. ตั้งสมมติฐานโดยใช ้ข ้อความที่ชัดเจน สั้นกะทัดรัด เข ้าใจง่าย ได ้
ใจความและสอดคล ้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
3. ตั้งสมมติฐานเป็ นประโยคบอกเล่า เพราะลักษณะของสมมติฐานที่
ชัดเจนและเข ้าใจง่าย จะต ้องเป็นสมมติฐานที่เขียนในลักษณะที่เป็ นข ้อสรุป
ซึ่งสามารถนาไปอธิบายหรือสืบค ้น อ ้างในเรื่องอื่นได ้เมื่อสมมติฐานนั้น
ได ้รับการทดสอบว่าเป็นจริงแล ้ว
หลักการตั้งสมมติฐาน (ต่อ)
4. สามารถอธิบายเหตุผลสนับสนุนสมมติฐานที่ตั้งขึ้นได ้
เพื่อให ้ผู้อ่านข ้อมูลวิจัยเข ้าใจและยอมรับสมมติฐานของผู้วิจัย ซึ่ง
อาจจะระบุเหตุผลต่อท ้ายสมมุติฐานแต่ละข ้อ หรืออาจระบุในลักษณะ
รวมๆ ไว ้ในตอนท ้ายของส่วนที่เป็นเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง
5. ตั้งสมมติฐานในลักษณะที่เป็ นการยอมรับหรือปฏิเสธ ซึ่งจะทาให ้ง่าย
ต่อการตรวจสอบความเป็นจริง
เช่น ยอมรับว่าแตกต่างมีผลหรือสัมพันธ์กัน หรือปฏิเสธว่าไม่
แตกต่าง ไม่มีผลหรือไม่สัมพันธ์กัน โดยทั่วไปนิยมตั้งสมมติฐานให ้อยู่ใน
รูปของการยอมรับมากกว่าการปฏิเสธ ทั้งนี้เพราะการวิจัยเป็ นการค ้นหา
คาตอบที่จะนามาใช ้อธิบายปัญหา ดังนั้น เมื่อมีการวิจัยก็แสดงว่าได ้มี
ปัญหาเกิดขึ้นแล ้ว ผู้วิจัยควรเลือกตัวแปรที่จะทาให ้ตั้งสมมติฐานในรูปการ
ยอมรับได ้ เพราะถ ้าตั้งสมมติฐานในรูปของการปฏิเสธก็แสดงว่าไม่มีปัญหา
จึงไม่จาเป็นต ้องทาการวิจัย
การทดสอบสมมติฐาน
1. การเลือกกระบวนการทดสอบสมมติฐานที่ถูกต ้อง
2. ต ้องเก็บข ้อมูลโดยไม่ลาเอียง
3. เลือกใช ้สถิติที่ถูกต ้อง
4. ตีความหมายของผลการทดสอบให ้ถูกต ้อง
https://www.youtube.com/watch?v=3yIUczvbtWs
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิญญา อิงอาจ stou.mooc
https://www.youtube.com/watch?v=3yIUczvbtWs
นิยามสมมติฐาน สู่กระบวนการ
กาหนดสมมติฐาน
สมมติฐาน
สมมติฐาน
22
การตั้งสมมติฐานการวิจัย เกิดจากการค ้นคว ้า
เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข ้อง เพื่อกาหนดเป็ นคาตอบที่
คาดหวังของปัญหาการวิจัย
การตั้งสมมติฐานการวิจัย เป็ นการคาดคะเนคาตอบ
ของปัญหาการวิจัย คาตอบที่ได ้นี้เป็นการนาเรื่องราวที่
ผู้วิจัยได ้สรุปสาระมาจากการค ้นคว ้าเอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง สมมติฐานการวิจัยนี้จะทาหน้าที่
เป็ นโจทย์ที่ผู้วิจัยจะต ้องพิสูจน์ด ้วยการหาข ้อมูลเชิง
ประจักษ์มายืนยัน
งานวิจัยที่ไม่เคยมีการวิจัยมาก่อน ซึ่งมีลักษณะเป็น
การบุกเบิกการศึกษาในเรื่องใหม่ ทาให ้ผู้วิจัยไม่
สมมติฐาน
23
 ข ้อความที่ระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป
(variables) หรือแนวคิด (Concepts) ซึ่งผู้ที่ทาการศึกษาต ้องการ
ที่จะทาการทดสอบว่าเป็นจริงหรือไม่อย่างไร
 เป็ นคาตอบล่วงหน้าที่อยู่บนพื้นฐานของ ความรู้ เหตุผล
ปรากฏการณ์ ทฤษฎี และจินตนาการของนักวิจัย
 สมมติฐานเป็นการมองสิ่งเก่าเพื่อคาดเดาสิ่งใหม่อย่างมีตรรกะ
 สมมติฐานอาจเกิดขึ้นได ้ในระหว่างการเก็บรวบรวมข ้อมูลหรือ
ระหว่างการดาเนินการวิจัย
 สมมติฐานช่วยนักวิจัยในการสร ้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวม
ข ้อมูล การวิเคราะห์และแปลความหมายของข ้อมูล
 สมมติฐานที่ดีจะต ้องระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัว
ข้อยกเว้นของ
สมมติฐาน
24
งานวิจัยทุกประเภทไม่จาเป
็ นต้องมี
สมมติฐาน เช่น
การวิจัยเชิงสารวจ ซึ่งเป็ นการศึกษาสภาพของ
เหตุการณ์ต่างๆ หากไม่มีการศึกษาในเรื่องนั้นมาก่อน
ผู้วิจัยอาจจะไม่สามารถตั้งสมมติฐานการวิจัยได ้
การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็ นการรวบรวมข ้อมูลเชิง
คุณลักษณะ มีการศึกษาแบบเจาะลึก อาศัยการสังเกต
เป็นส่วนใหญ่ การตั้งสมมติฐานหรือคาดคะเนคาตอบไว ้
ล่วงหน้า จะทาให ้การสังเกตไม่ครอบคลุมประเด็นที่ควร
สนใจ
กระบวนการกาหนด
สมมติฐาน
25
Graziano, 1989: 155 อ้างถึงใน สิน พันธุ์พินิจ,
ความคิดแรกเริ่ม
การสังเกตและ
การสารวจเบื้องต้น
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
(กฎหรือทฤษฎี)
สภาพปัญหา
หรือข้อขัดแย้ง
สมมติฐานการวิจัย
คานิยามเชิงปฏิบัติการ
วิธี
อุปมา
น
วิธี
อนุมา
น
ข้อยกเว้นของ
สมมติฐาน
26
 ควรเขียนขึ้นหลังการได้อ่านหนังสือและ
เอกสารที่เกี่ยวข้องครบสมบูรณ์แล้ว
 ควรเขียนเป
็ นประโยคบอกเล่า
 ควรเขียนเป
็ นหลายๆสมมติฐาน โดยแยก
พิจารณาเป
็ นกลุ่มย่อยๆ ตามลักษณะของ
ตัวแปรอิสระ
 ภาษาง่าย กะทัดรัด ชัดเจน รัดกุม
 ควรเขียนบรรยายความสัมพันธ์ระหว่าง 2
ตัวแปร หรือมากกว่า
 ควรเขียนในลักษณะมีทิศทางดีกว่าไม่มี
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2547: 63-64
ประเภทของ
สมมติฐาน
27
สมมติฐานทางการวิจัย (Research
Hypothesis)
 เ ป
็ น ส ม ม ติฐ า น ที่เ ขีย น เ ป
็ น ข้อ ค ว า ม
(Statement) ที่แสดงความสัมพันธ์ของตัว
แปร เช่น
ผู้หญิงมีความอดทนมากกว่าผู้ชาย
 เ ขีย น เ ป
็ น ป ร ะ โ ย ค บ อ ก เ ล่ า แ ส ด ง
ความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยอาจระบุ
ทิศทางของความสัมพันธ์ก็ได้เขียนให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และอาจระบุเป
็ น
ข้อๆ ก็ได้
01
ประเภทของ
สมมติฐาน
28
สมมติฐานทางสถิติ (Statistical
Hypothesis)
เป
็ นสมมติฐานที่เขียนด้วยสัญลักษณ์เพื่อใช้
ทดสอบทางสถิติ
