SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ความรู้เบื้องต้น
การทดลองทางวิทยาศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทดลองทาง
วิทยาศาสตร์
การทดลองเป็นหัวใจที่สาคัญของการเรียนวิทยาศาสตร์ ผู้ที่ชอบการ
ทดลองมักจะเป็นคนที่มีเหตุผล ผู้ที่มีเหตุผลมักจะเป็นคนที่มีความคิด มักจะ
ประสบผลสาเร็จในชีวิต นอกจากนี้ การทดลองวิทยาศาสตร์ยังเป็นการฝึกให้
คนรู้จักปรึกษาหารือ ช่วยกันทางาน รู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง และเป็น
การฝึกคนให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
หัวใจสาคัญของการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือ ผู้ทาการทดลองจะต้อง
มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงมีความ-จาเป็น อย่างยิ่งที่ผู้สอน
การทดลองทางวิทยาศาสตร์จะต้องมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะทาง
วิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการใช้
กระบวนการต่างๆ ได้แก่ การสังเกต การวัด การจาแนกประเภท การหา
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา การใช้ตัวเลข การจัดกระทาและสื่อ
ความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การ
กาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง และ
การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป อย่างคล่องแคล่วถูกต้องและแม่นยา
(วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2544 : 165)
นักวิทยาศาสตร์หลายท่านได้เห็นพ้องต้องกันว่า การใช้ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นในการเรียน
วิทยาศาสตร์ ดังนั้นจุดมุ่งหมายที่สาคัญก็คือ เน้นการสอนผู้เรียน ให้รู้จักและ
ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ต่างๆ การได้มา
ซึ่งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่นอกเหนือไปจากการได้ข้อเท็จจริง
ทางเนื้อหาวิชานั้น ถือว่า เป็นคุณค่าสูงสุดของการเรียนวิทยาศาสตร์ เพราะไม่
เพียงแต่ผู้เรียน จะใช้ทักษะเหล่านี้เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ความเข้าใจทาง
เนื้อหาวิชา ที่เรียนเท่านั้น ผู้เรียนยังใช้ทักษะดังกล่าวเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ที่
เกิดขึ้นภายนอกห้องเรียนอีกด้วย
สมาคมอเมริกันเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์(American
Association for the Advancement of Science - AAAS) ได้พัฒนาโครงการ
ปรับปรุงการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษา โดย
เน้นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้กาหนดทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ไว้ 13 ทักษะ ประกอบด้วยทักษะ ขั้นพื้นฐาน (Basic science
process skills) 8 ทักษะ และทักษะขั้นผสมหรือบูรณาการ (Integrated science
process skills) 5 ทักษะ ดังนี้ (พวงทอง มีมั่งคั่ง, 2537 : 23)
1. ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้แก่
1.1 ทักษะการสังเกต คือ ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส อย่าง
ใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง เพื่อหาข้อมูลหรือรายละเอียด
ของสิ่งต่าง ๆ โดยไม่เพิ่มความคิดเห็น ส่วนตัวลงไป
1.2 ทักษะการจาแนกประเภท คือ การแบ่งพวก หรือเรียงลาดับวัตถุ
หรือสิ่งที่อยู่ในปรากฏการณ์ โดยใช้เกณฑ์ ความเหมือน ความแตกต่าง หรือ
ความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
1.3 ทักษะการวัด คือ การเลือกและการใช้เครื่องมือทาการวัด
หาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้อย่างเหมาะสม และ
ถูกต้อง โดยมีหน่วยกากับเสมอ
1.4 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ และมิติกับเวลา วัตถุ
ต่างๆ ในโลกนี้ จะทรงตัวอยู่ได้ล้วนแต่ครองที่ว่าง การครองที่ของวัตถุในที่
ว่างนั้น โดยทั่วไปแล้วจะมี 3 มิติ ได้แก่ มิติยาว มิติกว้าง และมิติสูงหรือหนา
1.5 ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล คือ การเพิ่มความคิดเห็นให้กับ
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิม
มาช่วย
1.6 ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล เป็นการนาผล
