SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
สื่อการเรียนรู้
ประเพณีและวัฒนธรรม
ชื่อโครงงาน สื่ อเพื่อการศึกษาประเพณี และวัฒนธรรมชียงใหม่
ชื่อโครงงาน culture of chiangmai
ประเภทโครงงาน สื่ อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.กานต์ชนิต สุ ตาคํา เลขที่ 1
น.ส.กนกพร จันทร์พลอย เลขที่ 3
ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 4 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปั จจุบนนี้มีความก้าวหน้าในเรื่ องเทคโนโลยีมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน
ั
่
และทําให้คนขยายเป็ นวงกว้างมากขึ้น และคนเข้ามาอยูในเมืองมากกว่า
ที่ชนบททําให้วฒนธรรมประเพณี เก่า ๆ หายไปและมีวฒนธรรมใหม่ๆ
ั
ั
เข้ามาทดแทนบางวัฒนธรรมก็นามาจากต่างชาติ ทําให้วฒนธรรม
ํ
ั
ประเพณี ของไทยในสมัยนี้หายไป วัยรุ่ นในสมัยนี้ลืมเลือนวัฒนธรรม
ประเพณี ที่มีสืบทอดมาตั้งแต่กาลก่อน
วัตถุประสงค์
1.สร้างสื่ อการเรี ยนรู ้เพื่อการศึกษาวัฒนธรรมและประเพณี ของเชียงใหม่
2.เพื่อให้คนเชียงใหม่อนุรักษ์สืบทอดวัฒนธรรมและประเพณี ของเชียงใหม่
ขอบเขตของโครงงาน
1.เพื่อให้คนที่สนใจและวัยรุ่ นสมัยนี้หนมาให้ความสําคัญ และเรี ยนรู ้
ั
วัฒนธรรมในสมัยก่อนเพื่อไม่ให้หายไป
2.เพื่ออนุรักษ์และสื บทอดวัฒนธรรมที่ดีงามต่อไป
3.เพื่อสร้างสรรค์ให้ประเพณี และวัฒนธรรม เกิดความสําคัญต่อท้องถิ่น
มากยิงขึ้น
่
หลักการและทฤษฎี
เชียงใหม่ข้ ึนชื่อว่าเป็ นเมืองที่มีประเพณี และวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่น
งดงามมากที่สุดแห่งหนึ่ง รวมทั้งมีความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะด้วย ที่เป็ นเช่นนี้ สื บ
เนื่องมาจากการที่เมืองเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อนยาวนาน ซํ้ายังเคยเป็ นราชธานี
ั
และเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องในทุกด้านของอาณาจักรล้านนา จึงทําให้
เชียงใหม่รับเอาวัฒนธรรมจากต่างถิ่นเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมของ
ตน รวมทั้งยังได้รับวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาเข้ามาอีกทอดด้วย จึงทําให้
เชียงใหม่มีการผสมผสานหล่อหลอมวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่กลายมาเป็ นวัฒนธรรม
อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตน
“ดอยสุ เทพเป็ นศรี
ประเพณี เป็ นสง่า
บุปผชาติลวนงามตา
้
นามลํ้าค่านครพิงค์”
คําขวัญนี้เป็ นคําขวัญประจําจังหวัดเชียงใหม่ที่สะท้อนให้เห็นถึงความงดงาม
ความเด่นสง่า ความลํ้าค่าและความเลื่องลือในหลายๆด้าน และหนึ่งในนั้นคือ ความ
งดงามทางด้านประเพณี และวัฒนธรรม ดอยสุ เทพขึ้นชื่อว่าเป็ นสัญลักษณ์ของ
จังหวัดเชียงใหม่ ถึงกับมีคาพูดที่หลายคนมักพูดกันจนติดปากว่า ใครก็ตามที่
ํ
เดินทางมาจังหวัดเชียงใหม่ หากไม่ได้แวะขึ้นไปบนดอยสุ เทพ ก็เท่ากับว่ายัง
เดินทางมาไม่ถึงจังหวัดเชียงใหม่ ความงดงามของดอยสุ เทพอันเป็ นที่ต้ งของวัด
ั
พระธาตุดอยสุ เทพนี้ นับว่าเป็ นจุดที่ดึงดูดสายตาของผูคนที่เดินทางมายังจังหวัด
้
เชียงใหม่ให้ไปเที่ยวชม เพราะหากมองจากบริ เวณด้านล่างขึ้นไปบนดอยสุ เทพ จะ
่
พบเห็นพระธาตุสีทองเด่นสง่าตั้งตระหง่านอยูบนดอยสุ เทพ ชวนให้เกิดความ
ศรัทธาและน่าเข้าไปกราบนมัสการเป็ นอย่างมาก นอกจากนั้นบนดอยสุ เทพยังมี
ความสวยสดงดงามด้านบุปผชาตินานาพันธุ์ให้ชื่นชมอีกมากมาย ดังนั้นการขึ้นไป
บนดอยสุ เทพจึงไม่ทาให้ผที่ข้ ึนไปเที่ยวชมนั้นผิดหวัง
ํ ู้
ประวัติความเป็ นมาพอสั งเขป
เชียงใหม่เป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์อนยาวนาน เคยเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ ง
ั
เรื่ องของอาณาจักรล้านนาซึ่ งแผ่อิทธิผลปกคลุมทางตอนเหนือของประเทศไทย พญามัง
รายทรงเป็ นปฐมกษัตริ ยแห่ งอาณาจักรล้านนา ทรงย้ายเมืองราชธานีจากเดิมคือเมืองเชียง
์
แสนมาที่เมืองเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.1839 เพราะทรงเห็นว่าเมืองเชียงใหม่มีทาเลที่ต้ ง
ํ
ั
เหมาะสม มีทรัพยากรทางธรรมชาติอนมังคัง และมีแหล่งนํ้าที่อุดมสมบูรณ์ อันได้แก่ แม่
ั ่ ่
่
นํ้าปิ ง ซึ่ งถือได้วาเป็ นสายโลหิ ตของผูคนในอาณาจักร
้
เมื่อทรงย้ายราชธานีมาที่เชียงใหม่ ได้ทรงสถาปนาชื่อเมืองว่า “นพบุรีศรี นคร
พิงค์ เชียงใหม่ ” นับแต่น้ น เมืองเชียงใหม่ได้กลายมาเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องแห่ ง
ั
อาณาจักรล้านนาแทนที่เมืองเชียงแสนอันเป็ นราชธานีเดิม พญามังรายได้พฒนาเมือง
ั
เชียงใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งยังได้ทรงก่อสร้างวัดวาอารามขึ้นหลายแห่ งมีวดเชียงมัน เป็ น
ั
่
ต้น รวมทั้งได้มีการตรากฎหมายที่เรี ยกว่า “มังรายศาสตร์ ” ขึ้นใช้ภายในอาณาจักรอีกด้วย
ประวัติความเป็ นมาพอสั งเขป
เมื่อพระองค์สวรรคต เชื้อพระวงศ์ที่ทรงสื บทอดราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์ได้
สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันปกครอง บริ หาร พัฒนาบ้านเมืองพระองค์แล้วพระองค์เล่าตามลําดับอยู่
เรื่ อยๆ ทําให้บานเมืองเจริ ญรุ่ งเรื่ องอย่างมาก โดยเฉพาะในด้านพระพุทธศาสนานั้น มีการจัดทํา
้
สังคายนาขึ้น ใน พ.ศ.2020 ตรงกับราชสมัยของพระเจ้าติโลกราช กษัตริ ยองค์ที่ 9 แห่ง
์
อาณาจักรล้านนา พระองค์ทรงอุปถัมภ์การจัดทําสังคายนาในครั้งนี้ การทําสังคายนาในครั้งนี้
่
นั้น ถือได้วาเป็ นการทําสังคายนาครั้งที่ 9 ของโลก และเป็ นครั้งแรกที่ทาในดินแดนสยาม ต่อมา
ํ
ไม่นานอาณาจักรล้านนา ก็เข้าสู่ ยคเสื่ อม เพราะถูกรุ กรานจากอาณาจักรอื่นๆ มี อาณาจักร
ุ
สุ โขทัย เป็ นต้น และต่อมาอาณาจักรล้านนาก็สูญเสี ยเอกราชและถูกผนวกเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของ
อาณาจักรสุ โขทัยในที่สุด
ตลอดระยะที่เชียงใหม่เป็ นราชธานีและเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักร
ล้านนานั้น เมืองเชียงใหม่ได้ถูกพัฒนาจากผูปกครองบ้านเมืองให้เป็ นเมืองที่อุดมสมบูรณ์และ
้
เจริ ญรุ่ งเรื องในหลายๆด้าน อาทิ ด้านศาสนา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และวัฒนธรรม เป็ นต้น ความเจริ ญรุ่ งเรื องดังกล่าวได้รับการสื บทอดกันมาอย่าง
ต่อเนื่องจนกระทังถึงปัจจุบน
ั
่
ความงดงามด้ านประเพณีและวัฒนธรรม
เชียงใหม่ข้ ึนชื่อว่าเป็ นเมืองที่มีประเพณี และวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่น
งดงามมากที่สุดแห่งหนึ่ง รวมทั้งมีความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะด้วย ที่เป็ นเช่นนี้ สื บ
เนื่องมาจากการที่เมืองเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อนยาวนาน ซํ้ายังเคยเป็ นราชธานี
ั
และเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องในทุกด้านของอาณาจักรล้านนา จึงทําให้
เชียงใหม่รับเอาวัฒนธรรมจากต่างถิ่นเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมของ
ตน รวมทั้งยังได้รับวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาเข้ามาอีกทอดด้วย จึงทําให้
เชียงใหม่มีการผสมผสานหล่อหลอมวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่กลายมาเป็ นวัฒนธรรม
อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตน
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณี สงกรานต์เป็ นงานที่ยงใหญ่ของชาวล้านนา เนื่องจากเป็ นช่วงเวลาเปลี่ยนศักราชใหม่
ิ่
และขอสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลาย ให้ปัดเป่ าทุกข์โศกโรคภัยให้ล่วงไปในปี เก่า พร้อมทั้ง เตรี ยม
ร่ างกายและจิตใจให้สดใสรับปี ใหม่ โดยจะเริ่ มจัดขึ้น ตั้งแต่วนที่ 13 ถึงวันที่ 18 เม.ย. ของทุกปี
ั
แต่ชาวล้านนาถือวันที่ 15 เม.ย. เป็ นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ ต่างจากภาคกลาง และในระยะเวลา 6
วันนี้จะประกอบพิธีหลายอย่าง
- วันที่ 13 เม.ย. ถือเป็ นวันสังขารล่อง (วันสิ้ นสุ ดปี เก่า) ส่ วนใหญ่ชาวบ้านจะยิงปื น จุดประทัด