2.1 สมมติฐานว่าง (Null Hypothesis)
H0 เป
็ นสมมติฐานที่กาหนดว่าตัวแปรหรือ
ข้อมูลไม่สัมพันธ์หรือไม่แตกต่างกัน
2.2 สมมติฐานทางเลือก (Alternative
Hypothesis)
HA เป
็ นสมมติฐานที่กาหนดไว้เป
็ นทางเลือกใน
การวิจัย เมื่อปฏิเสธสมมติฐานว่างจะยอมรับ
02
สมมติฐาน
ทางเลือก
29
 สมมติฐานแบบมีทิศทาง
การวิจัย ผู้มีการศึกษาสูงมีการวางแผนครอบครัวดีกว่าผู้มี
การศึกษาต่า
ทางสถิติ H0: m1 <= m2
HA: m1 > m2
ทดสอบสมมติฐานแบบทดสอบทางเดียว (One-tailed test)
 สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง ไม่เน้นไปทิศทางใด
ทิศทางหนึ่ง ทั้งนี้ผู้วิจัยอาจ ไม่มีข ้อมูล ไม่มีเหตุผลมากพอ
หรือไม่แน่ใจในทิศทาง
การวิจัย อาชีพขายของกับอาชีพเสิร์ฟ มีรายได ้ไม่เท่ากัน
ทางสถิติ H0: m1 = m2
HA: m1  m2
ทดสอบสมมติฐานจะทดสอบแบบสองทาง (two-
สมมติฐานการวิจัยของการวิจัยเชิง
ปริมาณและคุณภาพ
30
 การวิจัยเชิงปริมาณ
 มีการระบุสมมติฐานไว้ล่วงหน้า เพราะจากการทบทวน
วรรณกรรมทาให้ทราบตัวแปรอะไรบ้างที่สาคัญ
 การวิจัยเชิงคุณภาพ
 สมมติฐานเกิดจากการมองปัญหาในทิศทางหนึ่งของ
ผู้วิจัย
 อาจจะระบุสมมติฐานไว้ล่วงหน้าหรือไม่ก็ได้
 สามารถใช้ข้อคาถามการวิจัย เป็ นกรอบและทิศทางการ
หาคาตอบได้
รูปแบบการกาหนด
สมมติฐาน
31
เขียนเป
็ นหัวข้อใหญ่ๆ
 เพศที่แตกต่างมีผลกับการตัดสินใจเลือกใช้
ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง
 อายุที่แตกต่างมีผลกับการตัดสินใจเลือกใช้
ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง
 รายได้ที่แตกต่างมีผลกับการตัดสินใจเลือกใช้
ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง
 การได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างมีผลกับ
การตัดสินใจเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง
32
การมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาขยะพลาสติก
ในยุคความปรกติวิถีใหม่ (New Normal) ในเขต
บางกะปิ กรุงเทพมหานคร
ตัวอย่างกาหนดสมมติฐาน
01
 ประชาชนที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ
รายได้ การศึกษาที่แตกต่างกัน มีส่วนร่วมในการ
จัดการขยะพลาสติกที่แตกต่างกัน
 การได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องการจัดการขยะ
พลาสติกจากหน่วยงานรัฐบาลหรือเอกชน มี
ความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา
ขยะพลาสติก ในยุค New normal
 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะพลาสติกและการ
จัดการขยะมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการ
จัดการปัญหาขยะพลาสติก ในยุค New normal
 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะพลาสติกมี
ความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับพฤติกรรมการจัดการขยะ
พลาสติก
33
ความคุ้มค่าและความคุ้มทุนของการใช้โซลาร์
รูฟท็อปในครัวเรือน ในจังหวัดนครราชสีมา
ตัวอย่างกาหนดสมมติฐาน
02
 ปัจจัยด้านบุคคล เช่น ความรู้ในการใช้โซลาร์รูฟท็อป
ทัศนคติในการใช้โซลาร์รูฟท็อป การเลือกผู้ให้บริการ
มีผลต่อความคุ้มทุนและความคุ้มค่าของการใช้โซลาร์
รูฟท็อปใน ครัวเรือน
 ปัจ จัย ด้า น ก า ย ภ า พ เ ช่ น ป ริม า ณ ค ว า ม เ ข้ม
แสงอาทิตย์ในพื้นที่ อุณหภูมิความชื้น พื้นที่ในการ
ติดตั้ง ลักษณะทางกายภาพของ มีผลต่อความคุ้มทุน
และความคุ้มค่าของการ ใช้โซลาร์รูฟท็ อปใน
ครัวเรือน
 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เช่น ราคาขายไฟฟ
้ า ต้นทุนค่า
ติดตั้ง ต้นทุนการบารุงรักษา มีผลต่อ ความคุ้มทุนและ
ความคุ้มค่าของการใช้โซลาร์รูฟท็อปในครัวเรือน
 ปัจจัยด้านการสนับสนุน เช่น นโยบายส่งเสริมจาก
02
ตัวแปรการวิจัย
ตัวแปรการวิจัย
สุวิมล ติรกานันท์ (2548 :75-76) นิยามตัวแปรในการวิจัยไว ้
ว่า คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ ที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
ที่แสดงให ้เห็นในประเด็นที่ต ้องการจะศึกษา โดยมีค่าที่
แปรเปลี่ยนกันไปได ้แต่ละหน่วยของประชากรที่ศึกษา
ตัวแปรในงานวิจัย แบ่งได ้เป็น
1. ตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ (Independent Variable) เป็นตัว
แปรที่เป็นสาเหตุที่ก่อให ้เกิดผล หรือก่อให ้เกิดการแปรผันของ
ปรากฏการณ์ เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกาหนดหรือจัดกระทาได ้เพื่อ
ศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรนี้
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นผลมาก
จากการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรอิสระ เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยมุ่งวัด
เพื่อเป็นข ้อมูลสาหรับนามาวิเคราะห์เพื่อตอบคาถามของการวิจัย
ว่าเป็นผลมากจากสิ่งใด
นอกจากนี้ยังมีตัวแปรอื่นที่ผู้วิจัยมิได ้มุ่งศึกษาโดยตรง แต่เป็นตัว
แปรที่อาจมีผลกระทบต่อตัวแปรตามได ้ตัวแปรนี้เรียกว่า 3. ตัว
ตัวแปร
ต้น
ตัวแปร
ตาม
ตัวแปร
แปลกปล
อม
ตัวแปร
แทรก
ระดับตัวแปร
1.ระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) ตัวแปรบอกความแตกต่าง
แยกเป็นพวกๆ ไม่สามารถบอกปริมาณได ้
ตัวอย่าง ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม
2.ระดับอันดับมาตรา (Ordinal Scale) เป็นระดับที่ สูงกว่าระดับ
แบ่งกลุ่มมาตราหรือนามมาตรา ระบุความแตกต่างโดยให ้เป็นชื่อ