การสังเกต การวัด การทดลองจากแหล่งต่าง ๆ โดยการหาความถี่ เรียงลาดับ
จัดแยกประเภท หรือคานวณหาค่าใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมาย ของ
ข้อมูลดียิ่งขึ้น โดยอาจเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร
กราฟ สมการ และการเขียนบรรยาย
1.7 ทักษะการพยากรณ์ คือ การสรุปคาตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง
โดยอาศัยประสบการณ์ ที่เกิดขึ้นซ้าๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎี ที่มีอยู่แล้วใน
เรื่องนั้น มาช่วยในการสรุป การพยากรณ์มีสองทาง คือ การพยากรณ์ภายใน
ขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่และ การพยากรณ์ นอกขอบเขตข้อมูลที่มีอยู่
1.8 ทักษะการคานวณ คือ การนับจานวนของวัตถุและการนาตัวเลข
แสดงจานวนที่นับได้ มาคิดคานวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร หรือหาค่าเฉลี่ย
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ได้แก่
2.1 ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร การกาหนดตัวแปร
เป็ น ก ารชี้ บ่ งตั ว แ ป รต้ น ตั วแ ป รต าม แ ล ะ ตั วแ ป รค วบ คุ ม
ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เราต้องจัดให้แตกต่างกัน ซึ่งเป็นต้นเหตุ ทาให้เกิดผล ซึ่ง
เราคาดหวังว่าจะแตกต่างกัน ตัวแปรตาม คือ สิ่งที่เรา ต้องติดตามดู ซึ่งเป็นผล
จากการจัดสถานการณ์บางอย่างให้แตกต่างกัน ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เรา
ต้องควบคุมจัดให้เหมือนกันเพื่อให้แน่ใจว่า ผลการทดลอง เกิดจากตัวแปรต้น
เท่านั้น
2.2 ทักษะการตั้งสมมติฐาน คือ การคิดหาคาตอบล่วงหน้า ก่อนจะทา
การทดลองโดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิม เป็นพื้นฐาน
คาตอบที่คิดล่วงหน้าซึ่งยังไม่ทราบ หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมา
ก่อน สมมติฐาน หรือคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้า มักกล่าวไว้เป็นข้อความ ที่
บอก ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้น กับตัวแปรตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจ
ถูก หรือผิดก็ได้ ซึ่งจะทราบภายหลัง การทดลอง หาคาตอบเพื่อสนับสนุน
หรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้
2.3 ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ คือการกาหนดความหมาย
และขอบเขตของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในสมมติฐานที่ต้องทดลองให้เข้าใจตรงกัน
และสามารถสังเกตหรือวัดไว้
2.4 ทักษะการทดลอง มี 3 ประเภท คือ การทดลองแบบแบ่งกลุ่ม
เปรียบเทียบ ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบและลองผิดลองถูก การทดลองเป็น
กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคาตอบ หรือการทดสอบ สมมติฐานที่ตั้งไว้
ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง
และการบันทึกผลการทดลอง
2.5 ทักษะการแปลความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
การตีความหมายข้อมูล คือ การแปลความหมาย หรือ การบรรยาย ลักษณะและ
สมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การลงข้อสรุป คือ การสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูล
ทั้งหมด
ความหมายของการทดลอง
จิรา จันทเปรมจิตต์ (2544 :28) ให้ความหมายของ การทดลองว่า การ
ทดลองเป็นกระบวนการพิสูจน์เพื่อยืนยันความจริงในสิ่งที่สงสัย หรือในสิ่งที่
อยากรู้คาตอบ หรือเพื่อทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ว่าจะเป็นจริงหรือไม่
โดยรวมเอากระบวนการต่างๆมาผสมผสานกัน เช่น การสังเกต การวัด การ
คานวณ การตั้งสมมติฐาน การกาหนดตัวแปร การสื่อความหมาย การลงความ
คิดเห็น การตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุป
นัยนา ตรงประเสริฐ (2544 : 19) ให้ความหมายการทดลองว่า เป็น
กระบวนการที่รวมเอากระบวนการต่างๆ เช่น การออกแบบ การทดลอง การ
เลือกวัสดุอุปกรณ์ และการดาเนินการทดลอง เพื่อพิสูจน์สมมติฐานที่ตั้งขึ้นว่า
เป็นจริงหรือไม่ ก่อนการทดลองจะต้องมีปัญหาก่อนแล้วจึงแยกตัวแปรต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับปัญหา ว่ามีอะไรบ้าง แล้วจึงเลือกตัวแปรที่เกี่ยวข้องมา
