SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรมและการ
อานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในประเทศญี่ปุ่ น
ณัฐเดชน์ ชุ่มปลั่ง Ph.D.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจาภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
International University of Health and Welfare ประเทศญี่ปุ่น
Contents
•ญี่ปุ่นกับผู้สูงอายุ
•กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรม
•การอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
•กรณีศึกษา 3 ตัวอย่าง
1.วัดชินโชจิ หรือ วัดนาริตะ
2.วัดและศาลเจ้า Asakusa
3. เมือง Kawagoe
Quiz 1 ภาพใดเป็นภาพของนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน
1. 2.
3. 4.
Content
•ญี่ปุ่นกับผู้สูงอายุ
•กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรม
•การอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
•กรณีศึกษา 3 ตัวอย่าง
1.วัดชินโชจิ หรือ วัดนาริตะ
2.วัดและศาลเจ้า Asakusa
3. เมือง Kawagoe
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่น
• พื้นที่ 337,944 ตร.กม.
• ประชากร 127 ล้านคน
• ศาสนา พุทธและชินโต
• รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อคน 32,480 ดอลล่าร์ (ปี 2558)
• อัตราตกงาน 3.4% (ปี 2558)
• สกุลเงิน เยน
• อุตสาหกรรมหลัก ยานยนต์ อีเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ อะนิเมชั่น
• เมืองท่าหลัก โยโกฮามา นาโกย่า โกเบ คิตะกิวชิว ฮากะตะ ชิมิซุ
• ยอดส่งออก 625,040 ล้านดอลล่าร์
• สินค้าส่งออกหลัก เครื่องจักร คอมพิวเตอร์ เหล็ก รถยนต์ เลนซ์และกรอบแว่น
• ยอดนาเข้า 648,596 ล้านดอลล่าร์
• สินค้านาเข้าหลัก น้ามัน เครื่องจักร คอมพิวเตอร์ เลนซ์ เครื่องเวชภัณฑ์
ตลาดอันดับ 3 ของโลก
- มีเงินออมเหลือเฟือ
- นิยมสินค้าแบรนด์เนม
- ชอบความสบายหรูหรา
- ห่วงสุขภาพตัวเอง
- นาเข้าค่อนข้างเสรี
29.6
22.918
10.9
10.2
3.3 3 2.1 ที่อยู่อาศัย
อาหาร
อื่นๆ
เดินทาง
บันเทิง/อดิเรก
เสื้อผ้า
สื่อสาร
การศึกษา
ความไม่มั่นใจในอนาคต (อาชีพ + รายได้)
เป้าหมายการส่งออก
ปี 5558
+2.0% มูลค่า 22,907 M$USD
ปี 2557
+1.0% มูลค่า 22,458 M$US
ตลาดญี่ปุ่น
การเลือกซื้อ
จับจ่ายใช้สอยโดยเฉลี่ยของคนญี่ปุ่น (277 ล้านล้านเยน)
โอกาสของญี่ปุ่น
• ตลาดแบรนด์แนมที่ใหญ่ที่สุดในโลก
• รายได้เฉลี่ย 6.16 ล้านเยนต่อครอบครัว
• เงินออมเฉลี่ย 17.39 ล้านเยนต่อครอบครัว
ขนาดเศรษฐกิจใหญ่อันดับที่
3 ของโลก
• พึ่งพิงการนาเข้าอาหารร้อยละ 60
• มูลค่าการนาเข้าอาหารแช่แข็งสูงถึงร้อยละ 43.8 ของการบริโภครวม
• การนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศนับวันจะสูงขึ้น
พึ่งพิงการนาเข้า
• กลุ่มผู้สูงอายุเป็นตลาดใหญ่แนวโน้มเพิ่มขึ้น
• นักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มขึ้นตามนโยบายรัฐบาล ปี 2013 มีจานวนเกิน
10 ล้านคน
• ญี่ปุ่นกาลังขวนขวายหาพลังงานทดแทน
กลุ่มเป้าหมายใหม่ๆ
ปัญหาและจุดอ่อนของญี่ปุ่น
พึ่งพิงการนาเข้าทรัพยากรธรรมชาติมาก โดยเฉพาะพลังงาน
อัตราการเกิดลดลง คนหนุ่มสาวต้องรับภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุ
