SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
อาชีพผู้ประกาศข่ าวกีฬา พิธีกร




นิยามอาชีพ
ผูปฏิบติงานอาชีพนี้ ทาหน้าที่ดาเนินรายการโทรทัศน์ หรื อรายการบนเวทีการแสดง โดยประกาศ
  ้ ั
อธิ บาย แนะนารายการ และหรื อบุคคล หรื อสิ่ งที่น่าสนใจต่อท่านผูชม ซักถามผูเ้ ข้าร่ วมรายการ ให้
                                                                ้
ตอบคาถามข้อปั ญหา เรื่ องที่น่าสนใจโดยเป็ นผูจดเตรี ยมรายการด้วยตนเอง หรื อโดยมีผร่วมทีมเป็ น
                                             ้ั                                      ู้
ผูดาเนิ นการ และพยายามดาเนินรายการให้ผชมได้รับความรู ้เรื่ องที่น่าสนใจและความบันเทิงตาม
   ้                                      ู้
นโยบาย

ลักษณะของงานทีทา
              ่
1. ศึกษานโยบาย และวัตถุประสงค์ของสถานีโทรทัศน์ บุคคล หรื อองค์กรที่มอบหมายให้
ดาเนินการเพื่อให้บรรลุผลสาเร็ จตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของเจ้าของรายการ
2. จัดเตรี ยมทาข้อมูล จัดทาบทพูด หรื อบทสนทนาให้เหมาะสมกับรายการที่จดขึ้น โดยมุ่งให้เป็ นที่
                                                                         ั
พอใจของเจ้าของรายการสถานีโทรทัศน์ และผูชมรายการ โดยอาจดาเนินรายการเพียงลาพังผูเ้ ดียว
                                                  ้
หรื อทางานเป็ นทีม
3. อ่านประกาศ ท่องจาสคริ ปต์เพื่อเตรี ยมออกรายการโดยไม่ให้เกิดความผิดพลาด
4. ถ่ายทอดข้อมูลเรื่ องราวต่างๆ และสื่ อความหมายด้วยภาษาไทย หรื อภาษาต่างประเทศที่ถูกต้อง
และชัดเจน
5. ดาเนินรายการโดยการเสนอความรู ้ สารคดี และเรื่ องที่น่าสนใจของรายการ ตั้งคาถาม และข้อ
ปั ญหาเพื่อให้ผร่วมรายการตอบร่ วมการสนทนาหรื อร่ วมทากิจกรรมที่จดขึ้นพยายามเชื่อมโยง
                 ู้                                                   ั
รายการให้ราบรื่ น และไม่ติดขัด
6. ช่วยเหลือผูเ้ ข้าร่ วมรายการเมื่อมีขอขัดข้องเกิดขึ้นในขณะดาเนินรายการ
                                       ้
7. อาจอ่านประกาศโฆษณาผูสนับสนุนรายการ
                               ้
8. อาจจัดเตรี ยมสถานที่โดยการออกแบบและตกแต่งให้เหมาะสมกับรายการ
9. อาจจัดหาอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดาเนินรายการ สรรหาตัวบุคคลที่มาแสดงร่ วมรายการ อาจ
นาเสนอภาพประกอบการบรรยายเป็ นวิดีโอภาพยนตร์ หรื อภาพนิ่ง แผนภูมิ ฯลฯ ตามความ
เหมาะสมกับรายการ
10. อาจเช่ารายการ และหาค่าโฆษณามาเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนินรายการ
11. เป็ นงานที่ตองสื่ อสารกับผูชมในห้องส่ ง และผูชมทางบ้าน
                ้              ้                 ้

สภาพการทางาน
พิธีกรจะทางานในช่วงกาหนดเวลาหนึ่งๆ ตามผังรายการของสถานีโทรทัศน์ในห้องส่ งของสถานี
โทรทัศน์ หรื อนอกสถานที่เพื่อการแสดงสดหรื อมีถ่ายทอดสด หรื อบันทึกเทปโทรทัศน์เพื่อนาออก
รายการในช่วงเวลาที่กาหนดไว้ ต้องอยูท่ามกลางแสงสว่างมากจากแสงไฟในห้องส่ ง อาจใช้เวลา
                                      ่
มากในการ ถ่ายทา และต้องถ่ายซ้ าหลายครั้ง เมื่อเกิดข้อผิดพลาดในบทพูด หรื อคิวการแสดงอาจ
เป็ นพิธีกรที่ดาเนินรายการคนเดียวหรื อมากกว่าหนึ่งคน แต่ส่วนมากไม่เกิน 3 คน พิธีกร แบ่งเป็ น
ประเภทตามรายการที่เสนอให้กลุ่มผูชมได้เลือกบริ โภค คือจัดตามเนื้ อหา และความเหมาะสมของ
                                    ้
พิธีกรกับรายการ เช่น พิธีกรจัดรายการเพลง พิธีกรรายการสาระคดีน่ารู ้ในประเทศ หรื อต่างประเทศ
พิธีกรรายการข่าวสารบ้านเมือง พิธีกรรายการเกมส์โชว์ พิธีกรรายการทาอาหาร พิธีกรรายการนา
เที่ยว พิธีกรคอลัมน์ผหญิง พิธีกรรายการ สุ ขภาพ พิธีกรรายการเกษตรเพื่อชุมชน พิธีกรแนะนาการ
                       ู้
ประกอบอาชีพ หรื อการทามาหากิน เป็ นต้น
อีกประเภทหนึ่ง คือ การดาเนินรายการเป็ นพิธีกรบนเวทีซ่ ึงจะต้องดาเนินรายการสดที่ตอง ใช้
                                                                                  ้
ความสามารถเฉพาะตัว และใช้ไหวพริ บในการแก้ไขปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นได้โดยไม่คาดคิด พิธีกรที่
จัดรายการบนเวทีจะใช้เวลาทางานประมาณ 2 - 3 ชัวโมง และมักจะเป็ นพิธีกรคู่ คือพิธีกรชายคู่
                                                 ่
พิธีกรหญิงคู่ หรื อพิธีกรชายหญิงคู่
ผูปฏิบติงานเป็ นพิธีกรในบางครั้งจะต้องเดินทางไปบันทึก และถ่ายทาเทปโทรทัศน์ หรื อเก็บข้อมูล
  ้ ั
หรื อความคิดเห็นของประชาชนนอกสถานที่เพื่อใช้ประกอบรายการที่นาเสนอต่อผูชม     ้

คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
 1. สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี
2. สนใจ และรักการพูด และกล้าแสดงออก สามารถสื่ อสารให้ผชมเข้าใจได้
                                                                ู้
3. มีประกาศณี ยบัตรผูประกาศจากกรมประชาสัมพันธ์
                         ้
4. ต้องเป็ นผูที่ออกเสี ยงควบกล้ าในภาษาไทยชัดเจน มีน้ าเสี ยงน่าฟัง สุ ภาพ และมีลีลาในการ
              ้
นาเสนอ
5. ต้องมีรูปร่ างหน้าตา และบุคลิกลักษณะ ที่ค่อนข้างดี และโดดเด่น เพื่อดึงดูดความสนใจจากผูชม   ้
6. มีไหวพริ บ และปฏิภาณดี สามารถแก้ไขเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด
7. เป็ นผูมีความรู้รอบตัว และสนใจกระแสเหตุการณ์ของโลก เพื่อใช้ประโยชน์ในการดาเนิน
          ้
รายการ
8. มีคุณลักษณะในการทางานเป็ นทีมสู งมีมนุษยสัมพันธ์ มีระเบียบวินยในการทางาน
                                                                        ั
9. มีทศนคติที่ดี มีความเป็ นกลาง
        ั
10. คัดเลือกเชิ ญผูเ้ กี่ยวข้องกับประเด็นที่กาลังจะออกหรื อดาเนินรายการมาเป็ นแขกรับเชิญ
11. มีความอบอุ่น เปิ ดเผย ซื่ อสัตย์เป็ นกันเองต่อผูร่วมรายการ และผูชมรายการ
                                                    ้                 ้
ผูท่ีจะประกอบอาชีพนี้ ควรเตรี ยมความพร้อมดังต่อไปนี้ :
  ้
1. เป็ นผูสาเร็ จการศึกษาอย่างน้อยระดับอนุปริ ญญา ต้องฝึ กฝนการอ่านออกเสี ยงภาษาไทยให้
            ้
ชัดเจน ได้จงหวะ รวมทั้งมีความรู ้ทวไปและเป็ นผูที่มีความขยันหมันเพียรในการศึกษาหาความรู ้
                ั                     ั่              ้             ่
เพิ่มเติมเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความรู ้เรื่ องสิ ทธิ มนุษยชน ตลอดจนเรื่ องความมันคง
                                                                                            ่
ของชาติ
2. เป็ นผูได้รับการฝึ กอบรมจากสมาคมวิทยุ โทรทัศน์แห่งประเทศไทย และผ่านการสอบ
              ้
ประกาศนียบัตร ผูประกาศจากกรมประชาสัมพันธ์ โดยสมัครสอบด้วยตนเอง หรื อผ่าน
                      ้
สถาบันการศึกษาที่สังกัดอยู่

โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพ
ในกรณี ของพิธีกรจัดรายการเพลง หรื อวีเจ อาจได้รับการทาบทามให้เป็ นพิธีกรรายการ อื่นที่ไม่ซ้ า
กับการเป็ นพิธีกรรายการเดิมเป็ นดารา และอาจเป็ นผูประกาศข่าวบันเทิง ถ้าฝึ กฝนภาษาอังกฤษ
                                                  ้
เพิ่มเติมก็จะสามารถทางานกับสถานีโทรทัศน์ ในเครื อข่ายของต่างประเทศได้ ส่ วนพิธีกรจัด
รายการประเภทถามตอบ หรื อดาเนินรายการสาระทางเศรษฐกิจ หรื อการเมืองอาจใช้ประสบการณ์
ทาการวิเคราะห์สถานการณ์ และเขียนบทความลงหนังสื อพิมพ์ เพื่อเผยแพร่ ความรู ้ และมุมมอง
สาหรับ กลุ่มเป้ าหมายที่ไม่ชอบดูโทรทัศน์ได้ดวยพิธีกรทางโทรทัศน์ไม่ค่อยเปลี่ยนอาชีพมาก
                                            ้
           ้             ่
เท่าไหร่ ถาเปลี่ยนก็จะอยูในแวดวงอาชีพเดียวกัน เช่นเป็ นผูอานวยการผลิตรายการเองเป็ นเจ้าของ
                                                         ้
รายการ และมักเป็ นผูบริ หารสู งสุ ดของขององค์กรนั้น ๆ
                      ้
การเป็ นพิธีกรมืออาชีพ
พิธีกร (Master of Ceremony: MC)
คือ ผูดาเนินการในพิธีต่าง ๆ เป็ นบุคคลที่ทาหน้าที่ กากับ / นา / อานวยการ ให้กิจกรรม รายการหรื อ
      ้
พิธีการต่าง ๆ ดาเนินการไปให้แล้วเสร็ จ เรี ยบร้อยตามวัตถุประสงค์และกาหนดการที่วางไว้