ก่อนสว่าง เพื่อขับไล่ เสนียดจัญไร แล้วเก็บกวาดบ้านเรื อน หิ้งพระ
- วันที่ 14 เม.ย. เป็ นวันที่เรี ยกกันว่า "วันเนา" หรื อ "วันเน่า" วันนี้ชาวเชียงใหม่จะทําแต่สิ่งที่เป็ น
สิ ริมงคล พร้อมทั้งตระเตรี ยมอาหาร คาวหวาน เครื่ องไทยทาน เพื่อทํางานบุญในวันสงกรานต์
และไปขนทรายเข้าวัด
- วันที่ 15 เรี ยกว่า "วันพญาวัน" ถือเป็ นวันเริ่ มศักราชใหม่ ชาวเชียงใหม่จะไปทําบุญตักบาตรที่
วัด และถวายอาหารพระที่เรี ยกว่า "ทานขันข้าว" เพื่ออุทิศแก่ผล่วงลับ และสรงนํ้าพระ หลังจาก
ู้
นั้นจึงนําขันข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน นํ้าขมิ้น ส้มป่ อย หรื ออาจมีเครื่ องนุ่งห่ม ไปรดนํ้าดําหัว
ผูใหญ่
้
ประเพณีเข้ าอินทขีล
อินทขีล เป็ นชื่อของเสาหลักเมืองของชาวเชียงใหม่ เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วัด
สะดือเมือง หรื อวัดอินทขีล กลางเมืองเชียงใหม่ แต่ปัจจุบนย้ายไปไว้ที่วดเจดียหลวง ใน
ั
ั
์
สมัยของพระยากาวิละ และได้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็ นเสาปูน
การจัดงานประเพณี เข้าอินทขีล จัดขึ้นในปลายเดือน 8 ต่อต้นเดือน 9 ซึ่ งชาวบ้าน
เรี ยกว่า วันเดือน 8 เข้า เดือน 9 ออกเดิมประเพณี น้ ี เจ้าผูครองนครจะจัดขึ้นเพื่อสังเวย
้
เทพยดาอารักษ์ บูชากุมภัณฑ์ และมีพิธีเข้าทรงผีเจ้านาย เพื่อสอบถามว่า ฝนฟ้ าจะอุดม
สมบูรณ์ และชะตาบ้านเมืองจะดีหรื อไม่ หากชะตาของบ้านเมืองไม่ดี ก็จะจัดพิธีสืบ
ชะตาเมืองเพิ่มขึ้นด้วย และปั จจุบนได้เพิ่มการทําพิธีทางพุทธศาสนาเข้ามาอีกอย่างหนึ่ง
ั
โดยการแห่พระพุทธรู ปคันธารราษฎร์ (พระเจ้าฝนแสนห่า) รอบเมือง และจะนํามา
ประดิษฐาน ณ วัดเจดียหลวง เพื่อให้ชาวเมืองสรงนํ้า จากนั้นพระสงฆ์ 9 รู ป จะเจริ ญพระ
์
่
พุทธมนต์บูชาเสาอินทขีล ซึ่ งฝังอยูใต้ดิน การประกอบพิธีน้ ี เพื่อมุ่งเสริ มสร้างขวัญและ
กําลังใจของชาวเมืองก่อนที่จะเริ่ มต้นฤดูกาลเพาะปลูก
ประเพณีสรงนาพระธาตุจอมทอง
้
่
วัดพระธาตุจอมทองวรวิหาร เป็ นศาสนสถานเก่าแก่ที่สาคัญ ตั้งอยูบนเนินสูงราว 10
ํ
เมตร ที่เรี ยกว่า "ดอยจอมทอง" และมีเจดียซ่ ึงเป็ นที่ประดิษฐานพระทักษิณโมลีธาตุ
์
่
พระบรมสารี ริกธาตุจอมทองนั้น ประดิษฐานอยูในพระโกศ 5 ชั้น มีจานวน 1 องค์ ขนาด
ํ
เท่าเมล็ดถัวเขียว มีสีขาวนวลและ ออกนํ้าตาลคล้ายสี ดอกพิกลแห้ง บรรจุไว้ในเจดีย ์ ซึ่งจะมีการ
ุ
่
อัญเชิญออกมาให้ประชาชนได้สกการะและสรงนํ้า 2 ครั้ง ในทุกปี คือวันที่พระบรมสารี ริกธาตุ
ั
เข้าพรรษาและออกพรรษา
วันขึ้น 15 คํ่า เดือน 9 ของแต่ละปี จะเป็ นวันที่พระบรมสารี ริกธาตุเข้าพรรษา พระภิกษุ
จะอัญเชิญพระบรมสารี ริกธาตุออกจากพระโกศ 5 ชั้น มาประดิษฐานในพระโกศแก้วใส แล้วแห่
ไปทําพิธีที่โบสถ์ ในระหว่างทางชาวบ้านจะโยนข้าวตอกดอกไม้ไปยังพระโกศ เพื่อถวายเป็ น
สักการะ เมื่อทําพิธีเสร็ จก็จะแห่จากโบสถ์ไปยังหอสรงข้างวิหาร หอสรงนี้จะมีรางนํ้าเป็ นรู ปตัว
นาคสําหรับใช้สรงนํ้า และเดิมจะใช้น้ าแม่กลาง ผสมด้วยดอกคําฝอย เป็ นนํ้าสําหรับสรง แต่
ํ
ปัจจุบนใช้น้ าสะอาดธรรมดา เสร็ จแล้วจึงอัญเชิญเข้าจําพรรษาในพระโกศ 5 ชั้น ตามเดิม และ
ั
ํ
กลางคืนพระภิกษุจะสวดเจริ ญพระพุทธมนต์ เป็ นอันเสร็ จพิธี
ประเพณีการทาบุญสลากภัตต์
การทําบุญนี้เดิมชาวบ้านเรี ยกว่า "กิ๋นสะลากฮากไม้" ปัจจุบนเรี ยก "ทานสลาก" หรื อ
ั
"ทําบุญสลาก" ทําขึ้นที่วดเชียงมัน ในวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 12 เหนือ วัดเจดียหลวง ในวันแรม 8
ั
์
่
คํ่า เดือน 12 เหนือ และวัดพระสิ งห์ ในวันแรม 15 คํ่า เดือน 12 เหนือ
สมัยก่อนไม่มีการเลี้ยงข้าวปลาอาหารเช่นปัจจุบน คือ เมื่อพระสงฆ์หรื อสามเณรจับ
ั
สลากมากน้อยเพียงใด ก็ขบฉันเฉพาะอาหาร เท่าที่บอกในสลากเท่านั้น
การจับสลากภัตต์มี 2 วิธี คือ จับเส้นและจับเบอร์ การจับเส้นเป็ นวิธีเก่า คือเขียนข้อความ
การทําบุญสลากและชื่อผูศรัทธา ลงในแผ่นกระดาษแข็ง ใบตาล ใบลาน หรื อวัตถุอื่นใดเท่ากับ
้
จํานวนของไทยทาน เป็ นการอุทิศส่ วนกุศลแก่ผล่วงลับและเพือเป็ นบุญกุศลต่อตนเอง โดยการ
ู้
่
ํ
นําไปกองรวมกันในโบสถ์หรื อวิหารที่จดไว้ แล้วให้พระเณรมาจับตามจํานวนที่กาหนด ส่ วน
ั
สลากที่เหลือก็ถวายแก่พระพุทธ จากนั้นชาวบ้านจึงถวายของตามชื่อเส้นของตน หลังจากพระ
ให้ศีลให้พรแล้ว จึงรับเส้นของตนไปเผา พร้อมทั้งตรวจนํ้าอุทิศส่ วนกุศลให้ผตาย เป็ นอันเสร็ จ
ู้
พิธี
ประเพณีการเลียงขันโตก
้
ขันโตก เป็ นภาชนะสําหรับใส่ อาหารของชาวเหนือ ทําด้วยไม้
สัก ทาด้วยหางสี แดง สูง 8-10 นิ้ว มีขาไม้สกกลึงเป็ นรู ปกลมตั้งบนวง
ั
ล้อรับอีกอันหนึ่ง ขันโตกจะกว้างประมาณ 10-30 นิ้ว
สมัยโบราณคนพื้นเมืองนิยมใช้ขนโตกสําหรับใส่ อาหาร รับประทาน
ั
ในครัวเรื อน แต่ความนิยมใช้ค่อยเสื่ อมลงเมื่อบ้านเมืองเจริ ญขึ้น และ
คนหันไปนิยมของใช้จากต่างประเทศแทน ขันโตกจึงใช้เฉพาะเป็ น
ธรรมเนียมในการต้อนรับแขกเมือง และบุคคลสําคัญเท่านั้น
ประเพณียเี่ ป็ ง
เป็ นงานประเพณี อันยิงใหญ่แห่งดินแดนล้านนา ที่ได้ปฎิบติสืบ
ั
่
ทอดกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาลหรื อวันเพ็ญ เดือนยีของชาว ล้านนา
่
ตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 ของภาคกลาง อันเป็ นช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดู
หนาว อากาศ ปลอดโปร่ งท้องฟ้ าแจ่มใส ธรรมเนียม ปฎิบติของชาว
ั
ล้านนาอย่างหนึ่งนอกเหนือจากการลอยกระทงในแม่น้ าก็คือ การจุด
ํ
ประทีปโคมลอยขึ้นไปสว่างไสวบนท้องฟ้ า โดยมีคติความเชื่อว่า เพื่อ
บูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี บนสรวง สวรรค์ หรื อบ้างก็เชื่อว่าเป็ นการ
ลอยเคราะห์ หรื อสะเดาะเคราะห์ ให้เกิดความเป็ นมงคลแก่ชีวต
ิ
ประเพณียเี่ ป็ ง
ความรู ้เกี่ยวกับประเพณี ยเี่ ป็ ง ในภาษาคําเมืองของทางเหนือ “ยี” แปลว่า
่
สอง และคําว่า “เป็ ง” หมายถึง เพ็ญ หรื อพระจันทร์เต็มดวง ดังนั้นจึง หมายถึง
ประเพณี พระจันทร์เต็มดวงในเดือนสอง โดยในพงศาวดารโยนกและจามเทวี มี
บันทึกว่าครั้งหนึ่งได้เกิด อหิ วาตกโรคขึ้นในแคว้นหริ ภุญไชย ทําให้ชาวเมืองต้อง
อพยพไปอยูเ่ มืองหงสาวดี นานถึง 6 ปี จึงจะเดินทางกลับ มายัง บ้านเมืองเดิมได้
เมื่อเวลาเวียนมาถึง วันที่ จากบ้านจากเมืองไป จึงได้มีการทํากระถางใส่ เครื่ อง
สักการบูชา ธูปเทียนลอย ลอยตามนํ้า เพื่อให้ไปถึงญาติพี่นองที่ล่วงลับไป เรี ยกว่า
้
การลอยโขมด หรื อลอยไฟ ในงานบุญยีเ่ ป็ ง ยังมีการเทศน์มหาชาติ ผูคนจะออกมา
้
ตกแต่งบ้านเรื อน วัดวาอาราม และถนนหนทาง ด้วยต้นกล้วย อ้อย ทางมะพร้าว
ดอกไม้ ตุงช่อประทีปและชักโคมยีเ่ ป็ งแบบต่าง ๆ ขึ้นเป็ นพุทธบูชา ยามคํ่าคืน จะ
มีการจุดโคมลอย ปล่อยขึ้นสู่ทองฟ้ า เพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี บนสรวงสรรค์
้
่
ชั้นดาวดึงส์ จุดเด่นของงานนี้อยูที่การปล่อย โคมลอย ขึ้นไปในท้องฟ้ า โดยเชื่อกัน
ว่า เปลวไฟในโคมเป็ นสัญลักษณ์ของความรู ้ และแสงสว่างที่ได้รับจากโคม จะ
ส่ งผลให้ ดําเนินชีวตไปในทางที่ถกต้อง
ิ
ู
ประเพณียเี่ ป็ ง
การจุดโคมลอยมี 2 แบบ คือแบบที่ใช้ปล่อยในประเพณี ยเี่ ปงจะเริ่ มตั้งแต่วนขึ้น 13 คํ่า
ั
ซึ่งถือว่าเป็ น "วันดา" หรื อวันจ่ายของเตรี ยมไปทําบุญเลี้ยงพระที่วด ครั้น ถึงวันขึ้น 14 คํ่า พ่ออุย
ั
้
แม่อุยและผูมีศรัทธาก็จะพากันไปถือศีล ฟังธรรม และทําบุญเลี้ยงพระที่วด มีการทํา กระทง
้
้
ั
ขนาด ใหญ่ต้ งไว้ที่ลานวัด ในกระทงนั้นจะใส่ ของกินของใช้ ใครจะเอาของมาร่ วมสมทบด้วยก็
ั
ได้เพื่อเป็ น ทานแก่คนยากจน ครั้นถึงวันขึ้น 15 คํ่า จึงนํากระทงใหญ่ที่วดและกระทงเล็ก ๆ ของ
ั
ส่ วนตัวไปลอยในลํานํ้าในงาน บุญยีเ่ ป็ งนอกจากจะมีการปฏิบติธรรม ฟังเทศน์มหาชาติตามวัด
ั
วาอารามต่าง ๆ แล้ว ยังมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรื อน และถนนหนทางด้วย ต้นกล้วย ต้น
อ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และชักโคมยีเ่ ป็ ง แบบต่าง ๆ ขึ้นเป็ นพุทธบูชา พอตก
กลางคืนก็จะมีมหรสพและ การละเล่นมากมาย มีการแห่โคมทอง พร้อมกับมีการจุดถ้วย ประทีป
