SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
“ บุคคลสำคัญ ”
ศำสตรำจำรย์ ดร. ป๋วย อึ้งภำกรณ์
จัดทำโดย
นางสาววรรณฤดี มูลหนองแวง
ม. ๕ / ๓ เลขที่ ๒๙
เสนอ
คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
ดร. ป๋วย อึ้งภำกรณ์
ศาสตราจารย์ พันตรี ดร.ป๋วย อึ้งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙
Huáng Péiqiān เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศ
ไทย เคยเป็นผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย สมาชิกขบวนการเสรี
ไทย และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับ รางวัลแมกไซไซ
สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และเป็นเจ้าของข้อเขียน
"คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน"
ประวัติ
นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกิดที่บ้านตรอกโรงสูบน้้า ตลาดน้อย เป็นบุตรของ นาย
ซา แซ่อึ้ง และ นางเซาะเซ็ง แซ่เตียว (ประสาทเสรี ชื่อ "ป๋วย" นั้น บิดาของป๋วย
ตั้งให้เป็นชื่อตัว ส่วนชื่อสกุลของป๋วย คือ "อึ้ง" ชื่อรุ่นคือ "เคียม" อ่านทั้งสาม
ตัวตามล้าดับประเพณีจีน ส้าเนียงแต้จิ๋วจะเป็น "อึ้ง ป้วย เคียม" แต่ถ้าอ่าน
โดดๆ วรรณยุกต์จะเปลี่ยนไป ชื่อสกุลเป็น "อึ๊ง" และชื่อตัวเป็น "ป๋วย". ค้าว่า
"ป๋วย" แปลตรงตัวได้ว่า "พูนดินที่โคนต้นไม้" เพราะตัวประกอบในอักษรระบุ
ไว้เช่นนั้น แต่มีความหมายกว้างออกไปอีกคือ "บ้ารุง" "หล่อเลี้ยง"
"เพาะเลี้ยง" และ "เสริมก้าลัง"
มารดาของป๋วย เป็นบุตรสาวคนแรกของเจ้าของร้านขายผ้าที่ส้าเพ็ง อยู่ใกล้
ตรอกโรงโคม ส่วนบิดาเป็นคนจีน ท้างานช่วยพี่ชายที่แพปลา แถวปากคลองวัด
ปทุมคงคา ทั้งสองสามีภรรยาไม่ค่อยมีรายได้มากนัก แต่ก็ตั้งใจส่งลูกชายเข้า
เรียน ที่แผนกภาษาฝรั่งเศส โรงเรียนอัสสัมชัญ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีค่าเล่าเรียน
แพง คือปีละ 70 บาทในสมัยนั้น. มารดาของป๋วย ก็สนับสนุนให้เรียนหนังสือที่
เดิม จนส้าเร็จการศึกษา ขณะอายุได้ 18 ปี ป๋วยได้มาเป็นมาสเตอร์ หรือครู ที่
โรงเรียนอัสสัมชัญ สอนวิชาค้านวณ และภาษาฝรั่งเศส มีรายได้เดือนละ 40
บาท แบ่งให้แม่ 30 บาท
ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 ป๋วยได้สมัครเข้าเรียนต่อที่ มหาวิทยาลัยวิชา
ธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นนักศึกษารุ่นแรก ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่มีการบังคับ
ให้เข้าชั้นเรียน ทางมหาวิทยาลัยได้จัดพิมพ์ค้าบรรยายออกจ้าหน่ายในราคาถูก
วิชาละประมาณ 2 บาท เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนที่ก้าลังท้างานอยู่สามารถศึกษา
เองได้ ป๋วยใช้เวลาในตอนค่้าและวันหยุดเรียนอยู่ 4 ปี ก็ส้าเร็จการศึกษา
ปริญญาตรีทางกฎหมายและการเมือง ในปี พ.ศ. 2480. หลังจากนั้น ก็ลาออก
จากโรงเรียนอัสสัมชัญ มาท้างานเป็นล่ามภาษาฝรั่งเศส ให้แก่อาจารย์ชาว
ฝรั่งเศสผู้หนึ่ง ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง
ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2481 ป๋วยสอบชิงทุนรัฐบาล ได้ไปเรียนระดับ
ปริญญาตรี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และการคลัง ที่ London School
of Economics & Political Science มหาวิทยาลัยลอนดอน ซึ่ง
หลังจากนั้นอีกเพียง 6 เดือน มารดาของป๋วยก็เสียชีวิตลง
ป๋วยใช้เวลาสามปีก็ส้าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ป๋วยเป็นนักเรียน
ดีเด่น และเป็นศิษย์เอกของ ศาสตราจารย์เฟรเดอริก ฮาเย็ก (ซึ่งได้รับ
รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2517) ป๋วยเป็นคนไทยคน
เดียว ในมหาวิทยาลัยนี้ ที่สอบได้คะแนนสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง ในบรรดา
เกียรตินิยมอันดับหนึ่งด้วยกันในปี พ.ศ. 2485 ได้เกรดเอแปดวิชา และ
เกรดบีหนึ่งวิชา
 พ.ศ. 2476 - ส้าเร็จมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ
 พ.ศ. 2480 - ธรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
 พ.ศ. 2484 - ปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง วิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน
 พ.ศ. 2492 - ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ วิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่ง
ลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน
กำรศึกษำ
ประวัติกำรทำงำน
 พ.ศ. 2476 - 2480 - ครูโรงเรียน อัสสัมชัญ