ค่าแรง/ต้นทุนการผลิตสูง
ส่งผลกระทบต่อขีดความสามารถในการแข่งขัน
ปัญหาชายแดนกับเพื่อนบ้านและภัยธรรมชาติ
Quiz 2 ชาวญี่ปุ่ นที่มีอายุยาวนานที่สุดที่ถูกบันถึกไว้ใน
Guinness Book มีอายุยาวนานกี่ปี
1. 120ปี 2. 116 ปี
3. 112ปี 4.111 ปี
福岡県在住の116
歳の田中力子(か
ね)さんが3月9
日、世界最高齢者
としてギネス世界
記録に認定され
た。
ญี่ปุ่นเป็นสังคมคนสูงอายุ
ประชากรญี่ปุ่น 127 ล้านคน
• ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป มีจานวนถึง 40 ล้าน หรือ
หนึ่งในสาม
ตัวเลขของผู้สูงอายุที่จะขยับไปสู่ช่วงอายุที่มากกว่า 75 ปี
เฉลี่ยในเเต่ละเดือนเพิ่มขึ้น 30,000 คน
• ผู้สูงอายุ อายุ 65 ขึ้นไป ถึง 32 ล้านคน หรือหนึ่งในสี่
→ ผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 65 -74 ปี มีจานวน
17.64 ล้านคน ผู้สูงวัยตอนต้น
→ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 75 ปีขึ้นไปในญี่ปุ่น มีจานวน
17.7 ล้านคน ผู้สูงวัยตอนปลาย
นายกอาเบะเริ่มนโยบายเศรษฐกิจใหม่
มาตรการผ่อนคลาย ทาง
การเงิน/การคลัง
ปล่อยให้เงินเยนอ่อนตัว
ลดกฎระเบียบ
อานวยความสะดวก ด้านการ
ลงทุนของภาคเอกชน
นโยบาย Cool Japan ส่งเสริมการ
ส่งออกสินค้า เกษตร วัฒนธรรม
ท่องเที่ยว
ดึงแรงงานสตรี/ผู้สูงอายุ เข้าสู่
ตลาดแรงงาน
ตั้งเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อขยายตัว 2%
Contents
•ญี่ปุ่นกับผู้สูงอายุ
•กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรม
กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒธรรรม
(Cultural Management)
•การอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
•กรณีศึกษา 3 ตัวอย่าง
1.วัดชินโชจิ หรือ วัดนาริตะ
2.วัดและศาลเจ้า Asakusa
3. เมือง Kawagoe
กระบวนการการจัดการ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรม
1.การออกแบบ บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
• ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการหวงแหนและอนุรักษ์ ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง
ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมประเทศญี่ปุ่ น ( Law on Protection of Cultural Properties )
บัญญัติขอบเขตของ การคุ้มครองทรัพย์สินทางวัฒนธรรมที่มีรูปร่าง (Tangible
Cultural Properties) ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมที่ไม่มีรูปร่าง (Intangible Culture
Properties) ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมพื้นเมือง Properties) อนุสาวรีย์ (Monuments) และ
กลุ่มอาคารโบราณ (Groups of Historic Buildings)
• การนาเสนอลงทะเบียนให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและนานาชาติ
เช่น การกาหนดเป็นสมบัติท้องถิ่น ประเทศ หรือการนาเสนอในระดับนานาชาติ เช่นมรดกโลก
2.การกาหนดกรอบ แนวทางในการดาเนินงาน
・ การคานึงถึงการออกแบบที่อยู่อาศัยที่ไร้สิ่งกีดขวาง ออกเป็นกฎหมาย
‘Barrier Free Law’ ชื่อเต็มว่า ‘กฎหมายเพื่อการสนับสนุนการเคลื่อนที่
และการเข้าถึงอย่างสะดวกสบายของผู้พิการและผู้สูงอายุ’ มาบังคับใช้ตั้งแต่ปี
2006