หรือสัญลักษณ์ สามารถจัดลาดับที่และแสดงความมากน้อย แต่
ไม่สามารถนา ผลมา บวก ลบ คูณหารกันได ้
ตัวอย่าง ชนชั้น : ชั้นสูง ชั้นกลาง ชั้นต่า
ความสวย : สวย พอใช ้ ขี้เหร่
ช่วงวัย : เด็ก ผู้ใหญ่ ชรา
3.ระดับช่วงมาตรา (Interval Scale) เป็นระดับที่สูงกว่าระดับ
แบ่งกลุ่มมาตราและอันดับมาตรา แสดงความแตกต่างของหน่วย
และลาดับชั้นสูงต่ามากน้อย รวมถึงความ แตกต่างระหว่างหน่วย
ว่ามีเท่าใด (แต่ละช่วง ความ แตกต่างเท่ากัน) สามารถนามาบวก
ลบ คูณ หารได ้แต่ไม่มีจุดศูนย์แท ้(หรือศูนย์สมมติ)
ตัวอย่าง อุณหภูมิ : 0 ⁰c - 50 ⁰c อุณหภูมิ 0 ⁰c ไม่ได ้หมายความ
ระดับตัวแปร
(ต่อ)
4.ระดับอัตราส่วนมาตรา (Ratio Scale) เป็น
ระดับ สูงสุดของการวัดตัวแปร แสดงความ
แตกต่างของตัวแปรระดับแบ่งกลุ่มมาตรา
ระดับ อันดับมาตรา และระดับช่วงมาตรา โดย
มีจุดศูนย์แท ้(Absolute Zero) หรือค่าศูนย์
ตามธรรมชาติ (Natural Zero) คือความไม่มี
ลักษณะนั้นๆ เลย เช่น อายุ ความยาว น้า
หนัก จานวนบุตร
รูปแบบตัวแปร
1.ตัวแปรต ้นและตัวแปรตามอย่างละตัว
A B
2.ตัวแปรต ้นหลายตัวและตัวแปรตามตัวเดียว
A1, A2, A3 B
3.ตัวแปรอิสระตัวเดียวและตัวแปรตามหลายตัว
B A1, A2, A3
4.ตัวแปรต ้นหลายตัวและตัวแปรตามหลายตัว
A1, A2, A3 B1, B2, B3
03
กรอบแนวคิดการวิจัย
https://www.youtube.com/watch?v=g8RWYkbi9b4
Process: Conceptual Framework (HD) Dana R Thomson
กรอบแนวความคิดการวิจัย
หมายถึง
ความคิดของผู้วิจัยเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ต่างๆ ที่ผู้วิจัยได้กาหนดไว้เป
็ น
ข้อสมมติฐานในการศึกษาและ
วิจัยแต่ละครั้ง
กรอบแนวคิดการวิจัย
เกิดจาก
1. ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง ได ้ข ้อมูลของ
ตัวแปรต่างๆ ตามทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข ้องที่มีอยู่
และจะไม่ละเลยตัวแปรที่มีความสาคัญ
2. ความคิดและประสบการณ์ของผู้วิจัย ผู้วิจัย
สามารถนาแนวความคิด การทาวิจัยมาจากความชอบ
ความสนใจ หรือประสบการณ์ที่เคยผ่านมาในอดีต
นามาพัฒนาเพื่อต่อยดเป็นความรู้ใหม่ๆ ในงานวิจัย
ของตน
ที่มาของกรอบแนวคิดการวิจัย
44
1. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
• ทบทวนผลงานวิจัย ทาให ้เราไม่มองข ้ามตัว
แ ป ร บ า ง ตั ว ที่มีผู้อื่น ไ ด ้พ บ แ ล ้ว ว่า มี
ความสาคัญ
2. ทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
• ทาให ้ทราบว่าตัวแปรใดสาคัญและมี
ความสัมพันธ์กันอย่างไรแล ้ว ยังทาให ้กรอบ
แนวคิดของการวิจัยมีแนวทางที่ชัดเจนและ
มีเหตุมีผล
3. แนวความคิดของผู้วิจัยเอง
• ความคิดและประสบการณ์
ที่มาของกรอบแนวคิดการวิจัย
45
กรอบแนวความคิดต่างจากขอบเขตของ
การวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย หมายถึง การจากัด
ลักษณะของประชากรที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
กรอบแนวความคิด หมายถึง ความคิดของผู้วิจัย
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ที่ผู้วิจัย
ได ้กาหนดไว ้เป็ นข ้อสมมติฐานในการศึกษาและวิจัย
แต่ละครั้ง
กรอบแนวความคิดประกอบด้วย ตัวแปร และ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
กรอบแนวคิดทาให้ผู้อื่นได้ทราบว่าผู้วิจัยมี
ลักษณะของกรอบแนวคิดการวิจัย
46
1. แบบพรรณนาความ
เ ป
็ น ก า ร ใ ช้ถ้อ ย ค า บ ร ร ย า ย ค ว า ม
เ กี่ย ว เ นื่อ ง ล า ดับ ก่ อ น ห ลัง แ ล ะ
ความสัมพันธ์ของตัวแปร
(หากยาวเกินไป หรือไม่กระชับชัดเจนอาจไม่ดึงดูดความ
สนใจของผู้อ่านมากนัก)
2. แบบฟังก์ชั่นทาง
คณิตศาสตร์
Y = f (P,Q,R,S)
Y = การแต่งตัวของวัยรุ่น
P = ค่านิยม
Q = ฐานะทางบ ้าน
R = การเลี้ยงดู
การเสนอกรอบแนวคิด
ในการวิจัย
3. แบบ
แผนภูมิ
จะเป
็ นภาพแผนภูมิที่
แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร ซึ่ง
ทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้
ง่าย*
*เคล็ดลับการเขียนรายงานวิจัย
และวิทยานิพนธ์ (สิทธิ์ ธีร
สรณ์, 2560 : 69-89)
จากฟังก์ชั่นที่กาหนด หมายความว่า การ
ติดเชื้อเอดส์ของวัยรุ่นขึ้นอยู่กับหรือมี
ความสัมพันธ์กับตัวแปรเรื่อง ความรู้เรื่อง
เอดส์ ค่านิยม ฐานะทางบ ้าน และอิทธิพล
ของเพื่อน
กรอบแนวคิดสามารถนาเสนอได ้ ดังนี้
1.กรอบแนวคิดเชิงพรรณนา บรรยายปรากฏการณ์ หรือสิ่งที่
ต ้องการศึกษา ดังนั้นจะมีแต่การเขียนระบุว่า มีตัวแปรอะไรบ ้างที่
จะนามาศึกษา
2 กรอบแนวคิดแบบฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ วิธีนี้นิยมใช ้ในการ
วิจัยทางเศรษฐศาสตร์ เป็นการพยายามอธิบายเรื่องราว ทั้งหมดด ้วย
วิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น
Y = ∫(P, Q, R, S)
Y = การติดเชื้อเอดส์ของเด็กวัยรุ่น
P = ความรู้เรื่องโรคเอดส์
Q = ค่านิยม
R = ฐานะทางบ ้าน
S = อิทธิพลของเพื่อน
3. กรอบแนวคิดแบบแผนภูมิ
เป็นการเชื่อมโยงให ้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ต ้องการศึกษา
แสดง ลาดับการเกิดก่อนหลังของตัวแปร นอกจากนี้แผนภูมิที่สร ้าง
ขึ้น ยังสามารถแสดงความเป็นเหตุเป็นผล
ตัวอย่างงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์
งานวิจัย :การวิจัยการพัฒนาระบบการเรียนรูปด ้วยตัวเองของนักเรียนชั้นปีที่ 6 โรงเรียนหัวนาคาจรูญศิลป์ 2550
ตัวอย่างงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
