SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1 
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนทีÉ 1) 
การเปลีÉยนแปลงของอีสาน1 
อุกฤษฏ์ เฉลิมแสน 
chalermukrit@gmail.com 
แผนงานนโยบายสาธารณะเพือÉการพัฒนาอนาคตของเมือง 
บทนำ 
เมืÉอทราบว่าลูกชายออกไปชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลเลนินทีÉตนเองรักและศรัทธา "แม่" ชาว 
เบอร์ลินผู้ยึดมันÉในลัทธิคอมมิวนิสต์ ทีÉมีอาการป่วยหนักอยู่แล้ว มีอันต้องล้มป่วยจนหมดสติไปนาน 
หลายปี แต่แล้วปาฏิหาริย์ก็เกิดขึนÊ เมืÉอเธอฟืÊนจากอาการป่วย ในช่วงทีÉประเทศเยอรมนีตะวันออกไม่มี 
อีกแล้ว กำแพงเบอร์ลินพังทลายลงมา เสียงโห่ร้องดีใจของคนเยอรมันหลังจากทีมฟุตบอลชายคว้าแชมป์ 
โลก ค.ศ.1990 สังคมทุนนิยม บริโภคนิยม แพร่กระจายในโฆษณามีให้เห็นในทุกซอกทุกมุมของเมือง 
และทีสÉำคัญอนุสาวรีย์เลนินก็ถูกโค่นล้มลงเหลือเพียงความว่างเปล่า ในเมืÉอความจริงเป็นสิงÉทีÉทำให้แม่ 
ต้องล้มป่วยอีกครังÊ หรืออาจสินÊใจก็เป็นได้ "ลูกชาย" จึงต้องวาดภาพและสร้างบรรยากาศให้แม่เห็นและ 
รู้สึกว่าประเทศเยอรมนีตะวันออกยังคงมีอยู่2 
(ภาพที É1) 
ภาพยนตร์เรืÉองดังกล่าวผุดขึÊนมาระหว่างการเขียนบทความนีÊ พร้อมกับนึกสนุกอยู่ในใจว่า 
สมมติมีหนุ่มอีสานคนหนึÉงนอนหลับยาวนานนับ 100 ปี แล้ววันหนึÉงเขาตืÉนขึนÊมาพบกับสังคมอีสานใน 
วันนีÊ เขาจะรู้สึกถึงความเปลีÉยนแปลงของบ้านเกิดเมืองนอนอย่างไรบ้าง ถึงแม้เขาทราบดีว่าการ 
เปลียÉนแปลงเป็นหลักความจริงของโลก ดังทีÉเฮราคลิตัส (Heraclitus) นักปราชญ์ชาวกรีกเคยกล่าวว่า 
คนๆหนึÉงไม่อาจจุ่มเท้าลงในแม่นํÊาสายเดียวได้ถึงสองครังÊ เนืÉองจากแม่นํÊาไม่ใช่สายเดิม และคนก็ไม่ใช่ 
คนเดิม (สุริชัย หวันแก้ว 2553 : 155) 
1 ข้าพเจ้าต้องขอขอบพระคุณบุคคลหลายท่านทีมÉอบโอกาสให้ข้าพเจ้าได้เขียนบทความนี Ê 
ท่านแรกคือ ศาสตราจารย์ ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้ซึÉงให้คำแนะนำข้าพเจ้าเขียนถึงภาคอีสานในยุคบูรพาภิวัตน์ และกำชับข้าพเจ้า 
ให้เขียนในฐานะอีสานคือ บ้านเกิดเมืองนอนของข้าพเจ้าเอง ท่านต่อมาคือ คุณยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้จัดการแผนงานนโยบายสาธารณะ 
เพืÉอการพัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) ผู้ซึÉงให้ความกรุณาแก่ข้าพเจ้ามีเวลาศึกษาค้นคว้าในการเขียนบทความนี Êและแนะนำให้เพิÉม 
ความน่าสนใจของบทความให้แก่ข้าพเจ้า สุดท้ายขอขอบพระคุณเจ้าหน้าทีÉแผนงาน นพม. ทุกท่าน ทีÉแบ่งเบาภาระงานของข้าพเจ้า 
เพืÉอให้ข้าพเจ้าสามารถเขียนบทความนีไÊด้อย่างเต็มที É 
การเขียนบทความนียÊังมีข้อบกพร่องอยู่หลายประการ และข้าพเจ้ายินดีน้อมรับคำชีแÊนะทุกประการ เพราะมุ่งหวังว่าข้อบกพร่องต่างๆ จะ 
นำไปสู่การปรับปรุงเพืÉอให้ “อีสานใหม่” มีความสมบูรณ์มากยิÉงขึนÊ 
2 ภาพยนตร์เรืÉอง Good bye Lenin ! เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันทีÉออกฉาย พ . ศ .2546 กำกับโดย วูล์ฟกัง เบกเกอร์ ภาพยนตร์ 
ประสบความสำเร็จด้านรายได้อย่างถล่มทลายในประเทศเยอรมนี และยุโรป ได้รับการเสนอชืÉอเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศ 
ยอดเยีÉยม รางวัลบาฟตา และรางวัลลูกโลกทองคำ และได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยีÉยม รางวัลโกยา รางวัลซีซาร์ และรางวัลยูโรเปียน 
ฟิล์ม
2 
ภาพที É1 โปสเตอร์ภาพยนตร์เรืÉอง Good Bye Lenin ! 