 พ.ศ. 2480 - 2481 - ล่ามภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
 พ.ศ. 2485 - 2488 - รับราชการในกองทัพแห่งสหราชอาณาจักรเพื่อท้างานให้ขบวนการเสรี
ไทย
 พ.ศ. 2492 - 2499 - เศรษฐกร ประจ้ากระทรวงการคลัง ผู้ช้านาญการคลัง กรมบัญชีกลาง
ผู้เชี่ยวชาญการคลัง กระทรวงการคลัง
 พ.ศ. 2496 - รองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ด้ารงต้าแหน่งอยู่ 7 เดือน)
 พ.ศ. 2499 - 2502 - ที่ปรึกษาเศรษฐกิจการคลัง ประจ้าสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุง
ลอนดอน
 พ.ศ. 2502 - 2509 - ผู้อ้านวยการส้านักงบประมาณ
 พ.ศ. 2502 - 2514 - ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
 พ.ศ. 2505 - 2510 - ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
 พ.ศ. 2507 - 2515 - คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 พ.ศ. 2508 - ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[3]
 พ.ศ. 2510 - 2515 - ที่ปรึกษากระทรวงการคลัง
 พ.ศ. 2513 - ศาสตราจารย์พิเศษ Woodrow Wilson School, Princeton
University สหรัฐอเมริกา
 พ.ศ. 2514 - 2516 - ศาสตราจารย์พิเศษ University College (ต่อมาเปลี่ยนชื่อ
เป็น Wolfson College), มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, สหราชอาณาจักร
 พ.ศ. 2516 - 2518 - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
 พ.ศ. 2517 - 2518 - ประธานคณะที่ปรึกษาฝ่ายเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี
 พ.ศ. 2518 - 2519 - อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชีวิตกำรทำงำน
จากผลการเรียนอันดีเด่นของป๋วย ท้าให้ได้รับทุนลีเวอร์ฮูล์ม สามารถ
ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกได้ทันที แต่ในระหว่างนั้น เกิดสงครามโลก
ครั้งที่สอง ขึ้น ท้าให้ป๋วยตัดสินใจท้างานเพื่อชาติ
วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นบุกประเทศไทย รัฐบาลไทยในสมัย
นั้น ซึ่งมี จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศสงครามเป็น
พันธมิตรกับญี่ปุ่น และต่อมาก็ประกาศสงครามกับสหราชอาณาจักรและ
สหรัฐอเมริกา รัฐบาลไทยเรียกตัวคนไทย ในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา
ให้เดินทางกลับ โดยขู่ว่า ผู้ที่ไม่เดินทางกลับจะถูกถอดสัญชาติไทย ปรากฏว่าคน
ไทยจ้านวนหนึ่ง ได้จัดตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นขึ้นทั้งในและนอกประเทศ ใน
นามของขบวนการเสรีไทย ภายในประเทศมี นายปรีดี พนมยงค์ ผู้ส้าเร็จราชการ
เป็นหัวหน้า
ครอบครัว
ดร ป๋วย มีบุตรดังต่อไปนี้
1. จอน อึ๊งภากรณ์
2. ไมตรี อึ๊งภากรณ์
3. ใจ อึ๊งภากรณ์
ปี พ.ศ. 2507 ดร. ป๋วย เข้ารับต้าแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจะลาออกจากต้าแหน่งผู้ว่าการธนาคารแห่ง
ประเทศไทย แต่ถูกนายกรัฐมนตรียับยั้งไว้ ขณะนั้นคณะเศรษฐศาสตร์ มี
อาจารย์ประจ้าเพียงสี่คน อาจารย์ป๋วยจึงเร่งผลิตอาจารย์ โดยประกาศรับ
สมัครคนรุ่นใหม่ แล้วหาทุนส่งไปเรียนต่างประเทศ ท้าให้คณะเศรษฐศาสตร์
เติบโตขึ้น ภายในเวลาเพียงสิบปี มีอาจารย์เพิ่มนับร้อยคน ส่วนใหญ่จบ
การศึกษาระดับปริญญาโทและเอก
งำนด้ำนกำรศึกษำ
ปี พ.ศ. 2510 ดร. ป๋วย ได้ร่วมกับเพื่อนนักธุรกิจ นักการเงิน นักการเมือง และ
เชื้อพระวงศ์ร่วมก่อตั้ง มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ซึ่งถือว่า เป็น
โครงการพัฒนาชนบทแห่งแรกขององค์กรพัฒนาเอกชน
ปี พ.ศ. 2513 อาจารย์ป๋วยได้ลาพัก ไปสอนที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
สหรัฐอเมริกา เพื่อเรียนรู้เรื่องมหาวิทยาลัยใหม่ ๆ ให้ทันการณ์ โดยรับเงินเดือน
จากธนาคารชาติดังเดิม แต่ขอให้มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันจ่ายเงินเดือนอันท่านพึง
จะได้ให้กับธนาคารแห่งประเทศไทย นับว่าธนาคารแห่งประเทศไทยได้ก้าไร
เครื่องรำชอิสริยำภรณ์ของไทย
พ.ศ. 2505 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
ชั้น มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม)
พ.ศ. 2507 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น
มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
พ.ศ. 2508 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติย
จุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.
เครื่องรำชอิสริยำภรณ์ของต่ำงประเทศ
พ.ศ. 2489 - Order of the British Empire (M.B.E.) จาก สหราชอาณาจักร
สวัสดี