งานวิจัย: ประสิทธิภาพของการใช ้ผักกระเฉดบาบัดน้าที่ปนเปื้อนน้ากากส่า (วิศัลย์ ธรรมประสิทธิ์ 2549
)
ตัวแปรอิสระ
1.ความเข ้มข ้นของน้ากากส่า
2.ระยะเวลาที่ใช ้ในการบาบัด
ตัวแปรตาม
1.ประสิทธิภาพในการบาบัดตาม
พารามิเตอร์ต่างๆ
2.ชีวมวลของผักกระเฉด
3.ดุลไนโตเจนหลังบาบัด
4.ปริมาณโลหะหนักในน้าและผัก
กระเฉด
ความเป็นไปได ้ในการใช ้ผักกระเฉด
บาบัดน้าที่ปนเปื้อนน้ากากส่า
ตัวอย่างงานวิจัยด้านสถิติ
งานวิจัย: การวิจัยเชิงสถิติของปลาผิวน้าเศรษฐกิจบางชนิดที่จับได ้บริเวณทะเลอันดามัน
https://www.youtube.com/watch?v=g8RWYkbi9b4
Process: Conceptual Framework (HD) Dana R Thomson
Questions &
Answers
ทัศนคติของ
ผู้บริโภค
ทัศนคติของ
ผู้จาหน่าย
อาหาร
การเลือกใช ้
บรรจุภัณฑ์สี
เขียว
1
2
ทัศนคติของผู้บริโภคอาหาร ทัศนคติของผู้จาหน่ายอาหาร และการเลือกใช ้บรรจุภ
สมมติฐาน 1 ทัศนคติที่ดีต่อสิ่งแวดล ้อมมีผลเชิงบวกต่อการเลือกใช ้บรรจุภัณ
สมมติฐาน 2 ทัศนคติที่ดีต่อสิ่งแวดล ้อมมีผลเชิงบวกต่อการเลือกใช ้บรรจุภัณ
สมมติฐาน 3 ทัศนคติต่อสิ่งแวดล ้อมของผู้บริโภค และ(ทัศนคติต่อ
สิ่งแวดล ้อม)ของผู้จาหน่ายอาหารมี ความสัมพันธ์กัน
3

More Related Content

Similar to 03 Hyps-FrameW.pptx

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Khon Kaen University
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 

Similar to 03 Hyps-FrameW.pptx (20)

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 

03 Hyps-FrameW.pptx

  • 1. 03 วิธีการเก็บและ รวบรวมข ้อมูล METHOD OF GATHERING DATA • วัตถุประสงค์การวิจัย • คาถามการวิจัย • การกาหนดตัวแปร • กรอบแนวคิดและสมมติฐาน • ประชากร • การสุ่มตัวอย่าง
  • 2. Remind you, again see the 10th slide Here, the researchable research include…. 2.1 การคัดเลือกหัวข้อในการวิจัย (selection of problem area) 2.2 วิธีการเก็บและรวบรวมข้อมูล (method of gathering data) 2.3 การวิเคราะห์และการตีความข้อมูล (analysis and interpretation of the data) 2.4 การเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป (conclusions and final report) Environmental Research Method: METHOD OF GATHERING DATA 2 9/24/2023
  • 3. TODAY - METHOD OF GATHERING DATA 1) วัตถุประสงค์การวิจัย OBJECTIVES* 2) คาถามการวิจัย QUESTIONS* 3) การกาหนดตัวแปร VARIABLES 4) กรอบแนวคิด/สมมติฐาน FRAMEWORKS / HYPOTHESIS 5) ประชากร POPULATIONS 6) การสุ่มตัวอย่าง SAMPLING 3 9/24/2023 Environmental Research Method: METHOD OF GATHERING DATA *เคล็ดลับการเขียนรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (สิทธิ์ ธีรสรณ์, 2560 : 50-52)
  • 4. วัตถุประสงค์การวิจัย – Research Objectives • คือ การกล่าวถึงเป้าหมายโดยการอธิบาย “กิจกรรมหรืองาน” ที่งานวิจัยชิ้นนี้จะทา เพื่อให ้ได ้มาซี่ง “คาตอบในการวิจัย” • รูปแบบ เพื่อ + { หา/ ศึกษา/ สารวจ } + หัวข้อที่ศึกษา / ตัวแปรที่ศึกษา { วิเคราะห์/ ประเมิน } { ตรวจสอบ/ เปรียบเทียบ } { สร ้าง/ พัฒนา } { ทดสอบ } { เสนอแนะ } … 4 9/24/2023 Add a footer
  • 5. คาถามการวิจัย – Research Questions • งานวิจัยที่ดี ใช ้ “คาถามวิจัย” และ/หรือ “สมมติฐานวิจัย” ร่วมกันในการ กาหนด “เป้าหมาย”ของงานวิจัยที่ทา • คาถามวิจัย คือ คาถามที่งานวิจัยต้องการหาคาตอบ โดยผู้วิจัยดาเนินการ หาคาตอบเอง 1. มักจะใช ้ในงานวิจัยด ้านสังคมวิทยา สังคมวิทยาสิ่งแวดล ้อม และ สังคมวิทยาการพัฒนาสภาพแวดล ้อมสรรค์สร ้าง ตลอดจนงานวิจัยที่คล ้ายคลึง 2. มักจะใช ้ในงานวิจัยด ้านสารวจ ทดสอบ ทดลอง 3. อาจใช ้ได ้ดีกับการวิจัยด ้านสารวจภาพอนาคต วางกรอบนโยบาย กล ยุทธ์ 5 9/24/2023 Add a footer นิยาม
  • 6. คาถามการวิจัย – Research Questions 1. เป็นประโยคคาถาม 2. หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจานวน 2 ตัวขึ้นไปที่วัดได ้ ไดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง (ยกเว ้น “งานวิจัยเชิงบรรยาย” ซึ่งมุ่งเน้นเก็บรวบรวมข ้อมูล) 3. คาถามวิจัยต้องชี้ให้เห็นตัวแปรหลัก 1. ในการวิจัยเชิงปริมาณ/สถิติ คาถามวิจัยต้องชี้ให้เห็นตัวแปรหลัก และความสัมพันธ์ที่ต้อง ตรวจสอบ ดังนั้น ในการวิจัยเชิงสถิติ (ปริมาณ) ตัวแปรที่จะศึกษาต้องสามารถ “วัด ได้” ในทางสถิติ 2. ในการวิจัยเชิงคุณภาพ เช่น กลยุทธ์ ภาพอนาคต นโยบาย แผนแม่บท รูปแบบที่ เหมาะสมในอนาคต ฯลฯ คาถามวิจัยต้องชี้ให้เห็นตัวแปรหลักที่สามารถ “เก็บข้อมูล” ได้ และสามารถ “วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประมวลผลลัพธ์” ได้ เช่น • องค์กรในประเทศกับองค์กรระหว่างประเทศมีความเหมือนและความแตกต่างกัน ในเรื่อง บรรยากาศองค์กร ภาวะผู้นา และความสัมพันธ ์กับหน่วยงานภายนอกอย่างไร • องค์กรในประเทศกับองค์กรระหว่างประเทศต่างกันในตัวแปรใด / องค์กรในประเทศกับ องค์กรระหว่างประเทศเหมือนกันในตัวแปรใด • องค์กรในประเทศแต่ละแห่งต่างกันในตัวแปรใด / องค์กรระหว่างประเทศแต่ละแห่ง 6 9/24/2023 Add a footer คุณลักษณะ
  • 10. สมมติฐานในการวิจัย (Research Hypothesis) หมายถึง ... ข้อสันนิษฐานของผู้วิจัยเกี่ยวกับ คาตอบ ที่จะ ได้ รับจากการดาาเนินการวิจัย หรือการคาดเดา คาตอบล่วงหน้าสาหรับปัญหาวิจัย อีกนัยหนึ่ง คือ “การคาดเดาคาตอบไว้อย่างมี เหตุผล”
  • 11.