・รัฐบาลญี่ปุ่นต้องการให้พวกเขาสามารถมีส่วนร่วมกับชุมชนและใช้ชีวิตได้
อย่างเต็มที่ จึงออกเกณฑ์มาตรฐานในการก่อสร้างและปรับปรุงอาคาร รวมถึง
การขนส่งสาธารณะเพื่อรองรับคนกลุ่มนี้เช่น กาหนดพื้นที่ของห้องน้า ลักษณะ
ประตู ทางเดิน ขั้นบันได พื้นที่จอดรถ ป้ายสัญลักษณ์ต่างๆ
•สิ่งที่ท้าทาย
การออกแบบพื้นที่ในอาคาร และอยู่นอกเหนือการควบคุมของบริษัท
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ก็เพราะชีวิตคนไม่ได้อยู่แค่ในอาคาร แต่คือการเคลื่อนที่ไป
ทากิจกรคือ เมืองทั้งเมืองจะต้องปรับตัวให้สอดรับกับสังคมสูงวัย
2.การสร้างคุณค่าและยกระดับแหล่งท่องเที่ยว
•การนาเสนอให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศและนานาชาติ
เช่น การกาหนดเป็นสมบัติท้องถิ่น ประเทศ
หรือการนาเสนอในระดับนานาชาติ เช่น
มรดกโลก
มรดกโลก 20 แห่ง
มรดกในระดับท้องถิ่นและประเทศ กว่า
30000 แห่ง
กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒธรรม
“กระบวนการการจัดการ เชิงวัฒธรรม
• “การอนุรักษ์และการสงวนรักษา“ เพื่อให้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมดารงค์อยู่
• การจัดการทรัพยกรในเชิงวัฒนธรรม โดยแบ่ง
1. การสงวนรักษา(Preservation)
2. การนาไปใช้ประโยชน์ (Use)
3.การให้ความคุ้มครอง (Protection)
4.การศึกษาเพื่อการอนุรักษ์ (Selection investigation)
5.การค้นหาแนวทางใหม่ในการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม (Development of
ways and means )
แนวคิดการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรม
• การท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมจะเน้นการ
เดินทางไปสู่ปูระสบ
การณ์และกิจกรรมการมี
ส่วนร่วมในวิถีชีวิตที่
อาจจะพบเห็นได้ยากใน
ชีวิตประจาวัน เช่น
โปรแกรมท่องเที่ยว
โอกินาว่า
รูปแบบการท่องเที่ยว โปรแกรมเพื่อสร้างความประทับใจของโอกินาวะเน้นการท่องเที่ยวเข้าไปสัมผัสพื้นที่และวิถี
ชีวิตที่ได้รับการฟื้นฟูให้อยู่ในสภาพดั้งเดิมหรืออาหารพื้นเมือง
การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ท้องถิ่น ในญี่ปุ่น
• เทศกาลประจาปี เป็นที่หลอมรวมคนในชุมชน
• ความรู้สึกของการเป็นเจ้าของ ของการอยู่ในสังกัด
• เข้าใจประวัติความเป็นมา ถ่ายถอดส่งต่อ จากรุ่นสู่รุ่น
Contents
•ญี่ปุ่นกับผู้สูงอายุ
•กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรม
•การอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
•กรณีศึกษา 3 ตัวอย่าง
1.วัดชินโชจิ หรือ วัดนาริตะ
2.วัดและศาลเจ้า Asakusa
3. เมือง Kawagoe
การอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
• UNIVERSAL TOURISM
“การท่องเที่ยวสาหรับทุกคนเพื่อคนทุกคน”
•Kaigo Travel
• นวัตกรรรมเพื่อผู้สูงอายุ Innovation for elder Adults
• UNIVERSAL DESIGN “การออกแบบเพื่อคนทุกคน”
การออกแบบผลิตภัณฑ์ และสภาพแวดล้อม ที่ปราศจากการออกแบบ
หรือแปลงเป็นพิเศษ เป็นการออกแบบที่ทุกคนสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง
กว้างขวางเท่าที่เป็นไปได้มากที่สุด โดยไม่มีข้อจากัดทางอายุและสภาพ
ร่างกาย
1.UNIVERSAL TOURISM
UNIVERSAL DESIGN