More Related Content

Similar to บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27
guestec5984
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
JulPcc CR
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทย
guest84dc873
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทย
guest84dc873
 
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
guest84dc873
 
นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะนายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
guestec5984
 
นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27
guest98f4132
 

Similar to บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (9)

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทย
 
นายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทยนายกรัฐมนตรีของไทย
นายกรัฐมนตรีของไทย
 
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
 
นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะนายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
 
นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27นายกรัฐมนตรีคนที่27
นายกรัฐมนตรีคนที่27
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์

  • 1. “ บุคคลสำคัญ ” ศำสตรำจำรย์ ดร. ป๋วย อึ้งภำกรณ์
  • 2. จัดทำโดย นางสาววรรณฤดี มูลหนองแวง ม. ๕ / ๓ เลขที่ ๒๙ เสนอ คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
  • 3. ดร. ป๋วย อึ้งภำกรณ์ ศาสตราจารย์ พันตรี ดร.ป๋วย อึ้งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศ ไทย เคยเป็นผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย สมาชิกขบวนการเสรี ไทย และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และเป็นเจ้าของข้อเขียน "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน"
  • 4. ประวัติ นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกิดที่บ้านตรอกโรงสูบน้้า ตลาดน้อย เป็นบุตรของ นาย ซา แซ่อึ้ง และ นางเซาะเซ็ง แซ่เตียว (ประสาทเสรี ชื่อ "ป๋วย" นั้น บิดาของป๋วย ตั้งให้เป็นชื่อตัว ส่วนชื่อสกุลของป๋วย คือ "อึ้ง" ชื่อรุ่นคือ "เคียม" อ่านทั้งสาม ตัวตามล้าดับประเพณีจีน ส้าเนียงแต้จิ๋วจะเป็น "อึ้ง ป้วย เคียม" แต่ถ้าอ่าน โดดๆ วรรณยุกต์จะเปลี่ยนไป ชื่อสกุลเป็น "อึ๊ง" และชื่อตัวเป็น "ป๋วย". ค้าว่า "ป๋วย" แปลตรงตัวได้ว่า "พูนดินที่โคนต้นไม้" เพราะตัวประกอบในอักษรระบุ ไว้เช่นนั้น แต่มีความหมายกว้างออกไปอีกคือ "บ้ารุง" "หล่อเลี้ยง" "เพาะเลี้ยง" และ "เสริมก้าลัง"
  • 5. มารดาของป๋วย เป็นบุตรสาวคนแรกของเจ้าของร้านขายผ้าที่ส้าเพ็ง อยู่ใกล้ ตรอกโรงโคม ส่วนบิดาเป็นคนจีน ท้างานช่วยพี่ชายที่แพปลา แถวปากคลองวัด ปทุมคงคา ทั้งสองสามีภรรยาไม่ค่อยมีรายได้มากนัก แต่ก็ตั้งใจส่งลูกชายเข้า เรียน ที่แผนกภาษาฝรั่งเศส โรงเรียนอัสสัมชัญ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีค่าเล่าเรียน แพง คือปีละ 70 บาทในสมัยนั้น. มารดาของป๋วย ก็สนับสนุนให้เรียนหนังสือที่ เดิม จนส้าเร็จการศึกษา ขณะอายุได้ 18 ปี ป๋วยได้มาเป็นมาสเตอร์ หรือครู ที่ โรงเรียนอัสสัมชัญ สอนวิชาค้านวณ และภาษาฝรั่งเศส มีรายได้เดือนละ 40 บาท แบ่งให้แม่ 30 บาท