เพื่อบูชาพระรัตนตรัยการจุดบอกไฟ การจุดโคมไฟประดับตกแต่งตาม วัดวาอาราม และการจุด
โคมลอยปล่อยขึ้นสท้องฟ้ าเพื่อเพื่อบูชาพระเกตุ แก้ว จุฬามณี บนสรวงสวรรค์ช้ นดาวดึงส์ ความ
ั
่
เชื่อ การปล่อยว่าวไฟหรื อโคมลอยนี้ ชาวบ้านมักมีความเชื่อกันว่า เพื่อให้วาวได้นาเอาเคราะห์
ํ
ร้ายภัยพิบติต่างๆออก ไป
ั
วัฒนธรรม
เชียงใหม่มีวฒนธรรมที่โดดเด่นและมีความเป็ นเอก
ั
ลักษณะเฉพาะ เพราะเชียงใหม่ได้รับอิทธิผลทางด้านวัฒนธรรมมา
่
จากหลายแห่ง ไม่วาจะเป็ น จากลาว ญวน มอญ เป็ นต้น บวกกับการที่
เคยเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักร
ล้านนาในอดีต จึงทําให้มีการหล่อหลอมวัฒนธรรมต่างๆเข้าเป็ น
อันหนึ่งอันเดียวกับวัฒนธรรมของตน จนทําให้ตนเองมีความโดดเด่น
ทางด้านวัฒนธรรมขึ้นมา อาทิ วัฒนธรรมการแต่งกาย วัฒนธรรมการ
สร้างบ้านเรื อน วัฒนธรรมการใช้ภาษา เป็ นต้น
วัฒนธรรมการแต่ งกาย
ชาวเชียงใหม่มีวฒนธรรมอันเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่างหนึ่งคือ เป็ นคน
ั
ที่ชอบรักสวยรักงาม ดังนั้นวัฒนธรรมการแต่งกายจึงดูออกมาสวยงาม การแต่ง
กายของชาวเชียงใหม่น้ ีที่นิยมแต่งกันคือ การแต่งกายด้วยชุดพื้นเมืองเชียงใหม่ ซึ่ง
เป็ นชุดย้อนยุคของผูคนชาวล้านนาในอดีต เป็ นชุดที่นิยมแต่งกันเวลามีงานหรื อ
้
กิจกรรมสําคัญๆ เช่น ไปทําบุญที่วด ร่ วมประเพณี ยเี่ ป็ ง ร่ วมกิจกรรมย้อนยุค
ั
ต่างๆ เป็ นต้น ส่ วนใหญ่ชุดพื้นเมืองทํามาจากผ้าฝ้ าย อันเป็ นพืชที่นิยมปลูกกันใน
บริ เวณภาคเหนือของไทย ในปัจจุบนพบว่า ส่ วนใหญ่ผคนชาวเชียงใหม่ไม่ค่อยมี
ั
ู้
ใครนิยมแต่งกายด้วยชุดพื้นเมือง เวลาออกไปเรี ยนหรื อทํางาน เพราะเป็ นการขัด
ต่อวัฒนธรรมสมัยใหม่นนเอง ดังนั้น เราจะเห็นชาวเชียงใหม่แต่งกายด้วยชุด
ั่
่ ้
พื้นเมืองก็เวลาอยูบาน มีงาน ประเพณี หรื อกิจกรรมที่สาคัญเท่านั้น
ํ
วัฒนธรรมการสร้ างบ้ านเรือน
ชาวเชียงใหม่นิยมสร้างบ้านเรื อนตามฐานะของตน ผูที่มีฐานะดีหน่อยจะสร้างบ้านที่มี
้
การประดับตกแต่งอย่างสวยงามเหมาะสมตามฐานะของตน ขณะที่คนมีฐานะยากจนขัดสนจะ
สร้างบ้านก็เพียงแค่เป็ นที่ซุกหัวนอนพอยังอัตภาพให้เป็ นไปเท่านั้น ดังนั้น การสร้างบ้านจึงดู
ออกมาต่างกัน อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมการสร้างบ้านของชาวเชียงใหม่น้ นอาจแบ่งลักษณะการ
ั
สร้างตามฐานะได้ 2 แบบ คือ บ้านของคนมีฐานะรํ่ารวย กับ บ้านของคนยากจน
บ้านของคนมีฐานะรํ่ารวยนั้น จะเป็ นบ้านที่มีขนาดใหญ่ สร้างด้วยไม้เนื้อแข็ง ส่ วนใหญ่นิยม
สร้างด้วยไม้สก ส่ วนบริ เวณจัวหลังคาบ้าน นิยมประดับประดาตกแต่งด้วยกาแล อันเป็ นไม้
ั
่
ประดับบนยอดจัวหลังคาของบ้านล้านนาของภาคเหนือ บ้านประเภทนี้เรี ยกว่า เรื อนกาแล
่
่
เหตุผลที่ตกแต่งด้วยกาแลก็เพราะความเชื่อที่วา กาแลสามารถช่วยป้ องกันอีกาหรื อนกไม่ให้มา
เกาะบนหลังคาบ้าน อีกอย่างก็เพื่อป้ องกันสิ่ งอัปมงคลทั้งหลายไม่ให้เข้ามาภายในบ้าน
วัฒนธรรมการสร้ างบ้ านเรือน
ส่ วนบ้านของคนยากจน จะเป็ นบ้านที่มีขนาดเล็ก ใช้วสดุที่พอหา
ั
ได้ตามท้องถิ่นของตน เช่น ไม้ไผ่ ใบตองตึง และไม้ชนิดต่างๆ เป็ นต้น
็
สําหรับผูที่มีฐานะดีข้ ึนมาหน่อย อาจสร้างบ้านเหมือนผูมีฐานะดีกได้
้
้
็
แต่กจะมีขนาดเล็กลดหลังตามฐานะของตน ส่ วนใหญ่บานประเภทนี้มก
้
ั
่
่
พบตามชานเมืองที่อยูนอกเมืองออกไป
ในปั จจุบน พบว่า วัฒนธรรมการสร้างบ้านของชาวเชียงใหม่
ั
เปลี่ยนไป กล่าวคือ มีการสร้างบ้านทรงยุโรป หรื อทรงตะวันตกกันมาก
ขึ้น มีการนําวัสดุที่มีราคาเพียงมาใช้ในการสร้างบ้าน และมีการประดับ
ตกแต่งบ้านด้วยวัสดุเครื่ องประดับอย่างหรู หรา
วัฒนธรรมการใช้ ภาษา
ชาวเชียงใหม่มีภาษาใช้สื่อสารเป็ นของตนเองที่นอกเหนือจาก
ภาษาไทย และเรี ยกภาษาของตนว่า ภาษาล้านนา หรื อ คําเมือง ซึ่ งเป็ น
ั
ภาษาที่มีใช้กนมานานตั้งแต่เมื่อครั้งอาณาจักรล้านนาแล้ว และได้สืบ
ทอดต่อๆกันมา มีการดัดแปลงสําเนียงการพูดบ้าง ตัวอักษรบ้าง
โครงสร้างทางภาษาบ้าง เพื่อให้มีความเหมาะสมกับบริ บทแต่ละท้องถิ่น
ชาวเชียงใหม่นิยมใช้ภาษาล้านนาหรื อคําเมือง พูดสื่ อสารกันใน
ชีวิตประจําวัน ตัวอย่างเช่น มืนตา (ลืมตา) ข้าเจ้า (ดิฉน)เพิ่น (เขา) บ่อ
ั
หื้ อ (ไม่ให้) เวิยๆ (ไวๆ) ฯลฯ และมีนอยนักที่จะพูดภาษาไทยอันเป็ น
้
ภาษากลางกัน ยกเว้นในกรณี ที่พบปะพูดคุยกันอย่างเป็ นทางกัน เช่น ใน
ห้องเรี ยน ในที่ประชุมใหญ่ๆ พิธีการที่สาคัญๆ เป็ นต้น
ํ
วัฒนธรรมการใช้ ภาษา
ชาวเชียงใหม่ยงนิยมเรี ยนภาษาล้านนาหรื อคําเมืองกันตาม
ั
โรงเรี ยนอีกด้วย ซึ่ งพบเห็นได้ทวๆไปในโรงเรี ยนในเชียงใหม่และ
ั่
บางแห่งยังได้เอาภาษาล้านนาหรื อคําเมืองเป็ นวิชาเลือกของโรงเรี ยน
อีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว ชาวเชียงใหม่ยงได้มีการนําภาษาล้านนาหรื อ
ั
ั
คําเมืองมาเขียนเทียบคู่กบภาษาไทยตามป้ ายประชาสัมพันธ์หรื อชื่อ
สถานที่ที่สาคัญๆ เช่น โรงเรี ยน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หน่วยงาน
ํ
ราชการอื่นๆ เป็ นต้น
วัฒนธรรมการใช้ ภาษา
ความงดงามและความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะด้านการใช้ภาษา เป็ น
ผลทําให้เชียงใหม่มีความโดดเด่นขึ้นมาและเป็ นมนต์เสน่ห์ที่ดึงดูดความ
สนใจของผูคนจากทัวมุมโลกให้ไปเที่ยวชม ไปศึกษาเรี ยนรู ้ถึงความลํ้า
้
่
ค่านี้ ที่นอกเหนือจากความงดงามและความลํ้าค่าทางด้านโบราณสถาน
โบราณวัตถุและธรรมชาติ เชียงใหม่จึงเป็ นเมืองๆหนึ่งที่มีนกท่องเที่ยว
ั
เดินทางมาเที่ยวชมเป็ นจํานวนมาก
บทสรุป
การที่เชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อนยาวนานนับ 700 ปี และเคยเป็ นราชธานี
ั
รวมทั้งเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักรล้านนา ทําให้เชียงใหม่ได้
หล่อหลอมเอาวัฒนธรรมอันลํ้าค่าจากแหล่งอื่นๆมาเป็ นวัฒนธรรมอันโดดเด่น มี
ความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของตน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความงดงามในความเป็ น
วัฒนธรรมเฉพาะตนอันเป็ นมนต์เสน่ห์ที่ดึงดูดความสนใจของผูคนจากทุกสารทิศ
้
ทัวมุมโลกให้มาเที่ยวชม นอกจากวัฒนธรรมแล้ว เชียงใหม่ยงมีประเพณี ที่แสดงถึง
ั
่
ความศรัทธาอย่างแรงกล้าต่อพระพุทธศาสนา ชาวเชียงใหม่พากันจัดประเพณี
ต่างๆขึ้น เพื่อเสริ มสร้างความสมัครสมานสามัคคีของผูคนในหมู่คณะและเป็ น
้
อุปถัมภ์ค้ าจุน สื บทอดมรดกทางพระพุทธศาสนาเอาไว้ให้ยงยืน เพื่อตกทอดมรดก
ํ
ั่
อันลํ้าค่านี้ให้แก่อนุชนรุ่ นหลัง และที่สาคัญประเพณี บางอย่างยังเป็ นเครื่ องแสดง
ํ
ความถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษอีกด้วย
บทสรุป
สิ่ งที่บรรพบุรุษชาวเชียงใหม่สืบทอดมรดกมาสู่ลูกหลานในสมัยปั จจุบนนั้น ถือว่าเป็ น
ั
มรดกอันลํ้าค่าอย่างยิงที่หาไม่มีในที่แห่งอื่น สะท้อนให้เห็นถึงความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ และที่
่
สําคัญมรดกเหล่านี้ ไม่เพียงแต่มีความงดงามด้านรู ปลักษณ์ภายนอกเท่านั้น หากยังรวมถึงความ
งดงามอันมีค่ามหาศาลภายในจิตใจของผูคนที่มาเที่ยวชม อีกด้วย ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่อนุชนรุ่ นหลัง
้
จะต้องตระหนักเห็นคุณค่า ความสําคัญ และเก็บรักษาสิ่ งลํ้าค่านี้ไว้ให้ดี
ทั้งประเพณี และวัฒนธรรมของเชียงใหม่ เป็ นสิ่ งที่งดงาม โดดเด่น ลํ้าค่าเกินคําบรรยาย ถือว่า
เป็ นต้นแบบของประเพณี และวัฒนธรรมในท้องถิ่นอื่น ท้องถิ่นอื่น ถือเอาแม่แบบที่ได้จาก
เชียงใหม่น้ ี นําไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เหมาะสมกับบริ บทของท้องถิ่นตน ความงดงามทางด้าน
ประเพณี และวัฒนธรรมนี้เองที่ทาให้เชียงใหม่กลายเป็ นศูนย์กลางแห่งการท่องเที่ยวด้าน
ํ
ประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งด้านธรรมชาติดวย จึงทําให้เชียงใหม่มีชื่อเลื่องลือขจรขจายไป
้
ทัวโลก
่
วิธีดาเนินงาน
รายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงาน มีดงต่อไปนี้
ั
เสนอหัวข้อโครงงาน
ศึกษาและรวบรวมเนื้อหาที่จะต้องใช้พฒนาสื่ อการศึกษา
ั

ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับ วิชาสังคม ทั้งจากทางหนังสื อและอินเตอร์เน็ต
จัดแยกข้อมูลเป็ นหมวดหมู่ เพื่อใช้ในการสร้างเนื้อหาในส่ วนต่าง ๆ
ออกแบบงานและจัดหาเครื่ องมือที่เหมาะสม
ออกแบบรู ปแบบของงานที่จะนํามาใช้งาน
ออกแบบรู ปแบบที่ผใช้สามารถใช้ได้ง่าย
ู้
ออกแบบรู ปแบบให้มีความสวยงาม น่าสนใจ
ลาดั
บ
ที่

ขั้นตอน

1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทําโครงร่ าง
งาน
4 ปฏิบติการสร้าง
ั
โครงงาน
5 ปรับปรุ งทดสอบ
6 การทํา
เอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นําเสนอโครงงาน

สั ปดาห์ ที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้
ี่
คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
100 บาท
สถานทีดาเนินการ
่
บ้าน
โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ทเี่ กียวข้ อง
่
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
วัยรุ่ นสมัยใหม่มีความรู ้ดานประเพณี และวัฒนธรรมมากขึ้นและต้องการ
้
่
สื บทอดและประเพณี และวัฒนธรรมเหล่านั้นให้คงอยูและสื บทอดต่อไป
แหล่งอ้างอิง
- http://www.eduzones.com/knowledge-2-3-39873.html
- http://www.eduzones.com/knowledge-2-1-28686.html

More Related Content

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdfโครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdflouiskuplouiskup
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยThaiway Thanathep
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทงWanida Surit
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdfโครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
$Rvri4 lq
$Rvri4 lq$Rvri4 lq
$Rvri4 lq
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
จุ๊3
จุ๊3จุ๊3
จุ๊3
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 

More from Cake WhiteChocolate

O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยCake WhiteChocolate
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลยCake WhiteChocolate
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52Cake WhiteChocolate
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลยCake WhiteChocolate
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51Cake WhiteChocolate
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50Cake WhiteChocolate
 
ข้อสอบโอเน็ตปี54
ข้อสอบโอเน็ตปี54ข้อสอบโอเน็ตปี54
ข้อสอบโอเน็ตปี54Cake WhiteChocolate
 
ข้อสอบโอเน็ตปี53
ข้อสอบโอเน็ตปี53ข้อสอบโอเน็ตปี53
ข้อสอบโอเน็ตปี53Cake WhiteChocolate
 
ข้อสอบโอเน็ตปี52
ข้อสอบโอเน็ตปี52ข้อสอบโอเน็ตปี52
ข้อสอบโอเน็ตปี52Cake WhiteChocolate
 
ข้อสอบโอเน็ตปี51
ข้อสอบโอเน็ตปี51ข้อสอบโอเน็ตปี51
ข้อสอบโอเน็ตปี51Cake WhiteChocolate
 