หน้ าทีของพิธีกร
       ่
1. เป็ นผูให้ขอมูลแก่ผฟัง / ผูชม / ผูเ้ ข้าร่ วมพิธี โดยอย่างน้อยจะต้องมี ขบวนการดังต่อไปนี้ เช่น
            ้ ้              ู้    ้
ตามลาดับ ในแต่ละกิจกรรม
           1. แจ้งกาหนดการ
           2. แจ้งรายละเอียดของรายการ
           3. แนะนาผูพด ผูแสดง
                          ้ ู ้
           4. ผูดาเนินการอภิปรายและอื่น ๆ
                  ้
2. เป็ นผูเ้ ริ่ มกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการ เช่น
           1. กล่าวทักทาย ต้อนรับเชิ ญเข้าสู่ งาน
           2. เชิญเข้าสู่ พิธี ดาเนิ นรายการต่าง ๆ แล้วแต่กิจกรรม
           2. เชิญ เปิ ดงาน ‟ ปิ ดงาน
3. เป็ นผูเ้ ชื่ อมโยงกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการต่าง ๆ เช่น
           1. กล่าวเชื่อมโยงเหตุการณ์ตามลาดับ
           2. แจ้งให้ทราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกาหนดการ
           3. แจ้งขอความร่ วมมือ
           4. กล่าวเชื่อมโยงรายการให้ชวนติดตาม
           5. เป็ นผูส่งเสริ มจุดเด่นให้งานหรื อกิจกรรมและบุคคลสาคัญในงานพิธี / รายการโดยพิธีกร
                      ้
จะต้องเป็ นผูทาหน้าที่ในวาระที่เหมาะสม เช่น
                    ้
6. กล่าวยกย่องสรรเสริ ญ ชื่นชมบุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องในพิธี
          7. กล่าวถึงจุดเด่นของงานพิธีน้ น ๆ
                                         ั
          8. กล่าวแจ้งผลรางวัลและการมอบรางวัล
4. เป็ นผูที่สร้างสี สน บรรยากาศของงาน / พิธี / รายการ เช่น
            ้          ั
          1. ให้ขอมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติมเป็ นระยะ
                   ้
          2. มีมุขขาขึ้นเป็ นระยะ ๆ
5. เป็ นผูเ้ สริ มสร้างความสมานฉันท์ในงาน / กลุ่มผูร่วมงาน เช่น
                                                   ้
          1. กล่าวละลายพฤติกรรม
          2. กล่าวจูงใจให้รักสามัคคี
6. เป็ นผูเ้ ติมช่องว่างและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในงานพิธีต่าง ๆ เช่น
          1. กล่าวชี้แจงกรณี บุคคลสาคัญไม่สามารถมาช่วยงานพิธีต่าง ๆ ได้
          2. กล่าวทาความเข้าใจกรณี ตองเปลี่ยนแปลงกาหนดการ
                                       ้

โฆษกผู้ประกาศ
คือ ผูที่ทาหน้าที่ในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์กร กับประชาชน เพื่อให้ได้รับ
      ้
ความสนับสนุนร่ วมมือ
อันจะทาให้กิจการงานนั้น ๆ ประสบผลสาเร็ จ ได้ตามวัตถุประสงค์ ด้วยวิธีการที่แตกต่างในแต่ละ
กิจกรรม เช่น
            „ การบอกกล่าว
            „ การชี้แจง
            „ การเผยแพร่
            „ แก้ความเข้าใจผิด
            „ การสารวจประชามติ

     บทบาทการทาหน้าที่ของโฆษกผูประกาศ โดยการใช้เครื่ องมือด้านสื่ อต่าง ๆ เช่น เอกสาร สื่ อ
                                      ้
วิทยุโทรทัศน์ จัดเวทีประชาคม เดินสารวจประชามติ เป็ นกระบวนการประชาสัมพันธ์ ที่จะต้อง
ดาเนินการต่อไป เช่นกระบวนการจัดกิจกรรมโดยใช้เวทีประชาคม ผูที่จะต้องทาหน้าที่ ในการ
                                                                    ้
ควบคุม ดาเนิ นการให้ไปตามวัตถุประสงค์ในแต่ละครั้ง ผูที่เป็ นพิธีกรในการดาเนิ นการรายการ
                                                            ้
ดังกล่าว จะต้องมีความเข้าใจ ในกระบวนการ และรู ้หลักการวิธีการ ในการดาเนิ นการดังกล่าวนั้น ๆ
เป็ นภาระหน้าที่ของพิธีกรทั้งสิ้ น ฉะนั้นจาเป็ นที่จะต้อง ศึกษาบทบาทหน้าที่ของพิธีกรดังต่อไปนี้
พิธีกร
      คือ บุคลากรที่จะต้องพูดโดยใช้ความสามารถเฉพาะตนจากการฝึ กฝนและศึกษาเท่านั้น ไม่ใช้
สักแต่จะพูดอย่างเดียวไม่ มีความรู ้ความเข้าใจในกิจกรรมที่จะต้องรับผิดชอบในด้านการพูดใน
ตาแหน่งพิธีกร ฉะนั้น จะต้องมีการเตรี ยมตัวเตรี ยมใจก่อนจะเป็ นการเริ่ มต้นที่จะทาหน้าที่ในการ
เป็ นพิธีกรในกิจกรรมต่าง ๆ พิธีกรหรื อโฆษก อาจจะเป็ นบุคคลคนเดียวกันในกิจกรรมนั้น ๆ สร้าง
ความเข้าใจในข้อมูล ต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ต่อกิจกรรมต่าง ๆ ของข้อเท็จจริ ง ให้ทศนะ ในโอกาสที่
                                                                              ั
จะต้องปฏิบติในแต่ละสถานการณ์ ในแต่ละกิจกรรม พิธีกร จะถูกกล่าวถึงมากในกรณี ที่เป็ น
              ั
ทางการ ส่ วนโฆษกจะเป็ นคาที่เรี ยกใช้ในส่ วนที่ก่อนถึงเวลาดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ หรื อบางครั้งใน
ท้องถิ่นชนบทจะเรี ยกรวมกันเช่น
                                         ่
“ โฆษกพิธีกร ดาเนินการ ต่อไป ” ไม่วาจะเรี ยกว่าพิธีกรหรื อโฆษกในกิจกรรมนั้น ๆ จะต้องเป็ น
การพูดคุยในที่ชุมชน นันคือต่อคนส่ วนมากทุกครั้งเป็ นการพูดในที่ชุมชน ซึ่ งมีผเู ้ ข้าร่ วมจานวนมาก
                          ่
หากพูดผิดก็จะทาให้เสื่ อมเสี ยแก่ตนเองและองค์กร และถ้าหากทาดีพดดีก็จะมีสง่าราศีแก่ตนเอง
                                                                    ู
เช่นกัน ดังสุ ภาษิต ของสุ นทรภู่ที่วา่
“ ถึงบางพูดพูดดีเป็ นศรี ศกดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่ อยจิต แม้พดชัวตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดอยูท่ีพด
                            ั                             ู ่                                  ่ ู
ให้ถูกทาง ”
    ฉะนั้น คนที่เป็ นพิธีกรที่ดี มีความสามารถจะต้องมีการฝึ กฝนเรี ยนรู้ในหลักการ กลยุทธ์ในการ
พูดคุยต่าง ๆ ดังนี้ เช่น
„ เตรี ยมพร้อม
           „ ซ้อมดี
           „ ท่าทีสง่า
           „ หน้าตาสุ ขม     ุ
           „ ทักที่ประชุมอย่าวกวน
           „ เริ่ มต้นให้โน้มน้าว
           „ เรื่ องราวให้กระชับ
           „ จับตาที่ผฟัง
                        ู้
           „ เสี ยงดังให้พอดี
           „ อย่าให้มีอออ้า้
           „ ยิมแย้มแจ่มใสตลอดเวลา
               ้