ทีมÉา : www.listal.com 
การเปลียÉนแปลงนันÊไม่ได้บอกถึงความก้าวหน้าหรือการถดถอย ในทฤษฎีการเปลีÉยนแปลงก็มี 
ความหลากหลาย เป็นต้นว่า ทฤษฎีวิวัฒนาการ (evolution theory) ทีÉเห็นว่าสังคมทีÉจะเจริญก้าวหน้า 
ย่อมต้องมีการเปลียÉนแปลง และการเปลียÉนแปลงนันÊต้องเป็นไปในทิศทางทีเÉหมาะสม ส่วนทฤษฎีวัฎจักร 
(cyclical theory) คือ แนวคิดทีÉอธิบายว่าการเปลีÉยนแปลงของสังคมเป็นไปในลักษณะของวงจรคือไม่ 
รู้จักจบสินÊ เนืÉองจากเกิดขึนÊแล้วอาจย้อนกลับมาเป็นเหมือนเดิม ดังเช่น วัฏจักรของชีวิต (เกิด เติบโต 
แก่ เจ็บ ตาย) 
ภาคอีสานในวันนีÊเปลีÉยนแปลงไปอย่างมาก ถึงแม้ยังเป็นภาคทีÉยากจนทีÉสุดในประเทศ แต่ 
ภายในระยะเวลา 20 ปีทีผÉ่านมา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของภาคอีสานขยายตัวอย่างเด่นชัด ทังÊ 
ข้อมูลของรัฐ และข้อมูลแหล่งอืÉนๆระบุถึงการเปลียÉนแปลงมาโดยตลอด ซึÉงตรงกันข้ามกับเสียงชืÉนชมทีÉ 
ยังไม่มากเท่าทีคÉวร (Grandstaff et al. 2008) นันÉจึงอาจเป็นไปได้ว่า ผู้คนยังรับรู้ภาพของความเป็นภาค 
อีสานทีหÉยุดนิÉงหรือไม่เคลืÉอนไหว บทความนีÊจึงเห็นความสำคัญทีÉจะนำเสนอการเปลีÉยนแปลงทีÉเกิดขึนÊ 
ในภาคอีสาน หรือในชืÉอ “อีสานใหม่” ในแง่มุมของการเปลีÉยนแปลงทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ และ 
สังคมวัฒนธรรม เพืÉอนำไปสู่ความเข้าใจภาคอีสานทัÊงอดีต ปัจ 
จุบัน รวมถึงทางเลือกในการพัฒนาภาค 
อีสานในอนาคต 
10 ปีทีผÉ่านมามีงานศึกษาจำนวนมากทีกÉล่าวถึงการเปลีÉยนแปลงของภาคอีสานทังÊงานวิชาการ 
และงานสืÉอสิงÉพิมพ์ต่างๆ เช่น “อีสานบ้านเฮาเปลีÉยนไป” "อีสานพืÊนทีÉยุทธศาสตร์แห่งอนาคต" แต่งาน 
เหล่านีÊไม่เคยใช้คำว่า “อีสานใหม่” มีเพียงงานศึกษาไม่กีÉชิÊน (พฤกษ์ เถาถวิล 2555 ; พัฒนา กิติอาษา 
2557) ซึÉงเป็นงานศึกษาทีÉมีพลังในการอธิบายการเปลีÉยนแปลงของภาคอีสาน และอธิบายให้รัฐและ 
สังคมไทยเข้าใจในพลวัตของภาคอีสานไม่ว่าจะเป็น “เพืÉอลดอคติ หรือความคาดหวังทีÉไม่สอดคล้องกับ 
ความเป็นจริง อันเป็นสาเหตุของความตึงเครียดและขัดแย้งของสังคมไทยทีÉผ่านมา” (พฤกษ์ เถาถวิล 
2555 : 1) หรือ “วิถีอีสานใหม่ช่วยให้เรามองเห็นความเป็นไปได้ทีÉชุมชนและอัตลักษณ์ทางสังคมของ
3 
ผู้คนจะไม่ติดแน่นตายตัวกับพืนÊทีภÉูมิรัฐศาสตร์แบบดังÊเดิม” (พัฒนา กิติอาษา 2557: 151) โดยในทีÉนีÊจะ 
ขอกล่าวถึงงานศึกษาอีสานใหม่ 2 ชินÊ ได้แก่ 
งานแรกคือ งานศึกษาของพฤกษ์ เถาถวิล (2555) อาจารย์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย 
อุบลราชธานี จากบทความ “(ร่าง) อีสานใหม่ : ความเปลีÉยนแปลงจากการพัฒนาในรอบศตวรรษ” ทีÉ 
ศึกษาทบทวนการพัฒนาภาคอีสานในรอบศตวรรษ โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ทศวรรษทีผÉ่านมา พร้อมสรุป 
สภาพสังคมอีสานใหม่ 3 ประการดังนีÊ 
ประการแรก ภาคอีสานได้เปลียÉนแปลงจากดินแดนชายขอบทางภูมิศาสตร์ของรัฐไทย มาเป็น 
ดินแดนทีÉสามารถเข้าถึงได้ง่ายด้วยการคมนาคมและขนส่งทีÉสะดวกรวดเร็ว เป็นสะพานเชืÉอมต่อทาง 
เศรษฐกิจกับอินโดจีนและพม่า 
ประการทีÉสอง ระบบเศรษฐกิจหลักของภาคอีสานไม่ได้เป็นเศรษฐกิจเพืÉอยังชีพมานานแล้ว 
หากแต่ได้เข้าเป็นส่วนหนึÉงของเศรษฐกิจเชิงพาณิชย์ ซึÉงเป็นเศรษฐกิจในระบบทุนนิยม ในระบบนีÊ 
เศรษฐกิจของอีสานไม่ใช่ภาคเกษตรกรรมอย่างทีÉเข้าใจกัน แต่เป็นโครงสร้างทีÉมีการค้าและการบริการ 
นำหน้า ตามมาด้วยภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม 
ประการทีสÉาม ภาคชนบทของอีสาน ทีชÉาวบ้านเป็นเกษตรกรยากจนทำการผลิตเพืÉอยังชีพและมี 
วิถีชีวิตชนบททีÉแตกต่างจากคนเมืองได้กลายเป็นมายาคติ ในชนบทชาวบ้านสัมพันธ์กับเศรษฐกิจ 
ภายนอก แม้แต่ครัวเรือนทียÉากจนทีสÉุด ดังนันÊจึงไม่อาจพูดได้ว่าคนชนบทในอีสานทำการผลิตเพืÉอยังชีพ 
งานอีกชินÊหนึÉงเป็นงานศึกษาของพัฒนา กิติอาษา อาจารย์ทางด้านมานุษยวิทยาทีÉศึกษาสังคม 
วัฒนธรรมอีสานตลอดชีวิตการทำงาน จนกระทังÉท่านจากโลกนีÊไป ในชืÉองาน “สู่วิถีอีสานใหม่” (2557) ทีÉ 