ข้อสอบโอเน็ตปี 55
ข้อสอบโอเน็ตปี 55ข้อสอบโอเน็ตปี 55
ข้อสอบโอเน็ตปี 55Cake WhiteChocolate
 
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
โครงงานคอมพ วเตอร  (1)โครงงานคอมพ วเตอร  (1)
โครงงานคอมพ วเตอร (1)Cake WhiteChocolate
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Cake WhiteChocolate
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Cake WhiteChocolate
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Cake WhiteChocolate
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Cake WhiteChocolate
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Cake WhiteChocolate
 

More from Cake WhiteChocolate (20)

O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 53 พร้อมเฉลย
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 52 เฉลย
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี 50
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
เต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบ
 
ข้อสอบโอเน็ตปี54
ข้อสอบโอเน็ตปี54ข้อสอบโอเน็ตปี54
ข้อสอบโอเน็ตปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตปี53
ข้อสอบโอเน็ตปี53ข้อสอบโอเน็ตปี53
ข้อสอบโอเน็ตปี53
 
ข้อสอบโอเน็ตปี52
ข้อสอบโอเน็ตปี52ข้อสอบโอเน็ตปี52
ข้อสอบโอเน็ตปี52
 
ข้อสอบโอเน็ตปี51
ข้อสอบโอเน็ตปี51ข้อสอบโอเน็ตปี51
ข้อสอบโอเน็ตปี51
 
ข้อสอบโอเน็ตปี 55
ข้อสอบโอเน็ตปี 55ข้อสอบโอเน็ตปี 55
ข้อสอบโอเน็ตปี 55
 
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
โครงงานคอมพ วเตอร  (1)โครงงานคอมพ วเตอร  (1)
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 2. ชื่อโครงงาน สื่ อเพื่อการศึกษาประเพณี และวัฒนธรรมชียงใหม่ ชื่อโครงงาน culture of chiangmai ประเภทโครงงาน สื่ อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.กานต์ชนิต สุ ตาคํา เลขที่ 1 น.ส.กนกพร จันทร์พลอย เลขที่ 3 ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 4 สัปดาห์
  • 3. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปั จจุบนนี้มีความก้าวหน้าในเรื่ องเทคโนโลยีมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน ั ่ และทําให้คนขยายเป็ นวงกว้างมากขึ้น และคนเข้ามาอยูในเมืองมากกว่า ที่ชนบททําให้วฒนธรรมประเพณี เก่า ๆ หายไปและมีวฒนธรรมใหม่ๆ ั ั เข้ามาทดแทนบางวัฒนธรรมก็นามาจากต่างชาติ ทําให้วฒนธรรม ํ ั ประเพณี ของไทยในสมัยนี้หายไป วัยรุ่ นในสมัยนี้ลืมเลือนวัฒนธรรม ประเพณี ที่มีสืบทอดมาตั้งแต่กาลก่อน
  • 4. วัตถุประสงค์ 1.สร้างสื่ อการเรี ยนรู ้เพื่อการศึกษาวัฒนธรรมและประเพณี ของเชียงใหม่ 2.เพื่อให้คนเชียงใหม่อนุรักษ์สืบทอดวัฒนธรรมและประเพณี ของเชียงใหม่
  • 5. ขอบเขตของโครงงาน 1.เพื่อให้คนที่สนใจและวัยรุ่ นสมัยนี้หนมาให้ความสําคัญ และเรี ยนรู ้ ั วัฒนธรรมในสมัยก่อนเพื่อไม่ให้หายไป 2.เพื่ออนุรักษ์และสื บทอดวัฒนธรรมที่ดีงามต่อไป 3.เพื่อสร้างสรรค์ให้ประเพณี และวัฒนธรรม เกิดความสําคัญต่อท้องถิ่น มากยิงขึ้น ่
  • 6. หลักการและทฤษฎี เชียงใหม่ข้ ึนชื่อว่าเป็ นเมืองที่มีประเพณี และวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่น งดงามมากที่สุดแห่งหนึ่ง รวมทั้งมีความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะด้วย ที่เป็ นเช่นนี้ สื บ เนื่องมาจากการที่เมืองเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อนยาวนาน ซํ้ายังเคยเป็ นราชธานี ั และเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องในทุกด้านของอาณาจักรล้านนา จึงทําให้ เชียงใหม่รับเอาวัฒนธรรมจากต่างถิ่นเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมของ ตน รวมทั้งยังได้รับวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาเข้ามาอีกทอดด้วย จึงทําให้ เชียงใหม่มีการผสมผสานหล่อหลอมวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่กลายมาเป็ นวัฒนธรรม อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตน
  • 7. “ดอยสุ เทพเป็ นศรี ประเพณี เป็ นสง่า บุปผชาติลวนงามตา ้ นามลํ้าค่านครพิงค์”
  • 8. คําขวัญนี้เป็ นคําขวัญประจําจังหวัดเชียงใหม่ที่สะท้อนให้เห็นถึงความงดงาม ความเด่นสง่า ความลํ้าค่าและความเลื่องลือในหลายๆด้าน และหนึ่งในนั้นคือ ความ งดงามทางด้านประเพณี และวัฒนธรรม ดอยสุ เทพขึ้นชื่อว่าเป็ นสัญลักษณ์ของ จังหวัดเชียงใหม่ ถึงกับมีคาพูดที่หลายคนมักพูดกันจนติดปากว่า ใครก็ตามที่ ํ เดินทางมาจังหวัดเชียงใหม่ หากไม่ได้แวะขึ้นไปบนดอยสุ เทพ ก็เท่ากับว่ายัง เดินทางมาไม่ถึงจังหวัดเชียงใหม่ ความงดงามของดอยสุ เทพอันเป็ นที่ต้ งของวัด ั พระธาตุดอยสุ เทพนี้ นับว่าเป็ นจุดที่ดึงดูดสายตาของผูคนที่เดินทางมายังจังหวัด ้ เชียงใหม่ให้ไปเที่ยวชม เพราะหากมองจากบริ เวณด้านล่างขึ้นไปบนดอยสุ เทพ จะ ่ พบเห็นพระธาตุสีทองเด่นสง่าตั้งตระหง่านอยูบนดอยสุ เทพ ชวนให้เกิดความ ศรัทธาและน่าเข้าไปกราบนมัสการเป็ นอย่างมาก นอกจากนั้นบนดอยสุ เทพยังมี ความสวยสดงดงามด้านบุปผชาตินานาพันธุ์ให้ชื่นชมอีกมากมาย ดังนั้นการขึ้นไป บนดอยสุ เทพจึงไม่ทาให้ผที่ข้ ึนไปเที่ยวชมนั้นผิดหวัง ํ ู้
  • 9. ประวัติความเป็ นมาพอสั งเขป เชียงใหม่เป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์อนยาวนาน เคยเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ ง ั เรื่ องของอาณาจักรล้านนาซึ่ งแผ่อิทธิผลปกคลุมทางตอนเหนือของประเทศไทย พญามัง รายทรงเป็ นปฐมกษัตริ ยแห่ งอาณาจักรล้านนา ทรงย้ายเมืองราชธานีจากเดิมคือเมืองเชียง ์ แสนมาที่เมืองเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.1839 เพราะทรงเห็นว่าเมืองเชียงใหม่มีทาเลที่ต้ ง ํ ั เหมาะสม มีทรัพยากรทางธรรมชาติอนมังคัง และมีแหล่งนํ้าที่อุดมสมบูรณ์ อันได้แก่ แม่ ั ่ ่ ่ นํ้าปิ ง ซึ่ งถือได้วาเป็ นสายโลหิ ตของผูคนในอาณาจักร ้ เมื่อทรงย้ายราชธานีมาที่เชียงใหม่ ได้ทรงสถาปนาชื่อเมืองว่า “นพบุรีศรี นคร พิงค์ เชียงใหม่ ” นับแต่น้ น เมืองเชียงใหม่ได้กลายมาเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องแห่ ง ั อาณาจักรล้านนาแทนที่เมืองเชียงแสนอันเป็ นราชธานีเดิม พญามังรายได้พฒนาเมือง ั เชียงใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งยังได้ทรงก่อสร้างวัดวาอารามขึ้นหลายแห่ งมีวดเชียงมัน เป็ น ั ่ ต้น รวมทั้งได้มีการตรากฎหมายที่เรี ยกว่า “มังรายศาสตร์ ” ขึ้นใช้ภายในอาณาจักรอีกด้วย