      บุคคลที่จะทาหน้าที่ดงกล่าวจะต้องมีการเตรี ยมความพร้อมและเตรี ยมตัวในการทาหน้าที่ จะมี
                          ั
2 กลุ่มคือ

        1. รู ้ตวก่อนและจะต้องเตรี ยมตัว
                ั
        2. ไม่รู้มาก่อน จะต้องไปใช้ปฏิภาณ ไหวพริ บทุกคนทาได้

 การเตรียมตัวในการทาหน้ าทีพธีกร หรือโฆษก ผู้ประกาศ
                           ่ ิ
พิธีกรหรื อโฆษก จะต้องมีการเตรี ยมตัวในการทาหน้าที่ ดังนี้
           1. ศึกษาข้อมูล / วิเคราะห์สถานการณ์ ผูนา ผูชม โอกาส วัตถุประสงค์ของงานพิธี รายการ
                                                     ้ ้
ที่กาหนดไว้ เพื่อทราบความมุ่งหมายของการทาหน้าที่
           2. เตรี ยมเนื้ อหาและคาพูด เริ่ มต้นอย่างไร ? มุขตลก ขาขัน แทรกอย่างไร คาคม ลูกเล่น
จุดเด่นที่ควรกล่าวถึง ต้องเตรี ยมค้นคว้าศึกษาจากศูนย์ขอมูลมาให้พร้อม
                                                           ้
           3. ตรวจสอบความเหมาะสม ของบทความที่เตรี ยมมาว่าเหมาะสมกับเวลาหรื อไม่
                                     ่
           4. ต้องมีการฝึ กซ้อมไม่วาจะซ้อมหลอกหรื อซ้อมจริ ง ต้องมีการฝึ กซ้อม
           5. ศึกษาสถานที่จดงานหรื อพิธีที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
                                ั
           6. เตรี ยมเสื้ อผ้าและชุดการแต่งกาย อย่างเหมาะสมกับกิจกรรม พร้อมดูแลตั้งแต่ หัวจรด
เท้า
ข้ อควรปฏิบัติในการทาหน้ าทีพธีกร หรือโฆษก
                                                   ่ ิ

ข้อควรปฏิบติในการทาหน้าที่ของพิธีกรหรื อโฆษก มีดงนี้
          ั                                     ั
        „ ทาจิตให้แจ่มใส
        „ ไปถึงก่อนเวลา
        „ อุ่นเครื่ องแก้ประหม่า
        „ ทาหน้าที่สุดฝี มือ
        „ เลื่องลือผลงาน

 ข้ อพึงระวัง สาหรับการทาหน้ าทีเ่ ป็ นพิธีกร
          „   ต้องดูดีมีบุคลิก
          „   ต้องรักษาเวลาอย่างเคร่ งเครี ยด
          „   ต้องแสดงออกอย่างสุ ภาพและให้เกียรติ ร่ าเริ งแจ่มใส ให้ความเป็ นกันเอง
          „   ต้องมีการประสานงานด้านข้อมูล และพร้อมเผชิญปั ญหาโดยไม่หงุดหงิด
          „   ต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องชัดเจนให้ชวนฟัง น่าติดตาม
          „   ต้องเสริ มจุดเด่นของคนอื่นไม่ใช่ของตนเอง
          „   สร้างความประทับใจ ด้านสุ ภาษิต หรื อคาคม
บรรณานุกรม

- สานักงานคณะกรรมการมาตรฐาน การบริ หารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่น. “การเป็ นพิธีกรมืออาชีพ.”
พิธีกร (Master of Ceremony: MC). 22 ก.ค. 2011.
http://www.local.moi.go.th/piteekon.html 28 ก.ค. 2554.
- “แนะแนวอาชีพ.” พิธีกร-ผูดาเนินรายการ-Host-Master-of-Ceremony-Moderator.
                          ้
24 ก.ค. 2011. http://www.xn--72c0baa2eyce3a4p.com 28 ก.ค. 2554.