อธิบายถึงการก่อตัวของอีสานใหม่และการดำเนินต่อไปในยุคหลังสงครามเย็นด้วยลักษณะ 11 ประการ 
ได้แก่ (1) ความหมายใหม่ของพืÊนทีÉภูมิรัฐศาสตร์ (2) การขยายตัวของสาธารณูปโภค (3) โครงสร้าง 
ประชากรใหม่ (4) การขยายตัวของเมืองและบทบาทของเมืองชายแดน (5) การขยายตัวของระบบ 
การศึกษา การบริการสุขภาพ บริการสินเชืÉอ และบริการต่างๆจากภาครัฐ (6) พัฒนาการของ 
เกษตรกรรมรูปแบบใหม่ (7) การย้ายถินÉแรงงาน (8) การแต่งงานข้ามชาติข้ามวัฒนธรรม (9) ผลกระทบ 
การขยายตัวของสืÉอมวลชนทางเลือก (10) พลังการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมสมัยนิยม (11) อัตลักษณ์ 
ทางสังคมใหม่ของคนอีสาน 
ตัวอย่างงานศึกษาทีÉหยิบยกมานีÊ เป็นงานทีÉกล่าวถึง “อีสานใหม่” และแสดงให้เห็นถึงความ 
เปลีÉยนแปลงทังÊในระดับโครงสร้าง (structure) และระดับผู้กระทำการ (agency) ซึÉงเปลีÉยนแปลงจน 
หลอมรวมกลายเป็น “อีสานใหม่” อย่างน่าสนใจ ในบทความนีÊผู้ศึกษาให้ความสนใจการเปลีÉยนนิยาม 
ความหมายหรือภาพของอีสานทีผÉู้คนทัวÉไปรับรู้ หรือ “อีสานเก่า” ไม่ว่าจะเป็นนิยามความเป็นคนอีสาน 
ว่า “โง่ จน ล้าหลัง และด้อยพัฒนา” มาเป็นอีสานใหม่ทีหÉมายถึง คนอีสานมีจินตนาการใหม่ มีสำนึกของ 
การขับเคลืÉอนเพืÉอเปลียÉนแปลงบ้านเมืองของตนเอง ด้วยเหตุนีÊอีสานใหม่จึงไม่ใช่ดินแดนด้อยพัฒนาอีก 
ต่อไป แต่เป็นพืÊนทีÉยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจทีÉสำคัญของประเทศไทย อีกทังÊยังเป็นแหล่ง “ขุมทรัพย์”
4 
แห่งใหม่ทีÉต่างชาติให้ความสนใจ อย่างไรก็ตามจุดมุ่งหมายของผู้ศึกษาไม่ได้ต้องการเสนอว่า “อีสาน 
ใหม่” เป็นภาวะทีเÉหมาะสมกว่า “อีสานเก่า” เพียงแต่ต้องการอธิบายให้เห็นถึงการเปลีÉยนแปลง เพืÉอให้ 
ผู้คนได้รับรู้ถึงภาคอีสานทีเÉป็นอยู่ และทางเลือกในการพัฒนาภาคอีสานในอนาคตว่า ควรจะเป็นอย่างไร 
เป็นหลักสำคัญ 
เพืÉอแสดงให้เห็นถึงการเปลีÉยนแปลงของการรับรู้และเข้าใจภาคอีสานจนกระทังÉก่อตัวขึนÊเป็น 
อีสานใหม่ ผู้ศึกษาขอเริมÉต้นบทความนีÊด้วยการเสนอการเปลียÉนแปลงของภาคอีสาน 4 ยุค ได้แก่ 
1) ภาพอีสานในยุคก่อนรัชกาลที É5 
2) ภาพอีสานในยุคปฏิรูปสมัยรัชกาลที É5 
3) ภาพอีสานในยุคสงครามเย็น 
4) ภาพอีสานใหม่ : การเปลียÉนแปลงด้านภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) โดยสังเขป 
การเปลียÉนแปลงภาพอีสานทีเÉกิดขึนÊใน 4 ยุคนีÊจะช่วยให้เข้าใจว่าอีสานมีการเปลียÉนแปลงมาโดย 
ตลอด อาจมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไปในแต่ละยุคสมัย การทำความเข้าใจการเปลีÉยนแปลงของการ 
รับรู้และเข้าใจภาคอีสานจะช่วยเป็นพืนÊฐานสำคัญในการทำความเข้าใจความเป็นอีสานใหม่ ทีผÉู้ศึกษาจะ 
นำเสนอเพิÉมเติมในตอนต่อๆไป 
1.การก่อตัวของอีสานใหม่ : พัฒนาการของอีสานในแต่ละยุค 
1.1 ภาพอีสานในยุคก่อนรัชกาลทีÉ 5 
พัฒนาการของภาคอีสานในช่วงก่อนทีÉสยามเข้าครอบครองอีสานทังÊหมดและลาวในรัชสมัย 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใน พ.ศ. 2322 อีสานไม่เพียงถูกแยกออกจากภูมิภาคอืÉนๆด้วยสภาพทาง 
ภูมิศาสตร์ทีÉกางกันÊอยู่เท่านันÊ แต่ในประวัติศาสตร์ทางการเมืองยังพบว่าอีสานถูกแบ่งแยกจากผู้ 
ครอบครองดินแดนทีรÉาบสูงแห่งนีÊอย่างชัดเจน ทังÊอาณาจักรอังกอร์ ลาว รวมถึงสยาม 
ในทางภูมิศาสตร์ภาคอีสานถูกแยกออกจากภาคกลางและส่วนอืÉนๆของประเทศไทยด้วย 
เทือกเขาสูงและป่าทึบด้านทิศตะวันตก ส่งผลให้อีสานเป็นพืÊนทีÉทีÉห่างไกลจากศูนย์กลางของอาณาจักร 
สยาม เคยมีบันทึกว่าก่อนมีการสร้างทางรถไฟ การคมนาคมระหว่างภาคอีสานกับกรุงเทพฯ มี 2 
เส้นทางหลัก คือ กรุงเทพฯไปนครราชสีมา และกรุงเทพฯไปยังอุบลราชธานี การเดินทางในเวลานันÊต้อง 
ใช้เวลายาวนาน ผ่านป่าทึบ ภูเขา โจรผู้ร้าย รวมถึงไข้ป่า หากเดินทางในช่วงฤดูฝนจะยิÉงทวีความ 
ยากลำบากในการเดินทางสู่ภาคอีสาน บางเส้นทางถูกตัดขาดไม่สามารถเดินทางต่อได้ กระทังÉมีการ 
สร้างเส้นทางรถไฟจากกรุงเทพฯถึงนครราชสีมาและอุบลราชธานี ทีÉเริมÉสร้างในพ.ศ. 2443 และพ.ศ. 