ตั้งสมมติฐาน แล้วจึงออกแบบการทดลองเพื่อควบคุมตัวแปร เลือกวัสดุ
อุปกรณ์ที่เหมาะสมแล้วดาเนินการทดลอง
บุญฤดี แซ่ล้อ (2544 : 39) ให้ความหมายการทดลองว่า การทดลองเป็น
การสร้าง เหตุการณ์หรือสถานการณ์จาลองขึ้นมาอย่างหนึ่ง เพื่อจะได้สังเกต
ผลที่เกิดขึ้นภายใต้การควบคุมเงื่อนไขต่างๆไว้แล้ว และเพื่อจะทดสอบซ้าได้
อีก การทดลองมีวัตถุประสงค์ที่จะทดสอบสมมติฐาน รูปแบบหรือโมเดลที่ยัง
สงสัยอยู่ โดยการกระทาให้วัตถุหรือเหตุการณ์เกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว นาผล
ที่ได้มาเปรียบเทียบกัน การทดลองจะต้องประกอบด้วยกิจกรรม 2 ตอน คือ
กิจกรรมการออกแบบการทดลอง กับกิจกรรมภาคปฏิบัติการทดลอง
ดังนั้นสรุปได้ว่า การทดลองเป็นการสร้างสถานการณ์หรือสถานการณ์
จาลองขึ้นมาอย่างหนึ่ง เพื่อจะได้สังเกตผลที่เกิดขึ้นภายใต้การควบคุมเงื่อนไข
ต่างๆไว้แล้วและเพื่อจะได้ทดสอบซ้าได้อีกการทดลอง มีวัตถุประสงค์ที่จะ
ทดสอบสมมติฐานเมื่อนักเรียนได้ลงมือทาการทดลองด้วยตนเองจะทาให้เกิด
การเรียนรู้ที่ดีที่สุดและได้ฝึกทักษะต่างๆ
จุดมุ่งหมายของการทดลองทางวิทยาศาสตร์
1. เพื่อยืนยันความจริงบางประการที่กล่าวถึง หรือปรากฏอยู่
ในแบบเรียน
2. ทาให้เข้าใจทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์ยิ่งขึ้น
3. เร้าให้เกิดความอยากรู้อยากเห็น และปฏิบัติการเพื่อให้รู้ให้เห็น
ยิ่งขึ้น
4. ฝึกให้คุ้นเคยการทางานทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับผู้อื่น
5. ฝึกให้มีทักษะในการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
6. ฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยกระทาจริง เพื่อให้เกิดความสามารถใน
การประดิษฐ์คิดค้น
ประโยชน์ของการทดลอง
1. ช่วยเร้าความสนใจและช่วยให้เกิดคาถามหรือเกิดปัญหา เช่น ครูจุด
เทียนไขวางไว้จากนั้นใช้แก้วครอบเทียนไข ให้นักเรียนสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น
ใช้คาถามว่าเพราะเหตุใดเทียนไขจึงดับ คาถามหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นตัว
นาไปสู่การทากิจกรรมอื่น ๆต่อไป
2. ช่วยแก้ปัญหา การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์จะต้องใช้วิธีการ
ทดลองโดยเฉพาะการสอนในระดับประถมศึกษา ปัญหาที่นักเรียนพบ เช่น
แสงเดินทางอย่างไร การที่นักเรียนจะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้นักเรียนจะต้องคิด
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ โดยต้องอาศัยขั้นตอนการแก้ปัญหาตาม
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
3. นาความรู้ที่ได้ไปใช้กับสถานการณ์ใหม่ การนาความรู้ ไปใช้เป็น
เทคนิคประเมินความเข้าใจของนักเรียนว่ามีความเข้าใจในเรื่องที่เรียนเพียงใด
ถ้านักเรียนเข้าใจ ย่อมสามารถนาไปใช้หรืออธิบายเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกันได้
4. ช่วยกระตุ้นความสนใจนักเรียนที่เรียนช้า และท้าทายความสามารถ
นักเรียนที่เรียนเร็วการทดลองจะเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนช้าได้พัฒนา
ทักษะการสังเกต รวบรวมข้อมูล ตลอดจนการรายงานผลการทดลอง ซึ่งจะ
เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนช้าได้แสดงความสามารถให้เพื่อนเห็น
และมีความภาคภูมิใจในตนเอง ซึ่งจะทาให้นักเรียนสนใจการเรียน
วิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น สาหรับนักเรียนที่เรียนเร็ว การทดลองถือว่าเป็นการท้า
ทายความสามารถ(นัยนา ตรงประเสริฐ,2544 : 25)
ข้อดีของการสอนแบบทดลอง
1. นักเรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์จากการทดลองโดยตรง ผ่านการ
ฝึกฝนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ใน
การแก้ปัญหา
2. กิจกรรมการเรียนการสอนที่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง นักเรียนมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนตลอด ทาให้สามารถใช้ประสาทสัมผัสต่าง
ๆ หลายอย่างในการดาเนินกิจกรรม
3. ทาให้นักเรียนได้ค้นพบหลักวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง มีผลทาให้เกิด
ความคงทนถาวรในการเรียนรู้ของนักเรียน
4. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพราะ
สามารถหาความจริง จากการทดลองได้โดยตรงด้วยตนเอง