More Related Content

Similar to อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร

ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cedric Jakkapat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Cedric Jakkapat
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Ford Rpj
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1AseansTradition55
 
Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Oat&Nile .
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกรSamorn Tara
 
นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4Aum Forfang
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์ต. เตอร์
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอWichit Chawaha
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทAoy Amm Mee
 

Similar to อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร (20)

ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
 
Work32 27-28
Work32 27-28Work32 27-28
Work32 27-28
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
 
ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4
 
Work1m34 08-22
Work1m34 08-22Work1m34 08-22
Work1m34 08-22
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
 
Ic
IcIc
Ic
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร

  • 1. อาชีพผู้ประกาศข่ าวกีฬา พิธีกร นิยามอาชีพ ผูปฏิบติงานอาชีพนี้ ทาหน้าที่ดาเนินรายการโทรทัศน์ หรื อรายการบนเวทีการแสดง โดยประกาศ ้ ั อธิ บาย แนะนารายการ และหรื อบุคคล หรื อสิ่ งที่น่าสนใจต่อท่านผูชม ซักถามผูเ้ ข้าร่ วมรายการ ให้ ้ ตอบคาถามข้อปั ญหา เรื่ องที่น่าสนใจโดยเป็ นผูจดเตรี ยมรายการด้วยตนเอง หรื อโดยมีผร่วมทีมเป็ น ้ั ู้ ผูดาเนิ นการ และพยายามดาเนินรายการให้ผชมได้รับความรู ้เรื่ องที่น่าสนใจและความบันเทิงตาม ้ ู้ นโยบาย ลักษณะของงานทีทา ่ 1. ศึกษานโยบาย และวัตถุประสงค์ของสถานีโทรทัศน์ บุคคล หรื อองค์กรที่มอบหมายให้ ดาเนินการเพื่อให้บรรลุผลสาเร็ จตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของเจ้าของรายการ 2. จัดเตรี ยมทาข้อมูล จัดทาบทพูด หรื อบทสนทนาให้เหมาะสมกับรายการที่จดขึ้น โดยมุ่งให้เป็ นที่ ั พอใจของเจ้าของรายการสถานีโทรทัศน์ และผูชมรายการ โดยอาจดาเนินรายการเพียงลาพังผูเ้ ดียว ้ หรื อทางานเป็ นทีม 3. อ่านประกาศ ท่องจาสคริ ปต์เพื่อเตรี ยมออกรายการโดยไม่ให้เกิดความผิดพลาด 4. ถ่ายทอดข้อมูลเรื่ องราวต่างๆ และสื่ อความหมายด้วยภาษาไทย หรื อภาษาต่างประเทศที่ถูกต้อง และชัดเจน 5. ดาเนินรายการโดยการเสนอความรู ้ สารคดี และเรื่ องที่น่าสนใจของรายการ ตั้งคาถาม และข้อ ปั ญหาเพื่อให้ผร่วมรายการตอบร่ วมการสนทนาหรื อร่ วมทากิจกรรมที่จดขึ้นพยายามเชื่อมโยง ู้ ั รายการให้ราบรื่ น และไม่ติดขัด 6. ช่วยเหลือผูเ้ ข้าร่ วมรายการเมื่อมีขอขัดข้องเกิดขึ้นในขณะดาเนินรายการ ้ 7. อาจอ่านประกาศโฆษณาผูสนับสนุนรายการ ้
  • 2. 8. อาจจัดเตรี ยมสถานที่โดยการออกแบบและตกแต่งให้เหมาะสมกับรายการ 9. อาจจัดหาอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดาเนินรายการ สรรหาตัวบุคคลที่มาแสดงร่ วมรายการ อาจ นาเสนอภาพประกอบการบรรยายเป็ นวิดีโอภาพยนตร์ หรื อภาพนิ่ง แผนภูมิ ฯลฯ ตามความ เหมาะสมกับรายการ 10. อาจเช่ารายการ และหาค่าโฆษณามาเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนินรายการ 11. เป็ นงานที่ตองสื่ อสารกับผูชมในห้องส่ ง และผูชมทางบ้าน ้ ้ ้ สภาพการทางาน พิธีกรจะทางานในช่วงกาหนดเวลาหนึ่งๆ ตามผังรายการของสถานีโทรทัศน์ในห้องส่ งของสถานี โทรทัศน์ หรื อนอกสถานที่เพื่อการแสดงสดหรื