เป็นแนวความคิดสากลที่องค์กรสหประชาชาติได้พยายามเผยแพร่และส่งเสริม จากแนวความคิด
เดิมเพื่อให้คนพิการได้รับสิ่งอานวยความสะดวกในการดารงชีวิตในอาคารและสิ่งแวดล้อมประะกอบไปด้วย
หลัก 7 ประการได้แก่
1. ทุกคนสามารถใช้ได้อย่างเท่าเทียมกัน (Equitable Use)
2.มีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนการใช้ได้(Flexible Use)
3.ใช้งานง่าย (Simple and Intuitive Use)
4.การสื่อความหมายที่เข้าใจง่าย (Perceptible Information)
5.การออกแบบเพื่อการใช้งานที่ผิดพาดได้(Tolerance for Error)
6.ใช้แรงน้อย (Low Physical Effort)
7.มีขนาดและพื้นที่ ที่เหมาะสมกับการเข้าถึงและการใช้งานได้(Size and
Space for Approach and Use)
ความแตกต่างระหว่าง
ตู้จาหน่ายเครื่องดื่มอัตโนมัติ
นวัตกรรรมเพื่อผู้สูงอายุ Innovation for elder Adults
2.Kaigo Travel
บริการนาเที่ยวพาผู้สูงอายุที่ติดเตียงไปตามสถานที่ต่างๆ และมีการทาการย
ภาพบาบัด หรือมคนคอยดูแลในระหว่างทางด้วย
บริการการเดินทางท่องเที่ยวที่มีแพทย์ติดตาม
3.Innovation for elder Adults
การท่องเที่ยวผ่าน VR คือการจาลองสภาพแวดล้อมจริงเข้าไปให้เสมือนจริง โดยผ่านการ
รับรู้จากการมองเห็น เสียง สัมผัส แม้กระทั้งกลิ่น โดยจะตัดขาดเราออกจากสภาพแวดล้อม
ปัจจุบัน
Content
• ญี่ปุ่นกับผู้สูงอายุ
• กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรม
• การอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
•กรณีศึกษา 3 ตัวอย่าง
1.วัดชินโชจิ หรือ วัดนาริตะ
2.วัดและศาลเจ้า Asakusa
3. เมือง Kawagoe
1.วัดชินโชจิ หรือ วัดนาริตะ
• วัด วัด นาริตะ-ซัง ชินโช-จิ ตั้งอยู่ในเมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ เป็นหนึ่งในวัดหลักของนิกาย Shingon-shu
Chizan-ha สร้างในปี 940 พระประธานคือ Fudomyoou และที่นี่ก็มีคนมากมายมาสักการะเทพเจ้า นาริ
ตะ-ซัง ทุกๆวัน กว่า 1080 ปี จะมีการประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับเปลวไฟ สาหรับผู้ที่มาแสวงบุญ
• ณวเ ิรบด ัวงา ้วก ่ีทน ้ืพน ็ปเาคาอยว ้ดบอกะรปๆงา ่ตร่กแ ้ดไราห ิว
า ้จเพทเงอขนาฐษ ิดะรป ่ีทน ็ปเง ่ึซก ัลหKomyodo (งอ ่ืรเง ัวหมส
ก ัรมาวค) Shakado ( ีดคชโ) Shusseinari(รากงาทา ้นหวา ้กมาวค
นาง) ๆน ่ือราห ิวะลแย ัภดอลปงาทน ิดเ ้หใอ ่ืพเะรากก ัส ่ีทน ็ปเ
ษ ุร ุบพรรบพาภข ุสวายน ืย ุยาอ ีม ้หใะลแจกอน้ีนอหมาส ีมะจกา
ว ้ลแยว ้ดก ีอ ์ย ีดจเ ีมง ัย ่ีน ่ีท่ตแกตง ่ึซูตะรปะลแก ัลสะกแพาภยว ้ดง
Nioumon ก ัลหราห ิวดไน ับงอขงาลกงว ่ช ่ีท้ดไะลแดจรากบ ัร
ุ่ป ่ีญงอขมรรธนฒ ัวงาท ิต ับมสน ็ปเ ้หในย ีบเะทนจใบ ัทะรปา ่นะลแ
ก ันง ่ิย
UNIVERSAL DESIGN
2.วัดและศาลเจ้า Asakusa
3. เมือง Kawagoe
ของฝาก
Discussion
ถ้าท่านต้องการจะแก้ไขปัญหาด้านการท่องเที่ยว
ในชุมชนของท่าน สิ่งที่ท่านอยากทาสิ่งแรกคืออะไร
สรุป
•ญี่ปุ่นกับผู้สูงอายุ
•กระบวนการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒธรรรม
•การอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
•กรณีศึกษา 3 ตัวอย่าง
1.วัดชินโชจิ หรือ วัดนาริตะ
2.วัดและศาลเจ้า Asakusa
3. เมือง Kawagoe