More Related Content

What's hot

การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)Rank Saharath
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อะลิ้ตเติ้ล นก
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยChamada Rinzine
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)Marine Meas
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 

What's hot (20)

I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
123
123123
123
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 

Viewers also liked

เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สมพงษ์ หาคำ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์พัน พัน
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนPornpichit55
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สoraneehussem
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...SlideShare
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (19)

เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอน
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
3เฉลย 31
3เฉลย 313เฉลย 31
3เฉลย 31
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์

ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_makusoh026
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 

Similar to เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์ (20)

ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Literature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency MedicineLiterature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency Medicine
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 

เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์

  • 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทดลองทาง วิทยาศาสตร์ การทดลองเป็นหัวใจที่สาคัญของการเรียนวิทยาศาสตร์ ผู้ที่ชอบการ ทดลองมักจะเป็นคนที่มีเหตุผล ผู้ที่มีเหตุผลมักจะเป็นคนที่มีความคิด มักจะ ประสบผลสาเร็จในชีวิต นอกจากนี้ การทดลองวิทยาศาสตร์ยังเป็นการฝึกให้ คนรู้จักปรึกษาหารือ ช่วยกันทางาน รู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง และเป็น การฝึกคนให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข หัวใจสาคัญของการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือ ผู้ทาการทดลองจะต้อง มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงมีความ-จาเป็น อย่างยิ่งที่ผู้สอน การทดลองทางวิทยาศาสตร์จะต้องมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะทาง วิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการใช้ กระบวนการต่างๆ ได้แก่ การสังเกต การวัด การจาแนกประเภท การหา ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา การใช้ตัวเลข การจัดกระทาและสื่อ ความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การ กาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง และ การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป อย่างคล่องแคล่วถูกต้องและแม่นยา (วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2544 : 165) นักวิทยาศาสตร์หลายท่านได้เห็นพ้องต้องกันว่า การใช้ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นในการเรียน วิทยาศาสตร์ ดังนั้นจุดมุ่งหมายที่สาคัญก็คือ เน้นการสอนผู้เรียน ให้รู้จักและ