  • 12. ที่มาของสมมติฐานในการ วิจัย 1. ความคิดเริ่มแรกของผู้วิจัย จากประสบการณ์ การ ทางาน ความเชี่ยวชาญในประเด็นต่าง ๆ 2. ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี 3. การสังเกต การทาแบบสารวจ การวิเคราะห์ข้อมูล ที่ได้จาก 1) การศึกษาเบื้องต ้น 2) การทบวนวรรณกรรม 3) แนวคิด ทฤษฎี 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง 4. การเชื่อมโยงความรู้ในเรื่องต่าง ๆ 5. การสังเคราะห์และการประเมิณสถานการณ์
  • 13. ความสาคัญของสมมติฐานใน งานวิจัย เป ็ นแนวทางในการกากับการวิจัยให้มีความชัดเจน ไม่ หลงทิศทาง ช่วยในการออกแบบการวิจัย 1) การกาหนดตัวแปร 2) การสร ้างเครื่องมือ 3) การเก็บข ้อมูล 4) การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง 5) การวิเคราะห์ข ้อมูล 6) อื่นๆ ช่วยชี้แนวทางในการแปรผล สรุปผล ช่วยในการทดสอบทฤษฎีหรือการสร้าง ทฤษฎี
  • 14. ประเภทของสมมติฐาน 1. สมมติฐานทางวิจัย (Research Hypothesis) เป็น สมมติฐานที่อธิบายด ้วยข ้อความ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะเจาะจงตรงกับ เรื่องวิจัย *การเขียนสมมติฐานอาจจะเขียนเป็นลักษณะผลแตกต่าง กัน หรือไม่แตกต่างกันก็ได ้* ขึ้นอยู่กับทฤษฎี ผลการวิจัยและ ความคิดทั้งหลายที่นามาค้าจุน แต่โอกาสจะพบแบบไม่แตกต่างกัน หรือไม่สัมพันธ์กันมีน้อย และในการเขียนสมมติฐานนั้น สามารถเลือก แบบใดแบบหนึ่งจากสองแบบต่อไปนี้ 1.1 สมมติฐานไม่มีทิศทาง (Non – Directional Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่ไม่ระบุทิศทางของความแตกต่าง ทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา ตัวอย่างเช่น นักกีฬาชายและนักกีฬาหญิงมีแรงจูงใจในการเป็ น นักกีฬาทีมชาติต่างกัน ความถนัดกับแรงจูงใจในการเป็นนักกีฬาทีมชาติมี ความสัมพันธ์กัน 1.2 สมมติฐานมีทิศทาง (Directional Hypothesis) เป็น
  • 15. ประเภทของสมมติฐาน (ต่อ) 2. สมมุติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) เป็น สมมติฐานที่เขียนอธิบายด้วยสัญลักษณ์ที่ใช้แทนพารามิเตอร์และ ระเบียบวิธีทางสถิติ เพื่อนามาทดสอบโดยใช้ข้อมูล ที่ได้จากการวิจัย สมมติฐานทางสถิติที่กาหนดไว้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท และ ใช้คู่กันเสมอดังนี้ 2.1 สมมติฐานไร้นัยสาคัญ (Null Hypothesis) หรือ สมมติฐานเป็นกลาง เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ คือ ข้อความที่เป็น กลางซึ่งเกี่ยวกับค่าพารามิเตอร์ ซึ่งเป็นค่าของประชากรมักจะเขียน ในรูปของสมการที่แสดงให้เห็นว่าไม่มีความแตกต่างหรือไม่มี ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เช่น H0 : m1 = m2 หรือ H0 : r = 0 เมื่อกาหนดให้ m1 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มที่ 1 m2 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มที่ 2
  • 16. ประเภทของสมมติฐาน (ต่อ) 2.2 สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypotheses) หรือ สมมติฐานอื่น เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ เป็นสมมติฐานที่เขียนให้ สอดคล้องกับสมมติฐานทางการวิจัย มักเขียนในรูปของสมการที่ แสดงให้เห็นว่ามีความแตกต่างหรือมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เช่น H1 : m1  m2 หรือ H1 : r  0 (ไม่มีทิศทาง) H1 : m1 > m2 H1 : m1 < m2 หรือ H1 : r < 0 ; r > 0 (มีทิศทาง) เมื่อกาหนดให้ m1 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม 1 m2 = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม 2
  • 17. หลักการตั้งสมมติฐาน 1. ตั้งสมมุติฐานภายหลังจากที่ได ้ผ่านการศึกษาค ้นคว ้า และผ่านการ คิดกลั่นกรองมาแล ้วอย่างดี นั่นคือ ผู้วิจัยควรนาแนวความคิด ทฤษฎี หลักการหรือหลักเหตุผล ตลอดจนการวิจัยของผู้อื่นจากการศึกษา เอกสารและรายงานการวิจัยของผู้อื่น เพื่อนามาใช ้อ ้างอิงในการ ตั้งสมมติฐาน ทาให ้สมมติฐานนั้นเป็ นสมมติฐานที่มีรากฐานของความเป็ น จริง 2. ตั้งสมมติฐานโดยใช ้ข ้อความที่ชัดเจน สั้นกะทัดรัด เข ้าใจง่าย ได ้ ใจความและสอดคล ้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย 3. ตั้งสมมติฐานเป็ นประโยคบอกเล่า เพราะลักษณะของสมมติฐานที่ ชัดเจนและเข ้าใจง่าย จะต ้องเป็นสมมติฐานที่เขียนในลักษณะที่เป็ นข ้อสรุป ซึ่งสามารถนาไปอธิบายหรือสืบค ้น อ ้างในเรื่องอื่นได ้เมื่อสมมติฐานนั้น ได ้รับการทดสอบว่าเป็นจริงแล ้ว
  • 18. หลักการตั้งสมมติฐาน (ต่อ) 4. สามารถอธิบายเหตุผลสนับสนุนสมมติฐานที่ตั้งขึ้นได ้ เพื่อให ้ผู้อ่านข ้อมูลวิจัยเข ้าใจและยอมรับสมมติฐานของผู้วิจัย ซึ่ง อาจจะระบุเหตุผลต่อท ้ายสมมุติฐานแต่ละข ้อ หรืออาจระบุในลักษณะ รวมๆ ไว ้ในตอนท ้ายของส่วนที่เป็นเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง 5. ตั้งสมมติฐานในลักษณะที่เป็ นการยอมรับหรือปฏิเสธ ซึ่งจะทาให ้ง่าย ต่อการตรวจสอบความเป็นจริง เช่น ยอมรับว่าแตกต่างมีผลหรือสัมพันธ์กัน หรือปฏิเสธว่าไม่ แตกต่าง ไม่มีผลหรือไม่สัมพันธ์กัน โดยทั่วไปนิยมตั้งสมมติฐานให ้อยู่ใน รูปของการยอมรับมากกว่าการปฏิเสธ ทั้งนี้เพราะการวิจัยเป็ นการค ้นหา คาตอบที่จะนามาใช ้อธิบายปัญหา ดังนั้น เมื่อมีการวิจัยก็แสดงว่าได ้มี ปัญหาเกิดขึ้นแล ้ว ผู้วิจัยควรเลือกตัวแปรที่จะทาให ้ตั้งสมมติฐานในรูปการ ยอมรับได ้ เพราะถ ้าตั้งสมมติฐานในรูปของการปฏิเสธก็แสดงว่าไม่มีปัญหา จึงไม่จาเป็นต ้องทาการวิจัย