อมีถ่ายทอดสด หรื อบันทึกเทปโทรทัศน์เพื่อนาออก รายการในช่วงเวลาที่กาหนดไว้ ต้องอยูท่ามกลางแสงสว่างมากจากแสงไฟในห้องส่ ง อาจใช้เวลา ่ มากในการ ถ่ายทา และต้องถ่ายซ้ าหลายครั้ง เมื่อเกิดข้อผิดพลาดในบทพูด หรื อคิวการแสดงอาจ เป็ นพิธีกรที่ดาเนินรายการคนเดียวหรื อมากกว่าหนึ่งคน แต่ส่วนมากไม่เกิน 3 คน พิธีกร แบ่งเป็ น ประเภทตามรายการที่เสนอให้กลุ่มผูชมได้เลือกบริ โภค คือจัดตามเนื้ อหา และความเหมาะสมของ ้ พิธีกรกับรายการ เช่น พิธีกรจัดรายการเพลง พิธีกรรายการสาระคดีน่ารู ้ในประเทศ หรื อต่างประเทศ พิธีกรรายการข่าวสารบ้านเมือง พิธีกรรายการเกมส์โชว์ พิธีกรรายการทาอาหาร พิธีกรรายการนา เที่ยว พิธีกรคอลัมน์ผหญิง พิธีกรรายการ สุ ขภาพ พิธีกรรายการเกษตรเพื่อชุมชน พิธีกรแนะนาการ ู้ ประกอบอาชีพ หรื อการทามาหากิน เป็ นต้น อีกประเภทหนึ่ง คือ การดาเนินรายการเป็ นพิธีกรบนเวทีซ่ ึงจะต้องดาเนินรายการสดที่ตอง ใช้ ้ ความสามารถเฉพาะตัว และใช้ไหวพริ บในการแก้ไขปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นได้โดยไม่คาดคิด พิธีกรที่ จัดรายการบนเวทีจะใช้เวลาทางานประมาณ 2 - 3 ชัวโมง และมักจะเป็ นพิธีกรคู่ คือพิธีกรชายคู่ ่ พิธีกรหญิงคู่ หรื อพิธีกรชายหญิงคู่ ผูปฏิบติงานเป็ นพิธีกรในบางครั้งจะต้องเดินทางไปบันทึก และถ่ายทาเทปโทรทัศน์ หรื อเก็บข้อมูล ้ ั หรื อความคิดเห็นของประชาชนนอกสถานที่เพื่อใช้ประกอบรายการที่นาเสนอต่อผูชม ้ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี 2. สนใจ และรักการพูด และกล้าแสดงออก สามารถสื่ อสารให้ผชมเข้าใจได้ ู้ 3. มีประกาศณี ยบัตรผูประกาศจากกรมประชาสัมพันธ์ ้ 4. ต้องเป็ นผูที่ออกเสี ยงควบกล้ าในภาษาไทยชัดเจน มีน้ าเสี ยงน่าฟัง สุ ภาพ และมีลีลาในการ ้ นาเสนอ
  • 3. 5. ต้องมีรูปร่ างหน้าตา และบุคลิกลักษณะ ที่ค่อนข้างดี และโดดเด่น เพื่อดึงดูดความสนใจจากผูชม ้ 6. มีไหวพริ บ และปฏิภาณดี สามารถแก้ไขเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด 7. เป็ นผูมีความรู้รอบตัว และสนใจกระแสเหตุการณ์ของโลก เพื่อใช้ประโยชน์ในการดาเนิน ้ รายการ 8. มีคุณลักษณะในการทางานเป็ นทีมสู งมีมนุษยสัมพันธ์ มีระเบียบวินยในการทางาน ั 9. มีทศนคติที่ดี มีความเป็ นกลาง ั 10. คัดเลือกเชิ ญผูเ้ กี่ยวข้องกับประเด็นที่กาลังจะออกหรื อดาเนินรายการมาเป็ นแขกรับเชิญ 11. มีความอบอุ่น เปิ ดเผย ซื่ อสัตย์เป็ นกันเองต่อผูร่วมรายการ และผูชมรายการ ้ ้ ผูท่ีจะประกอบอาชีพนี้ ควรเตรี ยมความพร้อมดังต่อไปนี้ : ้ 1. เป็ นผูสาเร็ จการศึกษาอย่างน้อยระดับอนุปริ ญญา ต้องฝึ กฝนการอ่านออกเสี ยงภาษาไทยให้ ้ ชัดเจน ได้จงหวะ รวมทั้งมีความรู ้ทวไปและเป็ นผูที่มีความขยันหมันเพียรในการศึกษาหาความรู ้ ั ั่ ้ ่ เพิ่มเติมเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความรู ้เรื่ องสิ ทธิ มนุษยชน ตลอดจนเรื่ องความมันคง ่ ของชาติ 2. เป็ นผูได้รับการฝึ กอบรมจากสมาคมวิทยุ โทรทัศน์แห่งประเทศไทย และผ่านการสอบ ้ ประกาศนียบัตร ผูประกาศจากกรมประชาสัมพันธ์ โดยสมัครสอบด้วยตนเอง หรื อผ่าน ้ สถาบันการศึกษาที่สังกัดอยู่ โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพ ในกรณี ของพิธีกรจัดรายการเพลง หรื อวีเจ อาจได้รับการทาบทามให้เป็ นพิธีกรรายการ อื่นที่ไม่ซ้ า กับการเป็ นพิธีกรรายการเดิมเป็ นดารา และอาจเป็ นผูประกาศข่าวบันเทิง ถ้าฝึ กฝนภาษาอังกฤษ ้ เพิ่มเติมก็จะสามารถทางานกับสถานีโทรทัศน์ ในเครื อข่ายของต่างประเทศได้ ส่ วนพิธีกรจัด รายการประเภทถามตอบ หรื อดาเนินรายการสาระทางเศรษฐกิจ หรื อการเมืองอาจใช้ประสบการณ์ ทาการวิเคราะห์สถานการณ์ และเขียนบทความลงหนังสื อพิมพ์ เพื่อเผยแพร่ ความรู ้ และมุมมอง สาหรับ กลุ่มเป้ าหมายที่ไม่ชอบดูโทรทัศน์ได้ดวยพิธีกรทางโทรทัศน์ไม่ค่อยเปลี่ยนอาชีพมาก ้ ้ ่ เท่าไหร่ ถาเปลี่ยนก็จะอยูในแวดวงอาชีพเดียวกัน เช่นเป็ นผูอานวยการผลิตรายการเองเป็ นเจ้าของ ้ รายการ และมักเป็ นผูบริ หารสู งสุ ดของขององค์กรนั้น ๆ ้