  • 3. ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ต่างๆ การได้มา ซึ่งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่นอกเหนือไปจากการได้ข้อเท็จจริง ทางเนื้อหาวิชานั้น ถือว่า เป็นคุณค่าสูงสุดของการเรียนวิทยาศาสตร์ เพราะไม่ เพียงแต่ผู้เรียน จะใช้ทักษะเหล่านี้เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ความเข้าใจทาง เนื้อหาวิชา ที่เรียนเท่านั้น ผู้เรียนยังใช้ทักษะดังกล่าวเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ที่ เกิดขึ้นภายนอกห้องเรียนอีกด้วย สมาคมอเมริกันเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์(American Association for the Advancement of Science - AAAS) ได้พัฒนาโครงการ ปรับปรุงการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษา โดย เน้นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้กาหนดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไว้ 13 ทักษะ ประกอบด้วยทักษะ ขั้นพื้นฐาน (Basic science process skills) 8 ทักษะ และทักษะขั้นผสมหรือบูรณาการ (Integrated science process skills) 5 ทักษะ ดังนี้ (พวงทอง มีมั่งคั่ง, 2537 : 23) 1. ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้แก่ 1.1 ทักษะการสังเกต คือ ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส อย่าง ใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง เพื่อหาข้อมูลหรือรายละเอียด ของสิ่งต่าง ๆ โดยไม่เพิ่มความคิดเห็น ส่วนตัวลงไป 1.2 ทักษะการจาแนกประเภท คือ การแบ่งพวก หรือเรียงลาดับวัตถุ หรือสิ่งที่อยู่ในปรากฏการณ์ โดยใช้เกณฑ์ ความเหมือน ความแตกต่าง หรือ ความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง 1.3 ทักษะการวัด คือ การเลือกและการใช้เครื่องมือทาการวัด หาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้อย่างเหมาะสม และ ถูกต้อง โดยมีหน่วยกากับเสมอ
  • 4. 1.4 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ และมิติกับเวลา วัตถุ ต่างๆ ในโลกนี้ จะทรงตัวอยู่ได้ล้วนแต่ครองที่ว่าง การครองที่ของวัตถุในที่ ว่างนั้น โดยทั่วไปแล้วจะมี 3 มิติ ได้แก่ มิติยาว มิติกว้าง และมิติสูงหรือหนา 1.5 ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล คือ การเพิ่มความคิดเห็นให้กับ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิม มาช่วย 1.6 ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล เป็นการนาผล การสังเกต การวัด การทดลองจากแหล่งต่าง ๆ โดยการหาความถี่ เรียงลาดับ จัดแยกประเภท หรือคานวณหาค่าใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมาย ของ ข้อมูลดียิ่งขึ้น โดยอาจเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ และการเขียนบรรยาย 1.7 ทักษะการพยากรณ์ คือ การสรุปคาตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง โดยอาศัยประสบการณ์ ที่เกิดขึ้นซ้าๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎี ที่มีอยู่แล้วใน เรื่องนั้น มาช่วยในการสรุป การพยากรณ์มีสองทาง คือ การพยากรณ์ภายใน ขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่และ การพยากรณ์ นอกขอบเขตข้อมูลที่มีอยู่ 1.8 ทักษะการคานวณ คือ การนับจานวนของวัตถุและการนาตัวเลข แสดงจานวนที่นับได้ มาคิดคานวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร หรือหาค่าเฉลี่ย 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ได้แก่ 2.1 ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร การกาหนดตัวแปร เป็ น ก ารชี้ บ่ งตั ว แ ป รต้ น ตั วแ ป รต าม แ ล ะ ตั วแ ป รค วบ คุ ม ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เราต้องจัดให้แตกต่างกัน ซึ่งเป็นต้นเหตุ ทาให้เกิดผล ซึ่ง เราคาดหวังว่าจะแตกต่างกัน ตัวแปรตาม คือ สิ่งที่เรา ต้องติดตามดู ซึ่งเป็นผล จากการจัดสถานการณ์บางอย่างให้แตกต่างกัน ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เรา