  • 10. ประวัติความเป็ นมาพอสั งเขป เมื่อพระองค์สวรรคต เชื้อพระวงศ์ที่ทรงสื บทอดราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์ได้ สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันปกครอง บริ หาร พัฒนาบ้านเมืองพระองค์แล้วพระองค์เล่าตามลําดับอยู่ เรื่ อยๆ ทําให้บานเมืองเจริ ญรุ่ งเรื่ องอย่างมาก โดยเฉพาะในด้านพระพุทธศาสนานั้น มีการจัดทํา ้ สังคายนาขึ้น ใน พ.ศ.2020 ตรงกับราชสมัยของพระเจ้าติโลกราช กษัตริ ยองค์ที่ 9 แห่ง ์ อาณาจักรล้านนา พระองค์ทรงอุปถัมภ์การจัดทําสังคายนาในครั้งนี้ การทําสังคายนาในครั้งนี้ ่ นั้น ถือได้วาเป็ นการทําสังคายนาครั้งที่ 9 ของโลก และเป็ นครั้งแรกที่ทาในดินแดนสยาม ต่อมา ํ ไม่นานอาณาจักรล้านนา ก็เข้าสู่ ยคเสื่ อม เพราะถูกรุ กรานจากอาณาจักรอื่นๆ มี อาณาจักร ุ สุ โขทัย เป็ นต้น และต่อมาอาณาจักรล้านนาก็สูญเสี ยเอกราชและถูกผนวกเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของ อาณาจักรสุ โขทัยในที่สุด ตลอดระยะที่เชียงใหม่เป็ นราชธานีและเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักร ล้านนานั้น เมืองเชียงใหม่ได้ถูกพัฒนาจากผูปกครองบ้านเมืองให้เป็ นเมืองที่อุดมสมบูรณ์และ ้ เจริ ญรุ่ งเรื องในหลายๆด้าน อาทิ ด้านศาสนา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม เป็ นต้น ความเจริ ญรุ่ งเรื องดังกล่าวได้รับการสื บทอดกันมาอย่าง ต่อเนื่องจนกระทังถึงปัจจุบน ั ่
  • 11. ความงดงามด้ านประเพณีและวัฒนธรรม เชียงใหม่ข้ ึนชื่อว่าเป็ นเมืองที่มีประเพณี และวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่น งดงามมากที่สุดแห่งหนึ่ง รวมทั้งมีความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะด้วย ที่เป็ นเช่นนี้ สื บ เนื่องมาจากการที่เมืองเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อนยาวนาน ซํ้ายังเคยเป็ นราชธานี ั และเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องในทุกด้านของอาณาจักรล้านนา จึงทําให้ เชียงใหม่รับเอาวัฒนธรรมจากต่างถิ่นเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมของ ตน รวมทั้งยังได้รับวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาเข้ามาอีกทอดด้วย จึงทําให้ เชียงใหม่มีการผสมผสานหล่อหลอมวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่กลายมาเป็ นวัฒนธรรม อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตน
  • 12. ประเพณีสงกรานต์ ประเพณี สงกรานต์เป็ นงานที่ยงใหญ่ของชาวล้านนา เนื่องจากเป็ นช่วงเวลาเปลี่ยนศักราชใหม่ ิ่ และขอสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลาย ให้ปัดเป่ าทุกข์โศกโรคภัยให้ล่วงไปในปี เก่า พร้อมทั้ง เตรี ยม ร่ างกายและจิตใจให้สดใสรับปี ใหม่ โดยจะเริ่ มจัดขึ้น ตั้งแต่วนที่ 13 ถึงวันที่ 18 เม.ย. ของทุกปี ั แต่ชาวล้านนาถือวันที่ 15 เม.ย. เป็ นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ ต่างจากภาคกลาง และในระยะเวลา 6 วันนี้จะประกอบพิธีหลายอย่าง - วันที่ 13 เม.ย. ถือเป็ นวันสังขารล่อง (วันสิ้ นสุ ดปี เก่า) ส่ วนใหญ่ชาวบ้านจะยิงปื น จุดประทัด ก่อนสว่าง เพื่อขับไล่ เสนียดจัญไร แล้วเก็บกวาดบ้านเรื อน หิ้งพระ - วันที่ 14 เม.ย. เป็ นวันที่เรี ยกกันว่า "วันเนา" หรื อ "วันเน่า" วันนี้ชาวเชียงใหม่จะทําแต่สิ่งที่เป็ น สิ ริมงคล พร้อมทั้งตระเตรี ยมอาหาร คาวหวาน เครื่ องไทยทาน เพื่อทํางานบุญในวันสงกรานต์ และไปขนทรายเข้าวัด - วันที่ 15 เรี ยกว่า "วันพญาวัน" ถือเป็ นวันเริ่ มศักราชใหม่ ชาวเชียงใหม่จะไปทําบุญตักบาตรที่ วัด และถวายอาหารพระที่เรี ยกว่า "ทานขันข้าว" เพื่ออุทิศแก่ผล่วงลับ และสรงนํ้าพระ หลังจาก ู้ นั้นจึงนําขันข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน นํ้าขมิ้น ส้มป่ อย หรื ออาจมีเครื่ องนุ่งห่ม ไปรดนํ้าดําหัว ผูใหญ่ ้
  • 13. ประเพณีเข้ าอินทขีล อินทขีล เป็ นชื่อของเสาหลักเมืองของชาวเชียงใหม่ เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วัด สะดือเมือง หรื อวัดอินทขีล กลางเมืองเชียงใหม่ แต่ปัจจุบนย้ายไปไว้ที่วดเจดียหลวง ใน ั ั ์ สมัยของพระยากาวิละ และได้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็ นเสาปูน การจัดงานประเพณี เข้าอินทขีล จัดขึ้นในปลายเดือน 8 ต่อต้นเดือน 9 ซึ่ งชาวบ้าน เรี ยกว่า วันเดือน 8 เข้า เดือน 9 ออกเดิมประเพณี น้ ี เจ้าผูครองนครจะจัดขึ้นเพื่อสังเวย ้ เทพยดาอารักษ์ บูชากุมภัณฑ์ และมีพิธีเข้าทรงผีเจ้านาย เพื่อสอบถามว่า ฝนฟ้ าจะอุดม สมบูรณ์ และชะตาบ้านเมืองจะดีหรื อไม่ หากชะตาของบ้านเมืองไม่ดี ก็จะจัดพิธีสืบ ชะตาเมืองเพิ่มขึ้นด้วย และปั จจุบนได้เพิ่มการทําพิธีทางพุทธศาสนาเข้ามาอีกอย่างหนึ่ง ั โดยการแห่พระพุทธรู ปคันธารราษฎร์ (พระเจ้าฝนแสนห่า) รอบเมือง และจะนํามา ประดิษฐาน ณ วัดเจดียหลวง เพื่อให้ชาวเมืองสรงนํ้า จากนั้นพระสงฆ์ 9 รู ป จะเจริ ญพระ ์ ่ พุทธมนต์บูชาเสาอินทขีล ซึ่ งฝังอยูใต้ดิน การประกอบพิธีน้ ี เพื่อมุ่งเสริ มสร้างขวัญและ กําลังใจของชาวเมืองก่อนที่จะเริ่ มต้นฤดูกาลเพาะปลูก
  • 14. ประเพณีสรงนาพระธาตุจอมทอง ้ ่ วัดพระธาตุจอมทองวรวิหาร เป็ นศาสนสถานเก่าแก่ที่สาคัญ ตั้งอยูบนเนินสูงราว 10 ํ เมตร ที่เรี ยกว่า "ดอยจอมทอง" และมีเจดียซ่ ึงเป็ นที่ประดิษฐานพระทักษิณโมลีธาตุ ์ ่ พระบรมสารี ริกธาตุจอมทองนั้น ประดิษฐานอยูในพระโกศ 5 ชั้น มีจานวน 1 องค์ ขนาด ํ เท่าเมล็ดถัวเขียว มีสีขาวนวลและ ออกนํ้าตาลคล้ายสี ดอกพิกลแห้ง บรรจุไว้ในเจดีย ์ ซึ่งจะมีการ ุ ่ อัญเชิญออกมาให้ประชาชนได้สกการะและสรงนํ้า 2 ครั้ง ในทุกปี คือวันที่พระบรมสารี ริกธาตุ ั เข้าพรรษาและออกพรรษา วันขึ้น 15 คํ่า เดือน 9 ของแต่ละปี จะเป็ นวันที่พระบรมสารี ริกธาตุเข้าพรรษา พระภิกษุ จะอัญเชิญพระบรมสารี ริกธาตุออกจากพระโกศ 5 ชั้น มาประดิษฐานในพระโกศแก้วใส แล้วแห่ ไปทําพิธีที่โบสถ์ ในระหว่างทางชาวบ้านจะโยนข้าวตอกดอกไม้ไปยังพระโกศ เพื่อถวายเป็ น สักการะ เมื่อทําพิธีเสร็ จก็จะแห่จากโบสถ์ไปยังหอสรงข้างวิหาร หอสรงนี้จะมีรางนํ้าเป็ นรู ปตัว นาคสําหรับใช้สรงนํ้า และเดิมจะใช้น้ าแม่กลาง ผสมด้วยดอกคําฝอย เป็ นนํ้าสําหรับสรง แต่ ํ ปัจจุบนใช้น้ าสะอาดธรรมดา เสร็ จแล้วจึงอัญเชิญเข้าจําพรรษาในพระโกศ 5 ชั้น ตามเดิม และ ั ํ กลางคืนพระภิกษุจะสวดเจริ ญพระพุทธมนต์ เป็ นอันเสร็ จพิธี
  • 15. ประเพณีการทาบุญสลากภัตต์ การทําบุญนี้เดิมชาวบ้านเรี ยกว่า "กิ๋นสะลากฮากไม้" ปัจจุบนเรี ยก "ทานสลาก" หรื อ ั "ทําบุญสลาก" ทําขึ้นที่วดเชียงมัน ในวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 12 เหนือ วัดเจดียหลวง ในวันแรม 8 ั ์ ่ คํ่า เดือน 12 เหนือ และวัดพระสิ งห์ ในวันแรม 15 คํ่า เดือน 12 เหนือ สมัยก่อนไม่มีการเลี้ยงข้าวปลาอาหารเช่นปัจจุบน คือ เมื่อพระสงฆ์หรื อสามเณรจับ ั สลากมากน้อยเพียงใด ก็ขบฉันเฉพาะอาหาร เท่าที่บอกในสลากเท่านั้น การจับสลากภัตต์มี 2 วิธี คือ จับเส้นและจับเบอร์ การจับเส้นเป็ นวิธีเก่า คือเขียนข้อความ การทําบุญสลากและชื่อผูศรัทธา ลงในแผ่นกระดาษแข็ง ใบตาล ใบลาน หรื อวัตถุอื่นใดเท่ากับ ้ จํานวนของไทยทาน เป็ นการอุทิศส่ วนกุศลแก่ผล่วงลับและเพือเป็ นบุญกุศลต่อตนเอง โดยการ ู้ ่ ํ นําไปกองรวมกันในโบสถ์หรื อวิหารที่จดไว้ แล้วให้พระเณรมาจับตามจํานวนที่กาหนด ส่ วน ั สลากที่เหลือก็ถวายแก่พระพุทธ จากนั้นชาวบ้านจึงถวายของตามชื่อเส้นของตน หลังจากพระ ให้ศีลให้พรแล้ว จึงรับเส้นของตนไปเผา พร้อมทั้งตรวจนํ้าอุทิศส่ วนกุศลให้ผตาย เป็ นอันเสร็ จ ู้ พิธี