  • 6. ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 ป๋วยได้สมัครเข้าเรียนต่อที่ มหาวิทยาลัยวิชา ธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นนักศึกษารุ่นแรก ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่มีการบังคับ ให้เข้าชั้นเรียน ทางมหาวิทยาลัยได้จัดพิมพ์ค้าบรรยายออกจ้าหน่ายในราคาถูก วิชาละประมาณ 2 บาท เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนที่ก้าลังท้างานอยู่สามารถศึกษา เองได้ ป๋วยใช้เวลาในตอนค่้าและวันหยุดเรียนอยู่ 4 ปี ก็ส้าเร็จการศึกษา ปริญญาตรีทางกฎหมายและการเมือง ในปี พ.ศ. 2480. หลังจากนั้น ก็ลาออก จากโรงเรียนอัสสัมชัญ มาท้างานเป็นล่ามภาษาฝรั่งเศส ให้แก่อาจารย์ชาว ฝรั่งเศสผู้หนึ่ง ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง
  • 7. ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2481 ป๋วยสอบชิงทุนรัฐบาล ได้ไปเรียนระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และการคลัง ที่ London School of Economics & Political Science มหาวิทยาลัยลอนดอน ซึ่ง หลังจากนั้นอีกเพียง 6 เดือน มารดาของป๋วยก็เสียชีวิตลง
  • 8. ป๋วยใช้เวลาสามปีก็ส้าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ป๋วยเป็นนักเรียน ดีเด่น และเป็นศิษย์เอกของ ศาสตราจารย์เฟรเดอริก ฮาเย็ก (ซึ่งได้รับ รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2517) ป๋วยเป็นคนไทยคน เดียว ในมหาวิทยาลัยนี้ ที่สอบได้คะแนนสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง ในบรรดา เกียรตินิยมอันดับหนึ่งด้วยกันในปี พ.ศ. 2485 ได้เกรดเอแปดวิชา และ เกรดบีหนึ่งวิชา
  • 9.  พ.ศ. 2476 - ส้าเร็จมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ  พ.ศ. 2480 - ธรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง  พ.ศ. 2484 - ปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง วิทยาลัย เศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน  พ.ศ. 2492 - ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ วิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่ง ลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน กำรศึกษำ
  • 10. ประวัติกำรทำงำน  พ.ศ. 2476 - 2480 - ครูโรงเรียน อัสสัมชัญ  พ.ศ. 2480 - 2481 - ล่ามภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง  พ.ศ. 2485 - 2488 - รับราชการในกองทัพแห่งสหราชอาณาจักรเพื่อท้างานให้ขบวนการเสรี ไทย  พ.ศ. 2492 - 2499 - เศรษฐกร ประจ้ากระทรวงการคลัง ผู้ช้านาญการคลัง กรมบัญชีกลาง ผู้เชี่ยวชาญการคลัง กระทรวงการคลัง  พ.ศ. 2496 - รองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ด้ารงต้าแหน่งอยู่ 7 เดือน)  พ.ศ. 2499 - 2502 - ที่ปรึกษาเศรษฐกิจการคลัง ประจ้าสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุง ลอนดอน  พ.ศ. 2502 - 2509 - ผู้อ้านวยการส้านักงบประมาณ  พ.ศ. 2502 - 2514 - ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