  • 4. การเป็ นพิธีกรมืออาชีพ พิธีกร (Master of Ceremony: MC) คือ ผูดาเนินการในพิธีต่าง ๆ เป็ นบุคคลที่ทาหน้าที่ กากับ / นา / อานวยการ ให้กิจกรรม รายการหรื อ ้ พิธีการต่าง ๆ ดาเนินการไปให้แล้วเสร็ จ เรี ยบร้อยตามวัตถุประสงค์และกาหนดการที่วางไว้ หน้ าทีของพิธีกร ่ 1. เป็ นผูให้ขอมูลแก่ผฟัง / ผูชม / ผูเ้ ข้าร่ วมพิธี โดยอย่างน้อยจะต้องมี ขบวนการดังต่อไปนี้ เช่น ้ ้ ู้ ้ ตามลาดับ ในแต่ละกิจกรรม 1. แจ้งกาหนดการ 2. แจ้งรายละเอียดของรายการ 3. แนะนาผูพด ผูแสดง ้ ู ้ 4. ผูดาเนินการอภิปรายและอื่น ๆ ้ 2. เป็ นผูเ้ ริ่ มกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการ เช่น 1. กล่าวทักทาย ต้อนรับเชิ ญเข้าสู่ งาน 2. เชิญเข้าสู่ พิธี ดาเนิ นรายการต่าง ๆ แล้วแต่กิจกรรม 2. เชิญ เปิ ดงาน ‟ ปิ ดงาน 3. เป็ นผูเ้ ชื่ อมโยงกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการต่าง ๆ เช่น 1. กล่าวเชื่อมโยงเหตุการณ์ตามลาดับ 2. แจ้งให้ทราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกาหนดการ 3. แจ้งขอความร่ วมมือ 4. กล่าวเชื่อมโยงรายการให้ชวนติดตาม 5. เป็ นผูส่งเสริ มจุดเด่นให้งานหรื อกิจกรรมและบุคคลสาคัญในงานพิธี / รายการโดยพิธีกร ้ จะต้องเป็ นผูทาหน้าที่ในวาระที่เหมาะสม เช่น ้
  • 5. 6. กล่าวยกย่องสรรเสริ ญ ชื่นชมบุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องในพิธี 7. กล่าวถึงจุดเด่นของงานพิธีน้ น ๆ ั 8. กล่าวแจ้งผลรางวัลและการมอบรางวัล 4. เป็ นผูที่สร้างสี สน บรรยากาศของงาน / พิธี / รายการ เช่น ้ ั 1. ให้ขอมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติมเป็ นระยะ ้ 2. มีมุขขาขึ้นเป็ นระยะ ๆ 5. เป็ นผูเ้ สริ มสร้างความสมานฉันท์ในงาน / กลุ่มผูร่วมงาน เช่น ้ 1. กล่าวละลายพฤติกรรม 2. กล่าวจูงใจให้รักสามัคคี 6. เป็ นผูเ้ ติมช่องว่างและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในงานพิธีต่าง ๆ เช่น 1. กล่าวชี้แจงกรณี บุคคลสาคัญไม่สามารถมาช่วยงานพิธีต่าง ๆ ได้ 2. กล่าวทาความเข้าใจกรณี ตองเปลี่ยนแปลงกาหนดการ ้ โฆษกผู้ประกาศ คือ ผูที่ทาหน้าที่ในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์กร กับประชาชน เพื่อให้ได้รับ ้ ความสนับสนุนร่ วมมือ อันจะทาให้กิจการงานนั้น ๆ ประสบผลสาเร็ จ ได้ตามวัตถุประสงค์ ด้วยวิธีการที่แตกต่างในแต่ละ กิจกรรม เช่น „ การบอกกล่าว „ การชี้แจง „ การเผยแพร่ „ แก้ความเข้าใจผิด „ การสารวจประชามติ บทบาทการทาหน้าที่ของโฆษกผูประกาศ โดยการใช้เครื่ องมือด้านสื่ อต่าง ๆ เช่น เอกสาร สื่ อ ้ วิทยุโทรทัศน์ จัดเวทีประชาคม เดินสารวจประชามติ เป็ นกระบวนการประชาสัมพันธ์ ที่จะต้อง ดาเนินการต่อไป เช่นกระบวนการจัดกิจกรรมโดยใช้เวทีประชาคม ผูที่จะต้องทาหน้าที่ ในการ ้ ควบคุม ดาเนิ นการให้ไปตามวัตถุประสงค์ในแต่ละครั้ง ผูที่เป็ นพิธีกรในการดาเนิ นการรายการ ้ ดังกล่าว จะต้องมีความเข้าใจ ในกระบวนการ และรู ้หลักการวิธีการ ในการดาเนิ นการดังกล่าวนั้น ๆ เป็ นภาระหน้าที่ของพิธีกรทั้งสิ้ น ฉะนั้นจาเป็ นที่จะต้อง ศึกษาบทบาทหน้าที่ของพิธีกรดังต่อไปนี้