  • 16. ประเพณีการเลียงขันโตก ้ ขันโตก เป็ นภาชนะสําหรับใส่ อาหารของชาวเหนือ ทําด้วยไม้ สัก ทาด้วยหางสี แดง สูง 8-10 นิ้ว มีขาไม้สกกลึงเป็ นรู ปกลมตั้งบนวง ั ล้อรับอีกอันหนึ่ง ขันโตกจะกว้างประมาณ 10-30 นิ้ว สมัยโบราณคนพื้นเมืองนิยมใช้ขนโตกสําหรับใส่ อาหาร รับประทาน ั ในครัวเรื อน แต่ความนิยมใช้ค่อยเสื่ อมลงเมื่อบ้านเมืองเจริ ญขึ้น และ คนหันไปนิยมของใช้จากต่างประเทศแทน ขันโตกจึงใช้เฉพาะเป็ น ธรรมเนียมในการต้อนรับแขกเมือง และบุคคลสําคัญเท่านั้น
  • 17. ประเพณียเี่ ป็ ง เป็ นงานประเพณี อันยิงใหญ่แห่งดินแดนล้านนา ที่ได้ปฎิบติสืบ ั ่ ทอดกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาลหรื อวันเพ็ญ เดือนยีของชาว ล้านนา ่ ตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 ของภาคกลาง อันเป็ นช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดู หนาว อากาศ ปลอดโปร่ งท้องฟ้ าแจ่มใส ธรรมเนียม ปฎิบติของชาว ั ล้านนาอย่างหนึ่งนอกเหนือจากการลอยกระทงในแม่น้ าก็คือ การจุด ํ ประทีปโคมลอยขึ้นไปสว่างไสวบนท้องฟ้ า โดยมีคติความเชื่อว่า เพื่อ บูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี บนสรวง สวรรค์ หรื อบ้างก็เชื่อว่าเป็ นการ ลอยเคราะห์ หรื อสะเดาะเคราะห์ ให้เกิดความเป็ นมงคลแก่ชีวต ิ
  • 18. ประเพณียเี่ ป็ ง ความรู ้เกี่ยวกับประเพณี ยเี่ ป็ ง ในภาษาคําเมืองของทางเหนือ “ยี” แปลว่า ่ สอง และคําว่า “เป็ ง” หมายถึง เพ็ญ หรื อพระจันทร์เต็มดวง ดังนั้นจึง หมายถึง ประเพณี พระจันทร์เต็มดวงในเดือนสอง โดยในพงศาวดารโยนกและจามเทวี มี บันทึกว่าครั้งหนึ่งได้เกิด อหิ วาตกโรคขึ้นในแคว้นหริ ภุญไชย ทําให้ชาวเมืองต้อง อพยพไปอยูเ่ มืองหงสาวดี นานถึง 6 ปี จึงจะเดินทางกลับ มายัง บ้านเมืองเดิมได้ เมื่อเวลาเวียนมาถึง วันที่ จากบ้านจากเมืองไป จึงได้มีการทํากระถางใส่ เครื่ อง สักการบูชา ธูปเทียนลอย ลอยตามนํ้า เพื่อให้ไปถึงญาติพี่นองที่ล่วงลับไป เรี ยกว่า ้ การลอยโขมด หรื อลอยไฟ ในงานบุญยีเ่ ป็ ง ยังมีการเทศน์มหาชาติ ผูคนจะออกมา ้ ตกแต่งบ้านเรื อน วัดวาอาราม และถนนหนทาง ด้วยต้นกล้วย อ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุงช่อประทีปและชักโคมยีเ่ ป็ งแบบต่าง ๆ ขึ้นเป็ นพุทธบูชา ยามคํ่าคืน จะ มีการจุดโคมลอย ปล่อยขึ้นสู่ทองฟ้ า เพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี บนสรวงสรรค์ ้ ่ ชั้นดาวดึงส์ จุดเด่นของงานนี้อยูที่การปล่อย โคมลอย ขึ้นไปในท้องฟ้ า โดยเชื่อกัน ว่า เปลวไฟในโคมเป็ นสัญลักษณ์ของความรู ้ และแสงสว่างที่ได้รับจากโคม จะ ส่ งผลให้ ดําเนินชีวตไปในทางที่ถกต้อง ิ ู
  • 19. ประเพณียเี่ ป็ ง การจุดโคมลอยมี 2 แบบ คือแบบที่ใช้ปล่อยในประเพณี ยเี่ ปงจะเริ่ มตั้งแต่วนขึ้น 13 คํ่า ั ซึ่งถือว่าเป็ น "วันดา" หรื อวันจ่ายของเตรี ยมไปทําบุญเลี้ยงพระที่วด ครั้น ถึงวันขึ้น 14 คํ่า พ่ออุย ั ้ แม่อุยและผูมีศรัทธาก็จะพากันไปถือศีล ฟังธรรม และทําบุญเลี้ยงพระที่วด มีการทํา กระทง ้ ้ ั ขนาด ใหญ่ต้ งไว้ที่ลานวัด ในกระทงนั้นจะใส่ ของกินของใช้ ใครจะเอาของมาร่ วมสมทบด้วยก็ ั ได้เพื่อเป็ น ทานแก่คนยากจน ครั้นถึงวันขึ้น 15 คํ่า จึงนํากระทงใหญ่ที่วดและกระทงเล็ก ๆ ของ ั ส่ วนตัวไปลอยในลํานํ้าในงาน บุญยีเ่ ป็ งนอกจากจะมีการปฏิบติธรรม ฟังเทศน์มหาชาติตามวัด ั วาอารามต่าง ๆ แล้ว ยังมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรื อน และถนนหนทางด้วย ต้นกล้วย ต้น อ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และชักโคมยีเ่ ป็ ง แบบต่าง ๆ ขึ้นเป็ นพุทธบูชา พอตก กลางคืนก็จะมีมหรสพและ การละเล่นมากมาย มีการแห่โคมทอง พร้อมกับมีการจุดถ้วย ประทีป เพื่อบูชาพระรัตนตรัยการจุดบอกไฟ การจุดโคมไฟประดับตกแต่งตาม วัดวาอาราม และการจุด โคมลอยปล่อยขึ้นสท้องฟ้ าเพื่อเพื่อบูชาพระเกตุ แก้ว จุฬามณี บนสรวงสวรรค์ช้ นดาวดึงส์ ความ ั ่ เชื่อ การปล่อยว่าวไฟหรื อโคมลอยนี้ ชาวบ้านมักมีความเชื่อกันว่า เพื่อให้วาวได้นาเอาเคราะห์ ํ ร้ายภัยพิบติต่างๆออก ไป ั
  • 20. วัฒนธรรม เชียงใหม่มีวฒนธรรมที่โดดเด่นและมีความเป็ นเอก ั ลักษณะเฉพาะ เพราะเชียงใหม่ได้รับอิทธิผลทางด้านวัฒนธรรมมา ่ จากหลายแห่ง ไม่วาจะเป็ น จากลาว ญวน มอญ เป็ นต้น บวกกับการที่ เคยเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักร ล้านนาในอดีต จึงทําให้มีการหล่อหลอมวัฒนธรรมต่างๆเข้าเป็ น อันหนึ่งอันเดียวกับวัฒนธรรมของตน จนทําให้ตนเองมีความโดดเด่น ทางด้านวัฒนธรรมขึ้นมา อาทิ วัฒนธรรมการแต่งกาย วัฒนธรรมการ สร้างบ้านเรื อน วัฒนธรรมการใช้ภาษา เป็ นต้น
  • 21. วัฒนธรรมการแต่ งกาย ชาวเชียงใหม่มีวฒนธรรมอันเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่างหนึ่งคือ เป็ นคน ั ที่ชอบรักสวยรักงาม ดังนั้นวัฒนธรรมการแต่งกายจึงดูออกมาสวยงาม การแต่ง กายของชาวเชียงใหม่น้ ีที่นิยมแต่งกันคือ การแต่งกายด้วยชุดพื้นเมืองเชียงใหม่ ซึ่ง เป็ นชุดย้อนยุคของผูคนชาวล้านนาในอดีต เป็ นชุดที่นิยมแต่งกันเวลามีงานหรื อ ้ กิจกรรมสําคัญๆ เช่น ไปทําบุญที่วด ร่ วมประเพณี ยเี่ ป็ ง ร่ วมกิจกรรมย้อนยุค ั ต่างๆ เป็ นต้น ส่ วนใหญ่ชุดพื้นเมืองทํามาจากผ้าฝ้ าย อันเป็ นพืชที่นิยมปลูกกันใน บริ เวณภาคเหนือของไทย ในปัจจุบนพบว่า ส่ วนใหญ่ผคนชาวเชียงใหม่ไม่ค่อยมี ั ู้ ใครนิยมแต่งกายด้วยชุดพื้นเมือง เวลาออกไปเรี ยนหรื อทํางาน เพราะเป็ นการขัด ต่อวัฒนธรรมสมัยใหม่นนเอง ดังนั้น เราจะเห็นชาวเชียงใหม่แต่งกายด้วยชุด ั่ ่ ้ พื้นเมืองก็เวลาอยูบาน มีงาน ประเพณี หรื อกิจกรรมที่สาคัญเท่านั้น ํ
  • 22. วัฒนธรรมการสร้ างบ้ านเรือน ชาวเชียงใหม่นิยมสร้างบ้านเรื อนตามฐานะของตน ผูที่มีฐานะดีหน่อยจะสร้างบ้านที่มี ้ การประดับตกแต่งอย่างสวยงามเหมาะสมตามฐานะของตน ขณะที่คนมีฐานะยากจนขัดสนจะ สร้างบ้านก็เพียงแค่เป็ นที่ซุกหัวนอนพอยังอัตภาพให้เป็ นไปเท่านั้น ดังนั้น การสร้างบ้านจึงดู ออกมาต่างกัน อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมการสร้างบ้านของชาวเชียงใหม่น้ นอาจแบ่งลักษณะการ ั สร้างตามฐานะได้ 2 แบบ คือ บ้านของคนมีฐานะรํ่ารวย กับ บ้านของคนยากจน บ้านของคนมีฐานะรํ่ารวยนั้น จะเป็ นบ้านที่มีขนาดใหญ่ สร้างด้วยไม้เนื้อแข็ง ส่ วนใหญ่นิยม สร้างด้วยไม้สก ส่ วนบริ เวณจัวหลังคาบ้าน นิยมประดับประดาตกแต่งด้วยกาแล อันเป็ นไม้ ั ่ ประดับบนยอดจัวหลังคาของบ้านล้านนาของภาคเหนือ บ้านประเภทนี้เรี ยกว่า เรื อนกาแล ่ ่ เหตุผลที่ตกแต่งด้วยกาแลก็เพราะความเชื่อที่วา กาแลสามารถช่วยป้ องกันอีกาหรื อนกไม่ให้มา เกาะบนหลังคาบ้าน อีกอย่างก็เพื่อป้ องกันสิ่ งอัปมงคลทั้งหลายไม่ให้เข้ามาภายในบ้าน