2469 ตามลำดับ แต่ก็ได้ใช้เวลาราว 2 ทศวรรษหลังจากนันÊจึงสามารถเข้าถึงจังหวัดในเขตอีสานด้านใน 
ได้ (มณีมัย ทองอยู่ 2546) (ดูเพิมÉเติมภาพที É2)
5 
ภาพที É2 ทีพÉักคนเดินทางทีจÉะไปกรุงเทพฯในอดีต อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา 
ทีมÉา : www.skyscrapercity.com 
สำหรับการตังÊบ้านเรือนของคนอีสานกระจายตัวอยู่ตามริมแม่นํÊา หมู่บ้านเหล่านีÊเป็นเพียง 
หมู่บ้านเล็กๆตังÊแต่สิบหลังคาเรือนจนถึงห้าสิบหลังคาเรือน ประกอบด้วยคนลาวเป็นหลักทีÉมาจากการ 
อพยพและถูกกวาดต้อนระหว่างทีเÉกิดศึกสงคราม ยกเว้นบริเวณทีใÉกล้กับจังหวัดนครราชสีมาทีมÉีคนไทย 
อาศัยอยู่ รวมถึงพ่อค้าชาวจีนทีตÉังÊถินÉฐานในเมืองและบริเวณใกล้ๆ ขณะทีÉคนลาวทีÉอพยพโยกย้ายครังÊ 
ใหญ่เกิดขึนÊในช่วงสมัยพระเจ้าตากสินมหาราชเมืÉอครังÊจำปาสักกลายเป็นส่วนหนึÉงของอาณาจักรสยาม 
โดยคนกลุ่มนีÊแสวงหาดินแดนแห่งใหม่ทีÉมีความอุดมสมบูรณ์ ดังจะเห็นได้จากการเกิดขึÊนของเมือง 
สุวรรณภูมิ (อำเภอหนึÉงในจังหวัดร้อยเอ็ดปัจ 
จุบัน) ซึงÉตังÊอยู่บริเวณลุ่มนํÊาชีตอนล่าง ความเปลียÉนแปลงทีÉ 
เกิดขึนÊนีÊได้รับการสนับสนุนจากรัฐสยามซึงÉต้องการให้คนกลุ่มดังกล่าวมีความยากลำบากหากจะกลับถินÉ 
ฐานเดิมของตนในอีกฟากฝงัÉของแม่นํÊาโขง 
เหตุการณ์การโยกย้ายผู้คนครังÊใหญ่ได้เกิดขึนÊอีกครังÊในสมัยเจ้าอนุวงศ์ (พ.ศ. 2369-2371) ซึÉง 
พ่ายแพ้สงครามต่อสยามในสมัยรัชกาลที É3 แต่ครังÊนีÊการโยกย้ายผู้คนไม่เกิดขึนÊในเขตภาคอีสานเท่านันÊ 
แต่ยังรวมถึงการโยกย้ายผู้คนสู่เขตภาคกลาง ดังทีมÉีชืÉอเรียกว่า “ลาวเวียง” “ลาวทรงดำ” ในบริเวณภาค 
กลาง ขณะเดียวกันคลืÉนการอพยพและโยกย้ายของผู้คน ทำให้ภาคอีสานเกิดเมืองต่างๆขึนÊอีกหลาย 
แห่ง3 อย่างไรก็ตามเมืองทีเÉกิดขึนÊในเวลานีÊ (สมัยรัชกาลที É3 และรัชกาลที É4) หรือตังÊในช่วงก่อนหรือหลัง 
รัฐสยามให้ใช้ระบบการปกครองแบบล้านช้าง (ระบบอาญาสีÉ) โดยส่วนกลางมอบหมายให้ผู้นำท้องถิÉน 
3 โดยเฉพาะเมืองในพืนÊทีรÉอบๆ ทิวเขาภูพาน เช่น สกลนคร นครพนม มุกดาหาร และกาฬสินธ์ุ
6 
ปกครองและบริหารงานในท้องถิÉนเอง หน้าทีÉของหัวเมืองทีÉต้องปฏิบัติต่อส่วนกลางมีเพียงเกณฑ์ผู้คน 
เมืÉอมีศึกสงคราม รวมถึงเก็บส่วยให้ได้ตามทีสÉ่วนกลางกำหนด (สุวิทย์ ธีรศาศวัต 2546) 
ด้านเศรษฐกิจของภาคอีสานเวลานันÊยังไม่ถูกผนวกรวมกับระบบตลาดดังเช่นภูมิภาคอืÉนของ 
สยาม คนอีสานยังทำการเพาะปลูกเพืÉอยังชีพพร้อมทัÊงการหาของป่าและล่าสัตว์ ส่วนใหญ่นิยมปลูกข้าว 
เหนียวเพืÉอบริโภคและแลกเปลีÉยนในท้องถิÉน ขณะทีÉความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของหมู่บ้านกับสังคม 
ภายนอกมีค่อนข้างจำกัด แม้แต่หลังลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ริงÉระหว่างสยามกับอังกฤษในพ.ศ. 2398 
เศรษฐกิจภาคกลางถูกผนวกรวมเป็นส่วนหนึÉงของระบบตลาดแล้ว แต่เศรษฐกิจของภาคอีสานยังเป็น 
เศรษฐกิจเพืÉอเลีÊยงชีพเป็นหลัก กระทังÉหลังการเชืÉอมต่อภาคอีสานด้วยเส้นทางรถไฟใน พ.ศ. 2443 
ความสัมพันธ์กับระบบตลาดจึงเพิมÉสูงขึนÊ 
คายส์ (2557 : บททีÉ 2) อธิบายถึงการก่อตัวของภาคอีสานก่อนทีÉสยามปฏิรูปการปกครองใน 
สมัยรัชกาลที É5 ว่า ในทางการเมืองอีสานมีประวัติศาสตร์ของการแบ่งแยกมาโดยตลอด ดินแดนตามฝังÉ 
แม่นํÊาโขงผนวกเข้ากับอาณาจักรลาวตังÊแต่กลางคริสต์วรรษทีÉ 14 ถึงต้นคริสต์วรรษ 19 (ราวพุทธ 
ศตวรรษทีÉ 19 - 24) ขณะทีÉดินแดนตอนในส่วนใหญ่ของทีÉราบสูงโคราชอยู่ในลักษณะทีÉเป็นเอกเทศ 
ทางการปกครองมากกว่า มีเพียงในช่วงก่อนคริสต์วรรษที É14 ทีอÉีสานถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอังกอร์ 
เพียงแห่งเดียว ถึงแม้จะมีการอพยพและโยกย้ายประชากรในภาคอีสานอยู่บ่อยครังÊ แต่ประชากรส่วน 
ใหญ่ในภูมิภาคนีÊก็มีการสืบทอดประวัติศาสตร์ร่วมกัน ทีสÉ่งผลให้เกิดความเป็นท้องถินÉนิยมของคนอีสาน 
กล่าวคือคนส่วนใหญ่ในภาคอีสานรับวัฒนธรรมทีคÉล้ายกับวัฒนธรรมของลาว แม้ว่าจะแตกต่างกันไปบ้าง 
เนืÉองจากภาคอีสานมีอิสระในการปกครองตนเองมายาวนาน อีกทังÊยังได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรม 
กัมพูชามากกว่าคนลาวในประเทศลาว แต่สามารถรวมเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ได้กับชาติพันธุ์ลาว ซึÉงทำให้มี 
ความแตกต่างจากคนในสยามหรือคนในภาคกลาง 
1.2 ภาพอีสานในยุคปฏิรูปสมัยรัชกาลทีÉ 5 
อีสานเปลียÉนแปลงอย่างมากในสมัยรัชกาลที É5 ทังÊการเสียดินแดนของสยามให้แก่ฝรังÉเศสถึง 3 