  • 5. ต้องควบคุมจัดให้เหมือนกันเพื่อให้แน่ใจว่า ผลการทดลอง เกิดจากตัวแปรต้น เท่านั้น 2.2 ทักษะการตั้งสมมติฐาน คือ การคิดหาคาตอบล่วงหน้า ก่อนจะทา การทดลองโดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิม เป็นพื้นฐาน คาตอบที่คิดล่วงหน้าซึ่งยังไม่ทราบ หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมา ก่อน สมมติฐาน หรือคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้า มักกล่าวไว้เป็นข้อความ ที่ บอก ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้น กับตัวแปรตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจ ถูก หรือผิดก็ได้ ซึ่งจะทราบภายหลัง การทดลอง หาคาตอบเพื่อสนับสนุน หรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้ 2.3 ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ คือการกาหนดความหมาย และขอบเขตของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในสมมติฐานที่ต้องทดลองให้เข้าใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวัดไว้ 2.4 ทักษะการทดลอง มี 3 ประเภท คือ การทดลองแบบแบ่งกลุ่ม เปรียบเทียบ ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบและลองผิดลองถูก การทดลองเป็น กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคาตอบ หรือการทดสอบ สมมติฐานที่ตั้งไว้ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง 2.5 ทักษะการแปลความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป การตีความหมายข้อมูล คือ การแปลความหมาย หรือ การบรรยาย ลักษณะและ สมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การลงข้อสรุป คือ การสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูล ทั้งหมด
  • 6. ความหมายของการทดลอง จิรา จันทเปรมจิตต์ (2544 :28) ให้ความหมายของ การทดลองว่า การ ทดลองเป็นกระบวนการพิสูจน์เพื่อยืนยันความจริงในสิ่งที่สงสัย หรือในสิ่งที่ อยากรู้คาตอบ หรือเพื่อทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ว่าจะเป็นจริงหรือไม่ โดยรวมเอากระบวนการต่างๆมาผสมผสานกัน เช่น การสังเกต การวัด การ คานวณ การตั้งสมมติฐาน การกาหนดตัวแปร การสื่อความหมาย การลงความ คิดเห็น การตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุป นัยนา ตรงประเสริฐ (2544 : 19) ให้ความหมายการทดลองว่า เป็น กระบวนการที่รวมเอากระบวนการต่างๆ เช่น การออกแบบ การทดลอง การ เลือกวัสดุอุปกรณ์ และการดาเนินการทดลอง เพื่อพิสูจน์สมมติฐานที่ตั้งขึ้นว่า เป็นจริงหรือไม่ ก่อนการทดลองจะต้องมีปัญหาก่อนแล้วจึงแยกตัวแปรต่างๆที่ เกี่ยวข้องกับปัญหา ว่ามีอะไรบ้าง แล้วจึงเลือกตัวแปรที่เกี่ยวข้องมา ตั้งสมมติฐาน แล้วจึงออกแบบการทดลองเพื่อควบคุมตัวแปร เลือกวัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสมแล้วดาเนินการทดลอง บุญฤดี แซ่ล้อ (2544 : 39) ให้ความหมายการทดลองว่า การทดลองเป็น การสร้าง เหตุการณ์หรือสถานการณ์จาลองขึ้นมาอย่างหนึ่ง เพื่อจะได้สังเกต ผลที่เกิดขึ้นภายใต้การควบคุมเงื่อนไขต่างๆไว้แล้ว และเพื่อจะทดสอบซ้าได้ อีก การทดลองมีวัตถุประสงค์ที่จะทดสอบสมมติฐาน รูปแบบหรือโมเดลที่ยัง สงสัยอยู่ โดยการกระทาให้วัตถุหรือเหตุการณ์เกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว นาผล ที่ได้มาเปรียบเทียบกัน การทดลองจะต้องประกอบด้วยกิจกรรม 2 ตอน คือ กิจกรรมการออกแบบการทดลอง กับกิจกรรมภาคปฏิบัติการทดลอง ดังนั้นสรุปได้ว่า การทดลองเป็นการสร้างสถานการณ์หรือสถานการณ์ จาลองขึ้นมาอย่างหนึ่ง เพื่อจะได้สังเกตผลที่เกิดขึ้นภายใต้การควบคุมเงื่อนไข