  • 11.  พ.ศ. 2505 - 2510 - ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง  พ.ศ. 2507 - 2515 - คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  พ.ศ. 2508 - ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[3]  พ.ศ. 2510 - 2515 - ที่ปรึกษากระทรวงการคลัง  พ.ศ. 2513 - ศาสตราจารย์พิเศษ Woodrow Wilson School, Princeton University สหรัฐอเมริกา  พ.ศ. 2514 - 2516 - ศาสตราจารย์พิเศษ University College (ต่อมาเปลี่ยนชื่อ เป็น Wolfson College), มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, สหราชอาณาจักร  พ.ศ. 2516 - 2518 - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  พ.ศ. 2517 - 2518 - ประธานคณะที่ปรึกษาฝ่ายเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี  พ.ศ. 2518 - 2519 - อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 12. ชีวิตกำรทำงำน จากผลการเรียนอันดีเด่นของป๋วย ท้าให้ได้รับทุนลีเวอร์ฮูล์ม สามารถ ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกได้ทันที แต่ในระหว่างนั้น เกิดสงครามโลก ครั้งที่สอง ขึ้น ท้าให้ป๋วยตัดสินใจท้างานเพื่อชาติ
  • 13. วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นบุกประเทศไทย รัฐบาลไทยในสมัย นั้น ซึ่งมี จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศสงครามเป็น พันธมิตรกับญี่ปุ่น และต่อมาก็ประกาศสงครามกับสหราชอาณาจักรและ สหรัฐอเมริกา รัฐบาลไทยเรียกตัวคนไทย ในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ให้เดินทางกลับ โดยขู่ว่า ผู้ที่ไม่เดินทางกลับจะถูกถอดสัญชาติไทย ปรากฏว่าคน ไทยจ้านวนหนึ่ง ได้จัดตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นขึ้นทั้งในและนอกประเทศ ใน นามของขบวนการเสรีไทย ภายในประเทศมี นายปรีดี พนมยงค์ ผู้ส้าเร็จราชการ เป็นหัวหน้า
  • 14. ครอบครัว ดร ป๋วย มีบุตรดังต่อไปนี้ 1. จอน อึ๊งภากรณ์ 2. ไมตรี อึ๊งภากรณ์ 3. ใจ อึ๊งภากรณ์
  • 15. ปี พ.ศ. 2507 ดร. ป๋วย เข้ารับต้าแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจะลาออกจากต้าแหน่งผู้ว่าการธนาคารแห่ง ประเทศไทย แต่ถูกนายกรัฐมนตรียับยั้งไว้ ขณะนั้นคณะเศรษฐศาสตร์ มี อาจารย์ประจ้าเพียงสี่คน อาจารย์ป๋วยจึงเร่งผลิตอาจารย์ โดยประกาศรับ สมัครคนรุ่นใหม่ แล้วหาทุนส่งไปเรียนต่างประเทศ ท้าให้คณะเศรษฐศาสตร์ เติบโตขึ้น ภายในเวลาเพียงสิบปี มีอาจารย์เพิ่มนับร้อยคน ส่วนใหญ่จบ การศึกษาระดับปริญญาโทและเอก งำนด้ำนกำรศึกษำ
  • 16. ปี พ.ศ. 2510 ดร. ป๋วย ได้ร่วมกับเพื่อนนักธุรกิจ นักการเงิน นักการเมือง และ เชื้อพระวงศ์ร่วมก่อตั้ง มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ซึ่งถือว่า เป็น โครงการพัฒนาชนบทแห่งแรกขององค์กรพัฒนาเอกชน ปี พ.ศ. 2513 อาจารย์ป๋วยได้ลาพัก ไปสอนที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน สหรัฐอเมริกา เพื่อเรียนรู้เรื่องมหาวิทยาลัยใหม่ ๆ ให้ทันการณ์ โดยรับเงินเดือน จากธนาคารชาติดังเดิม แต่ขอให้มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันจ่ายเงินเดือนอันท่านพึง จะได้ให้กับธนาคารแห่งประเทศไทย นับว่าธนาคารแห่งประเทศไทยได้ก้าไร
  • 17. เครื่องรำชอิสริยำภรณ์ของไทย พ.ศ. 2505 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม) พ.ศ. 2507 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) พ.ศ. 2508 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติย จุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.
  • 18. เครื่องรำชอิสริยำภรณ์ของต่ำงประเทศ พ.ศ. 2489 - Order of the British Empire (M.B.E.) จาก สหราชอาณาจักร
  • 19.