ครังÊ การปฏิรูปภาคอีสานขนานใหญ่ และขบวนการเคลืÉอนไหวของกบฏผู้มีบุญ ดังทีไÉด้ทราบว่าสยามเข้า 
ครอบครองอีสานนับตังÊแต่สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นต้นมา แต่ไม่ได้เปลียÉนแปลงการปกครองของ 
ดินแดนแห่งนีÊ จนกระทังÉพ.ศ. 2433 ในสมัยรัชกาลทีÉ 5 ทีÉท่านทรงปฏิรูปการปกครอง ปฏิรูปการคลัง 
ปฏิรูประบบรักษาความปลอดภัย ปฏิรูปการศึกษา และการคมนาคมขนส่ง ทังÊหลายเหล่านีÊคือ การ 
กระชับเศรษฐกิจและการเมืองของอีสานให้ใกล้ชิดกับกรุงเทพมหานครมากยิงÉขึนÊ (มณีมัย ทองอยู่ 2546 
: 42) สร้างความเชืÉอมโยงทางสังคมและวัฒนธรรมของกรุงเทพฯให้เกิดขึนÊต่อคนอีสาน อันเป็นส่วนหนึÉง 
ของการเน้นยำÊให้แผนทีปÉระเทศไทยมีเขตแดนทีชÉัดเจนมากยิงÉขึนÊ 
ด้านการปกครอง รัชกาลทีÉ 5 ทรงแบ่งอีสานและลาวเป็น 4 ฝ่าย พร้อมทังÊส่งข้าหลวงใหญ่ 4 คน 
จากส่วนกลางมาปกครอง ใน พ.ศ. 2440 ได้มีการยกเลิกระบบการปกครองแบบล้านช้าง (อาญาสีÉ) แล้ว
7 
แต่งตังÊผู้ว่าราชการเมือง ปลัดเมือง ยกกระบัตรเมือง และผู้ช่วยราชการเมืองแทน ซึÉงส่วนใหญ่เป็น 
ข้าราชการจากส่วนกลาง มีบ้างทีเÉป็นขุนนางท้องถินÉ แต่ต้องได้รับการแต่งตังÊจากส่วนกลางเช่นกัน เมือง 
ขนาดเล็กหลายเมืองถูกยุบเป็นอำเภอ ส่วนเมืองทีÉมีขนาดเล็กมากถูกยุบเป็นตำบล ขณะทีÉมีการส่ง 
ข้าราชการจากส่วนกลางเข้ามาเก็บภาษีอากรซึงÉเป็นการปฏิรูปด้านการคลัง โดยเปลียÉนจากการเก็บส่วย 
มาเป็นเงินรัชชูปการทังÊหมด นอกจากนีÊยังได้เปลีÉยนระบบรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทีÉ 
ไม่เป็นระบบมาเป็นระบบตำรวจ มีการปฏิรูปการศึกษาทีÉทำให้เกิดการตังÊโรงเรียนการปกครองทีÉ 
อุบลราชธานี และมีการตังÊโรงเรียนหลายแห่งในสมัยรัชกาลทีÉ 6 ภายหลังจากตราพระราชบัญญัติ 
ประถมศึกษา ซึงÉเป็นหลักสูตรทีสÉร้างให้คนอีสานมีความกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับคนในภาคกลางและ 
ส่วนอืÉนๆในประเทศไทย สร้างความเชืÉอมโยงให้กับคนอีสานทีโÉดดเดียÉวเข้ามาอยู่ในกรอบมาตรฐานของ 
สังคมไทย (สุเทพ สุนทรเภสัช 2548: 241) (ดูเพิมÉเติมภาพที É3) 
ภาพที É3 ชาวบ้านอีสานเมืÉอครังÊรับเสด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ 
ทีมÉา: www.isan.clubs.chula.ac.th/ 
นอกจากนีÊยังมีการเชืÉอมโยงอีสานเข้ากับส่วนกลางด้วยการปรับปรุงระบบการคมนาคมขนส่ง 
โดยการสร้างทางรถไฟกรุงเทพฯ-นครราชสีมา พ.ศ. 2443 ส่งผลให้สินค้าต่างๆจากภาคอีสานเข้าสู่ 
กรุงเทพฯจำนวนมาก เมืองทีÉรถไฟไปถึงได้กลายเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าข้าว ขณะทีÉเมืองอืÉนๆ 
สามารถส่งข้าวตามทางนํÊา ทางเกวียน และถนน แม้จะมีแนวโน้มทีÉเห็นว่าคนอีสานเริมÉผลิตสินค้าเชิง 
พาณิชย์มากขึÊน เพืÉอตอบสนองกับความต้องการของระบบตลาด รวมถึงการจ่ายเงินสดในระบบภาษี 
อากร แต่คนอีสานยังผลิตเพืÉอผู้บริโภคในครัวเรือนต่อไป อีกทังÊสินค้าในตลาดก็ยังมีอยู่อย่างจำกัดทังÊใน 
แง่ปริมาณและชนิด (มณีมัย ทองอยู่ 2546 : 81-86) (ดูเพิมÉเติมภาพที É4)
8 
ภาพที É4 การสร้างทางรถไฟสาย กรุงเทพฯ – นครราชสีมา 
ทีมÉา : www.skyscrapercity.com 
เมืÉอมีการปฏิรูปภาคอีสานหลายๆด้าน การเปลียÉนแปลงทีÉเกิดขึนÊนีÊทำให้คนบางกลุ่มมีปฏิกิริยา 
ตอบโต้กลายเป็นขบวนการเคลืÉอนไหวของกบฏผีบุญ ทังÊมาจากกลุ่มผู้สูญเสียประโยชน์ เช่น กลุ่มเจ้า 
เมืองเดิมทีถÉูกลดทอนอำนาจ รวมทังÊผลประโยชน์จากส่วยอากรทีลÉดน้อยลง และในอีกด้านหนึÉงข่าวลือทีÉ 
แพร่สะพัดว่าฝรังÉยึดกรุงเทพฯแล้ว ทำให้คนอีสานบางกลุ่มต้องการแยกตัวจากสยาม รวมถึงบางกรณีมี 
เจ้าเมืองบางแห่งกดขีขÉูดรีดราษฎร วิธีการของกบฏผีบุญส่วนใหญ่คือ การปลุกระดมด้วยหมอลำ รวมถึง 
การแพร่ข่าวลือว่าจะเกิดเภทภัยครังÊใหญ่ ขบวนการเคลืÉอนไหวของกบฏผีบุญถูกปราบปรามจาก 
ส่วนกลางในหลายครังÊ และครังÊใหญ่ทีสÉุดเกิดขึนÊเมืÉอ พ.ศ. 2444-2445 (สุวิทย์ ธีรศาศวัต 2546) 
1.3 ภาพอีสานในยุคสงครามเย็น 
ภาพของอีสานหลังจากถูกผนวกรวมเข้ากับดินแดนสยามในสมัยรัชกาลทีÉ 5 เป็นต้นมา สร้าง 
การเปลียÉนแปลงอีสานในหลายด้านดังทีกÉล่าวถึงในหัวข้อทีÉผ่านมา นักมานุษยวิทยาท่านหนึÉงเรียกการ 
แผ่ขยายอำนาจของสยามเข้าไปนีÊว่า “ระบบอาณานิคมภายใน” (internal colonialism) การรวมศูนย์ 
อำนาจของสยามในดินแดนทีÉเคยอยู่ฐานะ “ชายขอบ” กลายเป็นการบ่งบอกให้ทราบถึงการมีตำแหน่ง 
แห่งทีÉในแผนทีÉประเทศไทยเช่นเดียวกับภูมิภาคอืÉนๆในประเทศ แต่ในด้านหนึÉงก็พบว่า อำนาจทีÉ 