  • 7. ต่างๆไว้แล้วและเพื่อจะได้ทดสอบซ้าได้อีกการทดลอง มีวัตถุประสงค์ที่จะ ทดสอบสมมติฐานเมื่อนักเรียนได้ลงมือทาการทดลองด้วยตนเองจะทาให้เกิด การเรียนรู้ที่ดีที่สุดและได้ฝึกทักษะต่างๆ จุดมุ่งหมายของการทดลองทางวิทยาศาสตร์ 1. เพื่อยืนยันความจริงบางประการที่กล่าวถึง หรือปรากฏอยู่ ในแบบเรียน 2. ทาให้เข้าใจทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์ยิ่งขึ้น 3. เร้าให้เกิดความอยากรู้อยากเห็น และปฏิบัติการเพื่อให้รู้ให้เห็น ยิ่งขึ้น 4. ฝึกให้คุ้นเคยการทางานทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับผู้อื่น 5. ฝึกให้มีทักษะในการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ 6. ฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยกระทาจริง เพื่อให้เกิดความสามารถใน การประดิษฐ์คิดค้น ประโยชน์ของการทดลอง 1. ช่วยเร้าความสนใจและช่วยให้เกิดคาถามหรือเกิดปัญหา เช่น ครูจุด เทียนไขวางไว้จากนั้นใช้แก้วครอบเทียนไข ให้นักเรียนสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น ใช้คาถามว่าเพราะเหตุใดเทียนไขจึงดับ คาถามหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นตัว นาไปสู่การทากิจกรรมอื่น ๆต่อไป 2. ช่วยแก้ปัญหา การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์จะต้องใช้วิธีการ ทดลองโดยเฉพาะการสอนในระดับประถมศึกษา ปัญหาที่นักเรียนพบ เช่น แสงเดินทางอย่างไร การที่นักเรียนจะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้นักเรียนจะต้องคิด
  • 8. อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ โดยต้องอาศัยขั้นตอนการแก้ปัญหาตาม วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. นาความรู้ที่ได้ไปใช้กับสถานการณ์ใหม่ การนาความรู้ ไปใช้เป็น เทคนิคประเมินความเข้าใจของนักเรียนว่ามีความเข้าใจในเรื่องที่เรียนเพียงใด ถ้านักเรียนเข้าใจ ย่อมสามารถนาไปใช้หรืออธิบายเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกันได้ 4. ช่วยกระตุ้นความสนใจนักเรียนที่เรียนช้า และท้าทายความสามารถ นักเรียนที่เรียนเร็วการทดลองจะเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนช้าได้พัฒนา ทักษะการสังเกต รวบรวมข้อมูล ตลอดจนการรายงานผลการทดลอง ซึ่งจะ เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนช้าได้แสดงความสามารถให้เพื่อนเห็น และมีความภาคภูมิใจในตนเอง ซึ่งจะทาให้นักเรียนสนใจการเรียน วิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น สาหรับนักเรียนที่เรียนเร็ว การทดลองถือว่าเป็นการท้า ทายความสามารถ(นัยนา ตรงประเสริฐ,2544 : 25) ข้อดีของการสอนแบบทดลอง 1. นักเรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์จากการทดลองโดยตรง ผ่านการ ฝึกฝนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ใน การแก้ปัญหา 2. กิจกรรมการเรียนการสอนที่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง นักเรียนมีส่วน ร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนตลอด ทาให้สามารถใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ หลายอย่างในการดาเนินกิจกรรม 3. ทาให้นักเรียนได้ค้นพบหลักวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง มีผลทาให้เกิด ความคงทนถาวรในการเรียนรู้ของนักเรียน 4. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพราะ สามารถหาความจริง จากการทดลองได้โดยตรงด้วยตนเอง