  • 19. การทดสอบสมมติฐาน 1. การเลือกกระบวนการทดสอบสมมติฐานที่ถูกต ้อง 2. ต ้องเก็บข ้อมูลโดยไม่ลาเอียง 3. เลือกใช ้สถิติที่ถูกต ้อง 4. ตีความหมายของผลการทดสอบให ้ถูกต ้อง
  • 22. สมมติฐาน 22 การตั้งสมมติฐานการวิจัย เกิดจากการค ้นคว ้า เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข ้อง เพื่อกาหนดเป็ นคาตอบที่ คาดหวังของปัญหาการวิจัย การตั้งสมมติฐานการวิจัย เป็ นการคาดคะเนคาตอบ ของปัญหาการวิจัย คาตอบที่ได ้นี้เป็นการนาเรื่องราวที่ ผู้วิจัยได ้สรุปสาระมาจากการค ้นคว ้าเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง สมมติฐานการวิจัยนี้จะทาหน้าที่ เป็ นโจทย์ที่ผู้วิจัยจะต ้องพิสูจน์ด ้วยการหาข ้อมูลเชิง ประจักษ์มายืนยัน งานวิจัยที่ไม่เคยมีการวิจัยมาก่อน ซึ่งมีลักษณะเป็น การบุกเบิกการศึกษาในเรื่องใหม่ ทาให ้ผู้วิจัยไม่
  • 23. สมมติฐาน 23  ข ้อความที่ระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป (variables) หรือแนวคิด (Concepts) ซึ่งผู้ที่ทาการศึกษาต ้องการ ที่จะทาการทดสอบว่าเป็นจริงหรือไม่อย่างไร  เป็ นคาตอบล่วงหน้าที่อยู่บนพื้นฐานของ ความรู้ เหตุผล ปรากฏการณ์ ทฤษฎี และจินตนาการของนักวิจัย  สมมติฐานเป็นการมองสิ่งเก่าเพื่อคาดเดาสิ่งใหม่อย่างมีตรรกะ  สมมติฐานอาจเกิดขึ้นได ้ในระหว่างการเก็บรวบรวมข ้อมูลหรือ ระหว่างการดาเนินการวิจัย  สมมติฐานช่วยนักวิจัยในการสร ้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวม ข ้อมูล การวิเคราะห์และแปลความหมายของข ้อมูล  สมมติฐานที่ดีจะต ้องระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัว
  • 24. ข้อยกเว้นของ สมมติฐาน 24 งานวิจัยทุกประเภทไม่จาเป ็ นต้องมี สมมติฐาน เช่น การวิจัยเชิงสารวจ ซึ่งเป็ นการศึกษาสภาพของ เหตุการณ์ต่างๆ หากไม่มีการศึกษาในเรื่องนั้นมาก่อน ผู้วิจัยอาจจะไม่สามารถตั้งสมมติฐานการวิจัยได ้ การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็ นการรวบรวมข ้อมูลเชิง คุณลักษณะ มีการศึกษาแบบเจาะลึก อาศัยการสังเกต เป็นส่วนใหญ่ การตั้งสมมติฐานหรือคาดคะเนคาตอบไว ้ ล่วงหน้า จะทาให ้การสังเกตไม่ครอบคลุมประเด็นที่ควร สนใจ
  • 25. กระบวนการกาหนด สมมติฐาน 25 Graziano, 1989: 155 อ้างถึงใน สิน พันธุ์พินิจ, ความคิดแรกเริ่ม การสังเกตและ การสารวจเบื้องต้น วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (กฎหรือทฤษฎี) สภาพปัญหา หรือข้อขัดแย้ง สมมติฐานการวิจัย คานิยามเชิงปฏิบัติการ วิธี อุปมา น วิธี อนุมา น
  • 26. ข้อยกเว้นของ สมมติฐาน 26  ควรเขียนขึ้นหลังการได้อ่านหนังสือและ เอกสารที่เกี่ยวข้องครบสมบูรณ์แล้ว  ควรเขียนเป ็ นประโยคบอกเล่า  ควรเขียนเป ็ นหลายๆสมมติฐาน โดยแยก พิจารณาเป ็ นกลุ่มย่อยๆ ตามลักษณะของ ตัวแปรอิสระ  ภาษาง่าย กะทัดรัด ชัดเจน รัดกุม  ควรเขียนบรรยายความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร หรือมากกว่า  ควรเขียนในลักษณะมีทิศทางดีกว่าไม่มี บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2547: 63-64
  • 27. ประเภทของ สมมติฐาน 27 สมมติฐานทางการวิจัย (Research Hypothesis)  เ ป ็ น ส ม ม ติฐ า น ที่เ ขีย น เ ป ็ น ข้อ ค ว า ม (Statement) ที่แสดงความสัมพันธ์ของตัว แปร เช่น ผู้หญิงมีความอดทนมากกว่าผู้ชาย  เ ขีย น เ ป ็ น ป ร ะ โ ย ค บ อ ก เ ล่ า แ ส ด ง ความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยอาจระบุ ทิศทางของความสัมพันธ์ก็ได้เขียนให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และอาจระบุเป ็ น ข้อๆ ก็ได้ 01
  • 28. ประเภทของ สมมติฐาน 28 สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) เป ็ นสมมติฐานที่เขียนด้วยสัญลักษณ์เพื่อใช้ ทดสอบทางสถิติ 2.1 สมมติฐานว่าง (Null Hypothesis) H0 เป ็ นสมมติฐานที่กาหนดว่าตัวแปรหรือ ข้อมูลไม่สัมพันธ์หรือไม่แตกต่างกัน 2.2 สมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis) HA เป ็ นสมมติฐานที่กาหนดไว้เป ็ นทางเลือกใน การวิจัย เมื่อปฏิเสธสมมติฐานว่างจะยอมรับ 02
  • 29. สมมติฐาน ทางเลือก 29  สมมติฐานแบบมีทิศทาง การวิจัย ผู้มีการศึกษาสูงมีการวางแผนครอบครัวดีกว่าผู้มี การศึกษาต่า ทางสถิติ H0: m1 <= m2 HA: m1 > m2 ทดสอบสมมติฐานแบบทดสอบทางเดียว (One-tailed test)  สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง ไม่เน้นไปทิศทางใด ทิศทางหนึ่ง ทั้งนี้ผู้วิจัยอาจ ไม่มีข ้อมูล ไม่มีเหตุผลมากพอ หรือไม่แน่ใจในทิศทาง การวิจัย อาชีพขายของกับอาชีพเสิร์ฟ มีรายได ้ไม่เท่ากัน ทางสถิติ H0: m1 = m2 HA: m1  m2 ทดสอบสมมติฐานจะทดสอบแบบสองทาง (two-