More Related Content

What's hot

Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนDr.Pirun Chinachot
 
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...Faii Kp
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวArtitayamontree
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554Zabitan
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดnattatira
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ธนพร แซ่เอี้ยว
 

What's hot (12)

Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืน
 
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์
 

Similar to Cultural tourism management for the older person in japan

Teaching & Learning Global Awareness
Teaching & Learning Global AwarenessTeaching & Learning Global Awareness
Teaching & Learning Global Awarenessmatanaslideshare
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศDenpong Soodphakdee
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวicecenterA11
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8pair paplern
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐dtschool
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชแผนงาน นสธ.
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 
Univ futuremu 620301
Univ futuremu 620301Univ futuremu 620301
Univ futuremu 620301Pattie Pattie
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 

Similar to Cultural tourism management for the older person in japan (20)

Teaching & Learning Global Awareness
Teaching & Learning Global AwarenessTeaching & Learning Global Awareness
Teaching & Learning Global Awareness
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 
Univ futuremu 620301
Univ futuremu 620301Univ futuremu 620301
Univ futuremu 620301
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
Change Management 2015
Change  Management 2015Change  Management 2015
Change Management 2015
 

More from Nattadech Choomplang

Japan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderlyJapan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderlyNattadech Choomplang
 
Thailland's healthcare policy for the elderly
Thailland's healthcare policy for the elderlyThailland's healthcare policy for the elderly
Thailland's healthcare policy for the elderlyNattadech Choomplang
 
The health and welfare system in Thailand
The health and welfare system in ThailandThe health and welfare system in Thailand
The health and welfare system in ThailandNattadech Choomplang
 

More from Nattadech Choomplang (6)

Japan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderlyJapan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderly
 
Thailland's healthcare policy for the elderly
Thailland's healthcare policy for the elderlyThailland's healthcare policy for the elderly
Thailland's healthcare policy for the elderly
 
Introdution of thailand
Introdution of thailand Introdution of thailand
Introdution of thailand
 
New perspectives on japan
New perspectives on  japanNew perspectives on  japan
New perspectives on japan
 
Volunteer management in japan
Volunteer management  in japanVolunteer management  in japan
Volunteer management in japan
 
The health and welfare system in Thailand
The health and welfare system in ThailandThe health and welfare system in Thailand
The health and welfare system in Thailand
 

Cultural tourism management for the older person in japan

Editor's Notes

  1. https://www.youtube.com/watch?v=OR_Y7vj66PU