  • 23. วัฒนธรรมการสร้ างบ้ านเรือน ส่ วนบ้านของคนยากจน จะเป็ นบ้านที่มีขนาดเล็ก ใช้วสดุที่พอหา ั ได้ตามท้องถิ่นของตน เช่น ไม้ไผ่ ใบตองตึง และไม้ชนิดต่างๆ เป็ นต้น ็ สําหรับผูที่มีฐานะดีข้ ึนมาหน่อย อาจสร้างบ้านเหมือนผูมีฐานะดีกได้ ้ ้ ็ แต่กจะมีขนาดเล็กลดหลังตามฐานะของตน ส่ วนใหญ่บานประเภทนี้มก ้ ั ่ ่ พบตามชานเมืองที่อยูนอกเมืองออกไป ในปั จจุบน พบว่า วัฒนธรรมการสร้างบ้านของชาวเชียงใหม่ ั เปลี่ยนไป กล่าวคือ มีการสร้างบ้านทรงยุโรป หรื อทรงตะวันตกกันมาก ขึ้น มีการนําวัสดุที่มีราคาเพียงมาใช้ในการสร้างบ้าน และมีการประดับ ตกแต่งบ้านด้วยวัสดุเครื่ องประดับอย่างหรู หรา
  • 24. วัฒนธรรมการใช้ ภาษา ชาวเชียงใหม่มีภาษาใช้สื่อสารเป็ นของตนเองที่นอกเหนือจาก ภาษาไทย และเรี ยกภาษาของตนว่า ภาษาล้านนา หรื อ คําเมือง ซึ่ งเป็ น ั ภาษาที่มีใช้กนมานานตั้งแต่เมื่อครั้งอาณาจักรล้านนาแล้ว และได้สืบ ทอดต่อๆกันมา มีการดัดแปลงสําเนียงการพูดบ้าง ตัวอักษรบ้าง โครงสร้างทางภาษาบ้าง เพื่อให้มีความเหมาะสมกับบริ บทแต่ละท้องถิ่น ชาวเชียงใหม่นิยมใช้ภาษาล้านนาหรื อคําเมือง พูดสื่ อสารกันใน ชีวิตประจําวัน ตัวอย่างเช่น มืนตา (ลืมตา) ข้าเจ้า (ดิฉน)เพิ่น (เขา) บ่อ ั หื้ อ (ไม่ให้) เวิยๆ (ไวๆ) ฯลฯ และมีนอยนักที่จะพูดภาษาไทยอันเป็ น ้ ภาษากลางกัน ยกเว้นในกรณี ที่พบปะพูดคุยกันอย่างเป็ นทางกัน เช่น ใน ห้องเรี ยน ในที่ประชุมใหญ่ๆ พิธีการที่สาคัญๆ เป็ นต้น ํ
  • 25. วัฒนธรรมการใช้ ภาษา ชาวเชียงใหม่ยงนิยมเรี ยนภาษาล้านนาหรื อคําเมืองกันตาม ั โรงเรี ยนอีกด้วย ซึ่ งพบเห็นได้ทวๆไปในโรงเรี ยนในเชียงใหม่และ ั่ บางแห่งยังได้เอาภาษาล้านนาหรื อคําเมืองเป็ นวิชาเลือกของโรงเรี ยน อีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว ชาวเชียงใหม่ยงได้มีการนําภาษาล้านนาหรื อ ั ั คําเมืองมาเขียนเทียบคู่กบภาษาไทยตามป้ ายประชาสัมพันธ์หรื อชื่อ สถานที่ที่สาคัญๆ เช่น โรงเรี ยน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หน่วยงาน ํ ราชการอื่นๆ เป็ นต้น
  • 26. วัฒนธรรมการใช้ ภาษา ความงดงามและความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะด้านการใช้ภาษา เป็ น ผลทําให้เชียงใหม่มีความโดดเด่นขึ้นมาและเป็ นมนต์เสน่ห์ที่ดึงดูดความ สนใจของผูคนจากทัวมุมโลกให้ไปเที่ยวชม ไปศึกษาเรี ยนรู ้ถึงความลํ้า ้ ่ ค่านี้ ที่นอกเหนือจากความงดงามและความลํ้าค่าทางด้านโบราณสถาน โบราณวัตถุและธรรมชาติ เชียงใหม่จึงเป็ นเมืองๆหนึ่งที่มีนกท่องเที่ยว ั เดินทางมาเที่ยวชมเป็ นจํานวนมาก
  • 27. บทสรุป การที่เชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อนยาวนานนับ 700 ปี และเคยเป็ นราชธานี ั รวมทั้งเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักรล้านนา ทําให้เชียงใหม่ได้ หล่อหลอมเอาวัฒนธรรมอันลํ้าค่าจากแหล่งอื่นๆมาเป็ นวัฒนธรรมอันโดดเด่น มี ความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของตน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความงดงามในความเป็ น วัฒนธรรมเฉพาะตนอันเป็ นมนต์เสน่ห์ที่ดึงดูดความสนใจของผูคนจากทุกสารทิศ ้ ทัวมุมโลกให้มาเที่ยวชม นอกจากวัฒนธรรมแล้ว เชียงใหม่ยงมีประเพณี ที่แสดงถึง ั ่ ความศรัทธาอย่างแรงกล้าต่อพระพุทธศาสนา ชาวเชียงใหม่พากันจัดประเพณี ต่างๆขึ้น เพื่อเสริ มสร้างความสมัครสมานสามัคคีของผูคนในหมู่คณะและเป็ น ้ อุปถัมภ์ค้ าจุน สื บทอดมรดกทางพระพุทธศาสนาเอาไว้ให้ยงยืน เพื่อตกทอดมรดก ํ ั่ อันลํ้าค่านี้ให้แก่อนุชนรุ่ นหลัง และที่สาคัญประเพณี บางอย่างยังเป็ นเครื่ องแสดง ํ ความถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษอีกด้วย
  • 28. บทสรุป สิ่ งที่บรรพบุรุษชาวเชียงใหม่สืบทอดมรดกมาสู่ลูกหลานในสมัยปั จจุบนนั้น ถือว่าเป็ น ั มรดกอันลํ้าค่าอย่างยิงที่หาไม่มีในที่แห่งอื่น สะท้อนให้เห็นถึงความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ และที่ ่ สําคัญมรดกเหล่านี้ ไม่เพียงแต่มีความงดงามด้านรู ปลักษณ์ภายนอกเท่านั้น หากยังรวมถึงความ งดงามอันมีค่ามหาศาลภายในจิตใจของผูคนที่มาเที่ยวชม อีกด้วย ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่อนุชนรุ่ นหลัง ้ จะต้องตระหนักเห็นคุณค่า ความสําคัญ และเก็บรักษาสิ่ งลํ้าค่านี้ไว้ให้ดี ทั้งประเพณี และวัฒนธรรมของเชียงใหม่ เป็ นสิ่ งที่งดงาม โดดเด่น ลํ้าค่าเกินคําบรรยาย ถือว่า เป็ นต้นแบบของประเพณี และวัฒนธรรมในท้องถิ่นอื่น ท้องถิ่นอื่น ถือเอาแม่แบบที่ได้จาก เชียงใหม่น้ ี นําไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เหมาะสมกับบริ บทของท้องถิ่นตน ความงดงามทางด้าน ประเพณี และวัฒนธรรมนี้เองที่ทาให้เชียงใหม่กลายเป็ นศูนย์กลางแห่งการท่องเที่ยวด้าน ํ ประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งด้านธรรมชาติดวย จึงทําให้เชียงใหม่มีชื่อเลื่องลือขจรขจายไป ้ ทัวโลก ่
  • 29. วิธีดาเนินงาน รายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงาน มีดงต่อไปนี้ ั เสนอหัวข้อโครงงาน ศึกษาและรวบรวมเนื้อหาที่จะต้องใช้พฒนาสื่ อการศึกษา ั ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับ วิชาสังคม ทั้งจากทางหนังสื อและอินเตอร์เน็ต จัดแยกข้อมูลเป็ นหมวดหมู่ เพื่อใช้ในการสร้างเนื้อหาในส่ วนต่าง ๆ ออกแบบงานและจัดหาเครื่ องมือที่เหมาะสม ออกแบบรู ปแบบของงานที่จะนํามาใช้งาน ออกแบบรู ปแบบที่ผใช้สามารถใช้ได้ง่าย ู้ ออกแบบรู ปแบบให้มีความสวยงาม น่าสนใจ
  • 30. ลาดั บ ที่ ขั้นตอน 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทําโครงร่ าง งาน 4 ปฏิบติการสร้าง ั โครงงาน 5 ปรับปรุ งทดสอบ 6 การทํา เอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นําเสนอโครงงาน สั ปดาห์ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
  • 31. เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้ ี่ คอมพิวเตอร์ งบประมาณ 100 บาท สถานทีดาเนินการ ่ บ้าน โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ทเี่ กียวข้ อง ่ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 32. ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ วัยรุ่ นสมัยใหม่มีความรู ้ดานประเพณี และวัฒนธรรมมากขึ้นและต้องการ ้ ่ สื บทอดและประเพณี และวัฒนธรรมเหล่านั้นให้คงอยูและสื บทอดต่อไป