พยายามควบคุมและสร้างความเป็นอีสาน ทำให้เกิดสำนึกของความเป็น “ภูมิภาคนิยม”(regionalism) 
ได้เช่นกัน (สุเทพ สุนทรเภสัช 2548) สำนึกร่วมนีÊมาจากปฏิสัมพันธ์ทีเÉข้มข้นระหว่างคนอีสานกับคนไทย 
ภาคกลางนับตังÊแต่เมืÉอเริมÉรวมศูนย์อำนาจของอาณาจักรสยามเป็นต้นมา และสำนึกดังกล่าวจะเข้มข้น 
มากขึนÊเมืÉอมีการเผชิญกับแรงกดดันทีมÉาจากภาคกลาง (คายส์ 2557 : 31-32) 
การเปลียÉนแปลงทีเÉกิดขึนÊกับภาคอีสานไม่เพียงอยู่ในบริบทระหว่างอีสานกับกรุงเทพฯเท่านันÊ 
แต่ยังมีพลังการเปลียÉนแปลงจากการเมืองและเศรษฐกิจนานาชาติในยุคสงครามเย็น ซึÉงเป็นยุคแห่งการ
9 
ต่อสู้เพืÉอเป็นผู้นำทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างกลุ่มประเทศ 2 กลุ่มคือ กลุ่มเสรีประชาธิปไตยนำ 
โดยสหรัฐอมริกา และกลุ่มคอมมิวนิสต์นำโดยสหภาพโซเวียตและจีน 
พัฒนา กิติอาษา นักมานุษยวิทยาทีเÉกิดและเติบโตในอีสานกล่าวถึง “ข้อบกพร่องประการสำคัญ 
ของวงการอีสานศึกษา” คือ การละเลยบริบททางประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจการเมืองทีสÉำคัญในภูมิภาค 
ทีมÉีส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทางและการเปลียÉนแปลงด้านต่างๆในภาคอีสาน (2557: 83) อีสานในยุค 
หลังสงครามเย็นกลายเป็นพืÊนทีÉยุทธศาสตร์สำคัญทางการเมือง ทหาร เศรษฐกิจ และสังคม มี 
งบประมาณจำนวนมากพัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภค ไม่ว่าจะเป็น เขือÉน ถนน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
โครงการพัฒนาด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม ขณะเดียวกัน“ปัญ 
หาของภาคอีสาน”ก็ถูกแต่งเติม 
ในช่วงสงครามเย็นให้เป็นปัญ 
หาด้านความมันÉคงและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ดังนันÊอีสานจึง 
ต้อง “พัฒนา” เพืÉอแก้ไข “ปัญ 
หาของภาคอีสาน” และเอาชนะพรรคคอมมิวนิสต์ให้ได้ จะเห็นได้จากยุค 
แห่งการพัฒนาสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิเÍป็นต้นมา มีแผนพัฒนาภาคอีสาน 5 ปี4 ใน พ.ศ. 2504 ภาพ 
การเปลียÉนแปลงของภาคอีสานในยุคนีÊคือ การรักษาด้วยยาครอบจักรวาลทีÉเรียกว่า “การพัฒนา” แต่ใน 
อีกด้านก็เป็นการตอกยำÊให้เห็นถึงภาพลักษณ์ความด้อยพัฒนาและความล้าหลัง ซึÉงได้สร้าง “ความเป็น 
อืÉน” ให้กับคนอีสานมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นความตํÉาต้อยทางเศรษฐกิจ หญิงอีสานทีÉเป็นเมียเช่า หรือ 
ค้าบริการทางเพศ (พัฒนา กิติอาษา 2557) 
รัฐบาลไทยมีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในการร่วมมือเพืÉอต่อต้าน 
คอมมิวนิสต์ นับตังÊแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม สมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ Í(พ.ศ. 2502-2506) 
ต่อเนืÉองจนถึงสมัยรัฐบาลจอมพลถนอม (พ.ศ. 2506-2516) เห็นได้จากมีโครงการพัฒนาภาคอีสานมาก 
เป็นพิเศษ เป็นต้นว่า มีการลงนามร่วมกันตามสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง 
รัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกาใน พ.ศ. ŚŜšś – ŚŜšŜ การร่วมปฏิบัติการพัฒนาภาคอีสานฉุกเฉิน 
ระหว่าง พ.ศ. ŚŜšŞ-ŚŜšŠ มีผลให้รัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม สนใจการพัฒนาพืÊนทีÉภาคอีสาน 
ด้านการเพาะปลูกและทำถนนเชืÉอมต่อระหว่างภาคภายในประเทศ กรณีถนนสายมิตรภาพระหว่าง 
สระบุรี – นครราชสีมา ได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา จนแล้วเสร็จ พ.ศ. ŚŝŘŘ และขยายไปยัง 
ขอนแก่น พ.ศ. ŚŝŘŞ และ ŚŝŘŠ ตามลำดับ (ดูเพิÉมเติมภาพทีÉ 5) หลังจากมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 
แห่งชาติ ฉบับที Éř (พ.ศ. ŚŝŘŜ-ŚŝŘš) รัฐบาลเน้นการสร้างถนนในภาคอีสานตามนโยบายเศรษฐกิจและ 
ป้องกันคอมมิวนิสต์ (สมศรี ชัยวณิชยา 2548 : śŚŘ-śŚ1) 
4 เป็นแผนพัฒนาภาคอีสานทีแÉยกจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับทีÉ 1 สาขาการพัฒนาทีรÉัฐบาลให้ความสำคัญมากทีÉสุดคือ การคมนาคม รองลงมาคือ สาขาเกษตร 
และสหกรณ์
10 
ภาพที É5 พิธีเปิดถนนมิตรภาพ พ.ศ. 2501 
ทีมÉา : www.skyscrapercity.com 
การเปลียÉนแปลงภาคอีสานหลังสงครามเย็นในพ.ศ. 2488 เป็นต้นมา ส่งผลให้เศรษฐกิจชุมชน 
ของภาคอีสานเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจตลาดมากกว่ายุคทีÉผ่านมา ซึÉงสาเหตุหลักของการเปลีÉยนแปลงนีÊ 
ประกอบด้วย 1. การเพิÉมประชากรอย่างรวดเร็ว 2. การขยายตัวของทุนนิยม โดยเฉพาะคนจีนและผู้มี 