  • 30. สมมติฐานการวิจัยของการวิจัยเชิง ปริมาณและคุณภาพ 30  การวิจัยเชิงปริมาณ  มีการระบุสมมติฐานไว้ล่วงหน้า เพราะจากการทบทวน วรรณกรรมทาให้ทราบตัวแปรอะไรบ้างที่สาคัญ  การวิจัยเชิงคุณภาพ  สมมติฐานเกิดจากการมองปัญหาในทิศทางหนึ่งของ ผู้วิจัย  อาจจะระบุสมมติฐานไว้ล่วงหน้าหรือไม่ก็ได้  สามารถใช้ข้อคาถามการวิจัย เป็ นกรอบและทิศทางการ หาคาตอบได้
  • 31. รูปแบบการกาหนด สมมติฐาน 31 เขียนเป ็ นหัวข้อใหญ่ๆ  เพศที่แตกต่างมีผลกับการตัดสินใจเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง  อายุที่แตกต่างมีผลกับการตัดสินใจเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง  รายได้ที่แตกต่างมีผลกับการตัดสินใจเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง  การได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างมีผลกับ การตัดสินใจเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่แตกต่าง
  • 32. 32 การมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาขยะพลาสติก ในยุคความปรกติวิถีใหม่ (New Normal) ในเขต บางกะปิ กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างกาหนดสมมติฐาน 01  ประชาชนที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ รายได้ การศึกษาที่แตกต่างกัน มีส่วนร่วมในการ จัดการขยะพลาสติกที่แตกต่างกัน  การได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องการจัดการขยะ พลาสติกจากหน่วยงานรัฐบาลหรือเอกชน มี ความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา ขยะพลาสติก ในยุค New normal  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะพลาสติกและการ จัดการขยะมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการ จัดการปัญหาขยะพลาสติก ในยุค New normal  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะพลาสติกมี ความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับพฤติกรรมการจัดการขยะ พลาสติก
  • 33. 33 ความคุ้มค่าและความคุ้มทุนของการใช้โซลาร์ รูฟท็อปในครัวเรือน ในจังหวัดนครราชสีมา ตัวอย่างกาหนดสมมติฐาน 02  ปัจจัยด้านบุคคล เช่น ความรู้ในการใช้โซลาร์รูฟท็อป ทัศนคติในการใช้โซลาร์รูฟท็อป การเลือกผู้ให้บริการ มีผลต่อความคุ้มทุนและความคุ้มค่าของการใช้โซลาร์ รูฟท็อปใน ครัวเรือน  ปัจ จัย ด้า น ก า ย ภ า พ เ ช่ น ป ริม า ณ ค ว า ม เ ข้ม แสงอาทิตย์ในพื้นที่ อุณหภูมิความชื้น พื้นที่ในการ ติดตั้ง ลักษณะทางกายภาพของ มีผลต่อความคุ้มทุน และความคุ้มค่าของการ ใช้โซลาร์รูฟท็ อปใน ครัวเรือน  ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เช่น ราคาขายไฟฟ ้ า ต้นทุนค่า ติดตั้ง ต้นทุนการบารุงรักษา มีผลต่อ ความคุ้มทุนและ ความคุ้มค่าของการใช้โซลาร์รูฟท็อปในครัวเรือน  ปัจจัยด้านการสนับสนุน เช่น นโยบายส่งเสริมจาก
  • 35. ตัวแปรการวิจัย สุวิมล ติรกานันท์ (2548 :75-76) นิยามตัวแปรในการวิจัยไว ้ ว่า คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ ที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ที่แสดงให ้เห็นในประเด็นที่ต ้องการจะศึกษา โดยมีค่าที่ แปรเปลี่ยนกันไปได ้แต่ละหน่วยของประชากรที่ศึกษา ตัวแปรในงานวิจัย แบ่งได ้เป็น 1. ตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ (Independent Variable) เป็นตัว แปรที่เป็นสาเหตุที่ก่อให ้เกิดผล หรือก่อให ้เกิดการแปรผันของ ปรากฏการณ์ เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกาหนดหรือจัดกระทาได ้เพื่อ ศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรนี้ 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรที่เป็นผลมาก จากการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรอิสระ เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยมุ่งวัด เพื่อเป็นข ้อมูลสาหรับนามาวิเคราะห์เพื่อตอบคาถามของการวิจัย ว่าเป็นผลมากจากสิ่งใด นอกจากนี้ยังมีตัวแปรอื่นที่ผู้วิจัยมิได ้มุ่งศึกษาโดยตรง แต่เป็นตัว แปรที่อาจมีผลกระทบต่อตัวแปรตามได ้ตัวแปรนี้เรียกว่า 3. ตัว
  • 37. ระดับตัวแปร 1.ระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) ตัวแปรบอกความแตกต่าง แยกเป็นพวกๆ ไม่สามารถบอกปริมาณได ้ ตัวอย่าง ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม 2.ระดับอันดับมาตรา (Ordinal Scale) เป็นระดับที่ สูงกว่าระดับ แบ่งกลุ่มมาตราหรือนามมาตรา ระบุความแตกต่างโดยให ้เป็นชื่อ หรือสัญลักษณ์ สามารถจัดลาดับที่และแสดงความมากน้อย แต่ ไม่สามารถนา ผลมา บวก ลบ คูณหารกันได ้ ตัวอย่าง ชนชั้น : ชั้นสูง ชั้นกลาง ชั้นต่า ความสวย : สวย พอใช ้ ขี้เหร่ ช่วงวัย : เด็ก ผู้ใหญ่ ชรา 3.ระดับช่วงมาตรา (Interval Scale) เป็นระดับที่สูงกว่าระดับ แบ่งกลุ่มมาตราและอันดับมาตรา แสดงความแตกต่างของหน่วย และลาดับชั้นสูงต่ามากน้อย รวมถึงความ แตกต่างระหว่างหน่วย ว่ามีเท่าใด (แต่ละช่วง ความ แตกต่างเท่ากัน) สามารถนามาบวก ลบ คูณ หารได ้แต่ไม่มีจุดศูนย์แท ้(หรือศูนย์สมมติ) ตัวอย่าง อุณหภูมิ : 0 ⁰c - 50 ⁰c อุณหภูมิ 0 ⁰c ไม่ได ้หมายความ