  • 6. พิธีกร คือ บุคลากรที่จะต้องพูดโดยใช้ความสามารถเฉพาะตนจากการฝึ กฝนและศึกษาเท่านั้น ไม่ใช้ สักแต่จะพูดอย่างเดียวไม่ มีความรู ้ความเข้าใจในกิจกรรมที่จะต้องรับผิดชอบในด้านการพูดใน ตาแหน่งพิธีกร ฉะนั้น จะต้องมีการเตรี ยมตัวเตรี ยมใจก่อนจะเป็ นการเริ่ มต้นที่จะทาหน้าที่ในการ เป็ นพิธีกรในกิจกรรมต่าง ๆ พิธีกรหรื อโฆษก อาจจะเป็ นบุคคลคนเดียวกันในกิจกรรมนั้น ๆ สร้าง ความเข้าใจในข้อมูล ต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ต่อกิจกรรมต่าง ๆ ของข้อเท็จจริ ง ให้ทศนะ ในโอกาสที่ ั จะต้องปฏิบติในแต่ละสถานการณ์ ในแต่ละกิจกรรม พิธีกร จะถูกกล่าวถึงมากในกรณี ที่เป็ น ั ทางการ ส่ วนโฆษกจะเป็ นคาที่เรี ยกใช้ในส่ วนที่ก่อนถึงเวลาดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ หรื อบางครั้งใน ท้องถิ่นชนบทจะเรี ยกรวมกันเช่น ่ “ โฆษกพิธีกร ดาเนินการ ต่อไป ” ไม่วาจะเรี ยกว่าพิธีกรหรื อโฆษกในกิจกรรมนั้น ๆ จะต้องเป็ น การพูดคุยในที่ชุมชน นันคือต่อคนส่ วนมากทุกครั้งเป็ นการพูดในที่ชุมชน ซึ่ งมีผเู ้ ข้าร่ วมจานวนมาก ่ หากพูดผิดก็จะทาให้เสื่ อมเสี ยแก่ตนเองและองค์กร และถ้าหากทาดีพดดีก็จะมีสง่าราศีแก่ตนเอง ู เช่นกัน ดังสุ ภาษิต ของสุ นทรภู่ที่วา่ “ ถึงบางพูดพูดดีเป็ นศรี ศกดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่ อยจิต แม้พดชัวตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดอยูท่ีพด ั ู ่ ่ ู ให้ถูกทาง ” ฉะนั้น คนที่เป็ นพิธีกรที่ดี มีความสามารถจะต้องมีการฝึ กฝนเรี ยนรู้ในหลักการ กลยุทธ์ในการ พูดคุยต่าง ๆ ดังนี้ เช่น
  • 7. „ เตรี ยมพร้อม „ ซ้อมดี „ ท่าทีสง่า „ หน้าตาสุ ขม ุ „ ทักที่ประชุมอย่าวกวน „ เริ่ มต้นให้โน้มน้าว „ เรื่ องราวให้กระชับ „ จับตาที่ผฟัง ู้ „ เสี ยงดังให้พอดี „ อย่าให้มีอออ้า้ „ ยิมแย้มแจ่มใสตลอดเวลา ้ บุคคลที่จะทาหน้าที่ดงกล่าวจะต้องมีการเตรี ยมความพร้อมและเตรี ยมตัวในการทาหน้าที่ จะมี ั 2 กลุ่มคือ 1. รู ้ตวก่อนและจะต้องเตรี ยมตัว ั 2. ไม่รู้มาก่อน จะต้องไปใช้ปฏิภาณ ไหวพริ บทุกคนทาได้ การเตรียมตัวในการทาหน้ าทีพธีกร หรือโฆษก ผู้ประกาศ ่ ิ พิธีกรหรื อโฆษก จะต้องมีการเตรี ยมตัวในการทาหน้าที่ ดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูล / วิเคราะห์สถานการณ์ ผูนา ผูชม โอกาส วัตถุประสงค์ของงานพิธี รายการ ้ ้ ที่กาหนดไว้ เพื่อทราบความมุ่งหมายของการทาหน้าที่ 2. เตรี ยมเนื้ อหาและคาพูด เริ่ มต้นอย่างไร ? มุขตลก ขาขัน แทรกอย่างไร คาคม ลูกเล่น จุดเด่นที่ควรกล่าวถึง ต้องเตรี ยมค้นคว้าศึกษาจากศูนย์ขอมูลมาให้พร้อม ้ 3. ตรวจสอบความเหมาะสม ของบทความที่เตรี ยมมาว่าเหมาะสมกับเวลาหรื อไม่ ่ 4. ต้องมีการฝึ กซ้อมไม่วาจะซ้อมหลอกหรื อซ้อมจริ ง ต้องมีการฝึ กซ้อม 5. ศึกษาสถานที่จดงานหรื อพิธีที่กาหนดไว้ล่วงหน้า ั 6. เตรี ยมเสื้ อผ้าและชุดการแต่งกาย อย่างเหมาะสมกับกิจกรรม พร้อมดูแลตั้งแต่ หัวจรด เท้า
  • 8. ข้ อควรปฏิบัติในการทาหน้ าทีพธีกร หรือโฆษก ่ ิ ข้อควรปฏิบติในการทาหน้าที่ของพิธีกรหรื อโฆษก มีดงนี้ ั ั „ ทาจิตให้แจ่มใส „ ไปถึงก่อนเวลา „ อุ่นเครื่ องแก้ประหม่า „ ทาหน้าที่สุดฝี มือ „ เลื่องลือผลงาน ข้ อพึงระวัง สาหรับการทาหน้ าทีเ่ ป็ นพิธีกร „ ต้องดูดีมีบุคลิก „ ต้องรักษาเวลาอย่างเคร่ งเครี ยด „ ต้องแสดงออกอย่างสุ ภาพและให้เกียรติ ร่ าเริ งแจ่มใส ให้ความเป็ นกันเอง „ ต้องมีการประสานงานด้านข้อมูล และพร้อมเผชิญปั ญหาโดยไม่หงุดหงิด „ ต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องชัดเจนให้ชวนฟัง น่าติดตาม „ ต้องเสริ มจุดเด่นของคนอื่นไม่ใช่ของตนเอง „ สร้างความประทับใจ ด้านสุ ภาษิต หรื อคาคม
  • 9. บรรณานุกรม - สานักงานคณะกรรมการมาตรฐาน การบริ หารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่น. “การเป็ นพิธีกรมืออาชีพ.” พิธีกร (Master of Ceremony: MC). 22 ก.ค. 2011. http://www.local.moi.go.th/piteekon.html 28 ก.ค. 2554. - “แนะแนวอาชีพ.” พิธีกร-ผูดาเนินรายการ-Host-Master-of-Ceremony-Moderator. ้ 24 ก.ค. 2011. http://www.xn--72c0baa2eyce3a4p.com 28 ก.ค. 2554.