  • 38. ระดับตัวแปร (ต่อ) 4.ระดับอัตราส่วนมาตรา (Ratio Scale) เป็น ระดับ สูงสุดของการวัดตัวแปร แสดงความ แตกต่างของตัวแปรระดับแบ่งกลุ่มมาตรา ระดับ อันดับมาตรา และระดับช่วงมาตรา โดย มีจุดศูนย์แท ้(Absolute Zero) หรือค่าศูนย์ ตามธรรมชาติ (Natural Zero) คือความไม่มี ลักษณะนั้นๆ เลย เช่น อายุ ความยาว น้า หนัก จานวนบุตร
  • 39. รูปแบบตัวแปร 1.ตัวแปรต ้นและตัวแปรตามอย่างละตัว A B 2.ตัวแปรต ้นหลายตัวและตัวแปรตามตัวเดียว A1, A2, A3 B 3.ตัวแปรอิสระตัวเดียวและตัวแปรตามหลายตัว B A1, A2, A3 4.ตัวแปรต ้นหลายตัวและตัวแปรตามหลายตัว A1, A2, A3 B1, B2, B3
  • 43. กรอบแนวคิดการวิจัย เกิดจาก 1. ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง ได ้ข ้อมูลของ ตัวแปรต่างๆ ตามทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข ้องที่มีอยู่ และจะไม่ละเลยตัวแปรที่มีความสาคัญ 2. ความคิดและประสบการณ์ของผู้วิจัย ผู้วิจัย สามารถนาแนวความคิด การทาวิจัยมาจากความชอบ ความสนใจ หรือประสบการณ์ที่เคยผ่านมาในอดีต นามาพัฒนาเพื่อต่อยดเป็นความรู้ใหม่ๆ ในงานวิจัย ของตน ที่มาของกรอบแนวคิดการวิจัย
  • 44. 44 1. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ทบทวนผลงานวิจัย ทาให ้เราไม่มองข ้ามตัว แ ป ร บ า ง ตั ว ที่มีผู้อื่น ไ ด ้พ บ แ ล ้ว ว่า มี ความสาคัญ 2. ทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง • ทาให ้ทราบว่าตัวแปรใดสาคัญและมี ความสัมพันธ์กันอย่างไรแล ้ว ยังทาให ้กรอบ แนวคิดของการวิจัยมีแนวทางที่ชัดเจนและ มีเหตุมีผล 3. แนวความคิดของผู้วิจัยเอง • ความคิดและประสบการณ์ ที่มาของกรอบแนวคิดการวิจัย
  • 45. 45 กรอบแนวความคิดต่างจากขอบเขตของ การวิจัย ขอบเขตของการวิจัย หมายถึง การจากัด ลักษณะของประชากรที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา กรอบแนวความคิด หมายถึง ความคิดของผู้วิจัย เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ที่ผู้วิจัย ได ้กาหนดไว ้เป็ นข ้อสมมติฐานในการศึกษาและวิจัย แต่ละครั้ง กรอบแนวความคิดประกอบด้วย ตัวแปร และ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร กรอบแนวคิดทาให้ผู้อื่นได้ทราบว่าผู้วิจัยมี ลักษณะของกรอบแนวคิดการวิจัย
  • 46. 46 1. แบบพรรณนาความ เ ป ็ น ก า ร ใ ช้ถ้อ ย ค า บ ร ร ย า ย ค ว า ม เ กี่ย ว เ นื่อ ง ล า ดับ ก่ อ น ห ลัง แ ล ะ ความสัมพันธ์ของตัวแปร (หากยาวเกินไป หรือไม่กระชับชัดเจนอาจไม่ดึงดูดความ สนใจของผู้อ่านมากนัก) 2. แบบฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์ Y = f (P,Q,R,S) Y = การแต่งตัวของวัยรุ่น P = ค่านิยม Q = ฐานะทางบ ้าน R = การเลี้ยงดู การเสนอกรอบแนวคิด ในการวิจัย 3. แบบ แผนภูมิ จะเป ็ นภาพแผนภูมิที่ แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร ซึ่ง ทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้ ง่าย* *เคล็ดลับการเขียนรายงานวิจัย และวิทยานิพนธ์ (สิทธิ์ ธีร สรณ์, 2560 : 69-89)
  • 47. จากฟังก์ชั่นที่กาหนด หมายความว่า การ ติดเชื้อเอดส์ของวัยรุ่นขึ้นอยู่กับหรือมี ความสัมพันธ์กับตัวแปรเรื่อง ความรู้เรื่อง เอดส์ ค่านิยม ฐานะทางบ ้าน และอิทธิพล ของเพื่อน กรอบแนวคิดสามารถนาเสนอได ้ ดังนี้ 1.กรอบแนวคิดเชิงพรรณนา บรรยายปรากฏการณ์ หรือสิ่งที่ ต ้องการศึกษา ดังนั้นจะมีแต่การเขียนระบุว่า มีตัวแปรอะไรบ ้างที่ จะนามาศึกษา 2 กรอบแนวคิดแบบฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ วิธีนี้นิยมใช ้ในการ วิจัยทางเศรษฐศาสตร์ เป็นการพยายามอธิบายเรื่องราว ทั้งหมดด ้วย วิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น Y = ∫(P, Q, R, S) Y = การติดเชื้อเอดส์ของเด็กวัยรุ่น P = ความรู้เรื่องโรคเอดส์ Q = ค่านิยม R = ฐานะทางบ ้าน S = อิทธิพลของเพื่อน
  • 48. 3. กรอบแนวคิดแบบแผนภูมิ เป็นการเชื่อมโยงให ้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ต ้องการศึกษา แสดง ลาดับการเกิดก่อนหลังของตัวแปร นอกจากนี้แผนภูมิที่สร ้าง ขึ้น ยังสามารถแสดงความเป็นเหตุเป็นผล
  • 49.
  • 51. ตัวอย่างงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ งานวิจัย: ประสิทธิภาพของการใช ้ผักกระเฉดบาบัดน้าที่ปนเปื้อนน้ากากส่า (วิศัลย์ ธรรมประสิทธิ์ 2549 ) ตัวแปรอิสระ 1.ความเข ้มข ้นของน้ากากส่า 2.ระยะเวลาที่ใช ้ในการบาบัด ตัวแปรตาม 1.ประสิทธิภาพในการบาบัดตาม พารามิเตอร์ต่างๆ 2.ชีวมวลของผักกระเฉด 3.ดุลไนโตเจนหลังบาบัด 4.ปริมาณโลหะหนักในน้าและผัก กระเฉด ความเป็นไปได ้ในการใช ้ผักกระเฉด บาบัดน้าที่ปนเปื้อนน้ากากส่า
  • 55. ทัศนคติของ ผู้บริโภค ทัศนคติของ ผู้จาหน่าย อาหาร การเลือกใช ้ บรรจุภัณฑ์สี เขียว 1 2 ทัศนคติของผู้บริโภคอาหาร ทัศนคติของผู้จาหน่ายอาหาร และการเลือกใช ้บรรจุภ สมมติฐาน 1 ทัศนคติที่ดีต่อสิ่งแวดล ้อมมีผลเชิงบวกต่อการเลือกใช ้บรรจุภัณ สมมติฐาน 2 ทัศนคติที่ดีต่อสิ่งแวดล ้อมมีผลเชิงบวกต่อการเลือกใช ้บรรจุภัณ สมมติฐาน 3 ทัศนคติต่อสิ่งแวดล ้อมของผู้บริโภค และ(ทัศนคติต่อ สิ่งแวดล ้อม)ของผู้จาหน่ายอาหารมี ความสัมพันธ์กัน 3

Editor's Notes

  1. ขอให้แสดงความคิดเห็น ว่า 1.1 และ 1.2 แตกต่างกันอย่างไร วิธีการพิสูจน์สมมติฐานทั้ง 2 อย่างนี้ ต่างกันอย่างไร