อาชีพค้าขาย ซึงÉเพิมÉขึนÊ 3 เท่าในระยะเวลา 10 ปี 3. นโยบายของรัฐ ด้วยการก่อสร้างโครงสร้างพืÊนฐาน 
ทางเศรษฐกิจ (ถนน เขืÉอน และไฟฟ้า) และการต่อต้านคอมมิวนิสต์ 4. นโยบายการผลิตเพืÉอส่งออก 
(สุวิทย์ ธีรศาศวัต 2546) 
หลังจากมีการเร่งพัฒนาเศรษฐกิจ นับตังÊแต่รัฐบาลสฤษดิ Íรัฐบาลถนอม จนถึงทศวรรษ ŚŝśŘ 
ภูมิทัศน์ (landscape) ของอีสานเปลีÉยนแปลงอย่างมาก เห็นได้จากโครงการพัฒนาของรัฐทีÉสำคัญ 3 
โครงการ (พฤกษ์ เถาถวิล 2555) ได้แก่ 
(1) การทำป่าไม้ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับทีÉ 1 มีพืÊนทีÉป่าไม้ร้อยละ 42 ของ 
่า่าพืนÊทีภาÉค (105.5 ล้านไร่) และเมืÉอเริมÉมีการสัมปทานป่าไม้ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2511 จนถึงปี 
2530 มีการสัมปทานปไม้ในพืนÊทีทÉงัÊสินÊ 36.8 ล้านไร่ แม้เป็นช่วงทีทÉำรายได้ให้แก่ประเทศมหาศาล แต่ 
ก็ทำให้พืนÊทีปÉลดลงอย่างมากเช่นกัน ขณะเดียวกันการสัมปทานปไม้นับเป็นแนวทางหนึÉงของรัฐไทย 
ในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ เห็นได้จาก พ.ศ. 2516 เป็นปีทีมีÉการให้สัมปทานปไม้มากทีสพ.ศ. 2516 – 2519 คืประมาณร้อยละ 10) 
่าÉุด และระหว่าง 
อ ช่วงทีÉพืÊนทีป่าÉไม้ลดลงปีละประมาณ 2.6 ล้านไร่ (อัตราการลดลงเฉลียÉต่อ่าปี 
(2) การก่อสร้างโครงสร้างพืÊนฐานทางเศรษฐกิจ ทางรถไฟทีÉมุ่งไปเขตอีสานตอนใต้ปลายทางทีÉ 
อุบลราชธานี สร้างเสร็จ พ.ศ. 2473 ด้านเส้นทางรถไฟทีÉมุ่งสู่เขตอีสานตอนกลางและตอนบนสิÊนสุดทีÉ
11 
หนองคายสร้างเสร็จ พ.ศ. 2501 สำหรับทางหลวงแผ่นดินทีสÉำคัญ 2 สาย คือ ทางหลวงมิตรภาพทีเÉชืÉอม 
จากภาคกลางตอนบนผ่านนครราชสีมา และสิÊนสุดทีÉหนองคายสร้างเสร็จ พ.ศ. 2508 ขณะทีÉสาย 
เพชรบูรณ์ขอนแก่นสร้างเสร็จ พ.ศ. 2531 นอกจากนันÊ ยังมีการสร้างเขือÉนทีสÉร้างเพืÉอผลิตไฟฟ้าและการ 
ชลประทานจำนวนมากในระหว่างพ.ศ. 2505 – 2513 
(3) การขยายตัวของพืชพาณิชย์ ขยายตัวอย่างเด่นชัดเมืÉอมีการสร้างทางรถไฟ โดยเฉพาะ 
ปริมาณข้าวในภาคอีสานทีเÉพิมÉจำนวนสูงขึนÊ ในทศวรรษ พ.ศ. 2500 ขณะเดียวกันนโยบายส่งเสริมการ 
ส่งออกพืชไร่ของรัฐไทย มีผลจากการขยายพืนÊทีกÉารปลูกพืชไร่ทีÉปลูกในทีÉดอน อีสานจึงมีพืชเศรษฐกิจ 
นอกเหนือจากข้าว ได้แก่ ข้าวโพด มันสำปะหลัง ปอ และอ้อย จำนวนพืÊนทีÉการเพาะปลูกจึงเพิมÉสูงมาก 
ในระหว่างพ.ศ. 2504 -2532 พืÊนทีÉเพาะปลูกพืชพาณิชย์ของอีสานเพิมÉขึนÊจาก 17.1 ล้านไร่เป็น 39.6 
ล้านไร่ 2.32 เท่า 
1.4 ภาพอีสานใหม่ : การเปลีÉยนแปลงด้านภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) โดยสังเขป 
การวาดภาพสังคมในอนาคตเป็นสิÉงทีÉเกิดขึÊนในทุกยุคสมัย ซึÉงภาพสังคมของแต่ละคนอาจ 
เหมือนกันบ้างแตกต่างกันบ้างก็เป็นเรืÉองส่วนบุคคล แต่หากเมืÉอใดรัฐเป็นแกนนำหลักในการวาดภาพ 
สังคม แรงขับเคลืÉอนจากสรรพกำลังทีÉระดมเข้ามาเพืÉอเปลีÉยนแปลงสังคม ทังÊแผนยุทธศาสตร์และ 
นโยบาย ก็มีความเข้มข้นมากตามไปด้วย จะเห็นได้จากการพัฒนาภาคอีสานทีÉเปลีÉยนแปลงภาพของ 
อีสานไปจากเดิมดังข้างต้น ส่วนสำคัญมาจากนโยบายของรัฐ สำหรับในส่วนนีÊผู้ศึกษาจะพิจารณาต่อไป 
ว่า นโยบายการพัฒนาอีสานในปัจ 
จุบัน ต้องการวาดภาพอีสานให้เป็นอย่างไร จากนันÊจะนำเสนอการ 
เปลียÉนแปลงของอีสานจากนโยบายและโครงการการพัฒนาของต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเพืÉอน 
บ้าน และการเตรียมพร้อมรับการเปลีÉยนแปลงของประเทศไทย ซึÉงเน้นในส่วนของการเชืÉอมโยงของ 
อีสานกับประเทศต่างๆในด้านการพัฒนาเส้นทางการคมนาคมขนส่งเป็นสำคัญ 
การมีผังประเทศไทย 2600 และผังในภูมิภาคต่างๆ เป็นนโยบายการพัฒนาพืÊนทีÉของประเทศ 
และเป็นผังแม่บทสำหรับการวางผังเมืองในระดับต่างๆ ขณะทีÉผังภาคคือ การถ่ายทอดนโยบายจากผัง 
ประเทศสู่นโยบายการใช้พืÊนทีÉของแต่ละภาคในการรองรับโครงการและกิจกรรมการพัฒนาด้านต่างๆ 
เพืÉอเป็นกรอบการพัฒนาพืÊนทีÉและการวางผังเมืองให้กับกลุ่มจังหวัด จังหวัด เมืองและชุมชน ผังภาค 
อีสาน พ.ศ. ŚŞŘŘ เป็นความพยายามออกแบบอนาคตของภาคอีสานในอีก ŝŘ ปีข้างหน้า ว่าควรมี 
ลักษณะอย่างไร โดยเกิดขึนÊจากมติคณะรัฐมนตรีเมืÉอ พ.ศ. ŚŝŜŝ และกรมโยธาธิการและผังเมืองเป็น 
ผู้ดำเนินการและจัดทำผัง ซึÉงเสนอว่าภาคอีสานเป็น “ประตูเศรษฐกิจการค้าเชืÉอมโยงสู่อินโดจีน เป็น 
ศูนย์กลางคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ รักษาแหล่งเกษตรชันÊดีและข้าวหอมมะลิ พัฒนาเมืองศูนย์กลาง 
หลัก” (ปราณี นันทเสนามาตร์ 2557 ; กรมโยธาธิการและผังเมือง 2551)
12 
สำหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 11 (พ.ศ. 2555-2559) กำหนดทิศ 
ทางการพัฒนาภาคอีสานไว้ว่า ถึงแม้มีศักยภาพเป็นฐานการผลิตด้านการเกษตร แต่ก็มีความเสีÉยงทีÉทำ 
ให้เกิดความไม่มัÉนคงทางการผลิตในภาคเกษตรได้เช่นกัน เพราะจำต้องพึÉงพิงปัจ 
จัยภายนอกในเรืÉอง 
ความแปรปรวนของภูมิอากาศ และภัยธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการมีทีตÉังÊทางภูมิศาสตร์ทีÉเป็นศูนย์กลาง 
ของกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํÊาโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) ทีÉมีพืÊนทีÉติดต่อกับ 
ประเทศพืÊนบ้าน สามารถทำให้ภาคอีสานเติบโตในทางการค้าและการลงทุนได้เช่นกัน ดังนัÊน 
แผนพัฒนาฯฉบับดังกล่าวจึงกำหนดบทบาทการพัฒนาของภาคอีสานให้เป็นฐานการผลิตพืชอาหารและ 
พืชพลังงานทดแทนของประเทศ รวมถึงเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและเอทานอลของ 
ประเทศ นอกจากนันÊยังเป็นประตูการค้า การลงทุน และการท่องเทีÉยวเชืÉอมโยงสู่อินโดจีน (สำนักงาน 
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2554) 
ภาคอีสานไม่ได้ตังÊอยู่อย่างโดดเดีÉยว หรือเป็นส่วนหนึÉงของแผนทีÉประเทศไทยแต่เพียงเท่านันÊ 
ภาคอีสานยังเป็นส่วนหนึÉงของแผนทีÉโลก ซึÉงความเชืÉอมโยงทีÉเกิดขึนÊนีÊพลิกเปลีÉยนโฉมหน้าภาคอีสาน 
เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างมหาศาล จะเห็น 
ได้จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกในองค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การการค้าโลก (World Trade 
Organization : WTO) การเข้าร่วมเขตการค้าเสรีอาเซียน (Asian Free Trade Area : AFTA) โครงการ 
พัฒนาทังÊในประเทศและระหว่างประเทศหลายโครงการ อาทิ โครงการพัฒนาความร่วมมือระหว่าง 
ประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํÊาโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) ยุทธศาสตร์ความร่วมมือ 
ทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (Ayeyawadee-Chao PhrayaMekong Economic Cooperation 
Strategy : ACMECS) เป็นต้น (ดูเพิมÉเติมภาพที É6) 
ภาพที É6 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค และอนุภาค 
ทีมÉา : ปราณี นันทเสนามาตร์ 2557
13 
ด้านการพัฒนาเส้นทางการคมนาคมขนส่งซึÉงเป็นการเชืÉอมโยงภูมิภาคของโลกครังÊใหญ่ก็ทาบ 
ทับในเขตภาคอีสาน เป็นต้นว่าระเบียงเศรษฐกิจตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Corridor) ทีÉ 
เชืÉอมเมาะละแหม่ง-ดานัง ซึงÉเส้นทางสายดังกล่าวได้ผ่านจังหวัดในภาคอีสานบางส่วนด้วย (ดูเพิมÉเติม 
ภาพที É7) มีโครงการรถไฟความเร็วสูงของจีนทีพÉยายามเชืÉอมโยงจีนกับอาเซียน เริมÉต้นจากมณฑลยูน 
นานของจีนผ่านลาว ไทย มาเลเซีย เข้าไปยังสิงคโปร์ นอกจากนันÊยังมีความร่วมมือระหว่างไทยกับ 
ประเทศลาว เพืÉอเชืÉอมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่ง ดังทีมÉีการก่อสร้างสะพานข้ามแม่นํÊาโขง 6 แห่ง ทังÊทีÉ 
เปิดใช้งานแล้วและกำลังก่อสร้าง โดย 5 แห่งอยู่ในภาคอีสาน ได้แก่ หนองคาย มุกดาหาร นครพนม บึง 
กาฬ และอุบลราชธานี ความร่วมมือด้านการพัฒนาโครงสร้างพืÊนฐาน ปรับปรุงถนน สนามบิน รวมทังÊ 
การเชืÉอมต่อด้วยทางรถไฟและรถยนต์ ไม่ว่าจะเป็น การสร้างเส้นทางรถไฟจากช่วงกึÉงกลางสะพาน 
มิตรภาพในจังหวัดหนองคายถึงสถานีท่านาแล้งในประเทศลาว ด้วยระยะทาง ś.ŝ กิโลเมตร การอำนวย 
ความสะดวกในการขนส่งทางถนน ดังกรณีไทยและลาวได้ลงนามความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนน 
พ.ศ. ŚŝŜŚ ซึงÉส่งผลให้มีผู้ประกอบการขนส่งสินค้าไทย-ลาว การเดินรถโดยสารประจำทางระหว่างไทย 
และลาว ปัจ 
จุบันมี řŘ เส้นทาง (สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 2557) 
ภาพที É7 เส้นทางเชืÉอมโยงระเบียงเศรษฐกิจตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (EWEC) 
ทีมÉา : สุริยา จันทรกระจ่าง 2557 
นอกเหนือจากโครงการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ โครงการพัฒนาของประเทศเพืÉอน 
บ้านบางโครงการก็มีผลต่อการพัฒนาภาคอีสานเช่นกัน ดังเช่น การสร้างสะพานข้ามแม่นํÊาเหือง ทีÉ 
อำเภอท่าลี Éจังหวัดเลย ซึงÉเชืÉอมต่อกับเมืองแก่นท้าว แขวงไชยบุรี เชืÉอมโยงไปยังแหล่งท่องเทีÉยวเมือง 
หลวงพระบาง มีการจัดตังÊนิคมอุตสาหกรรมในเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน (Savan-Seno Special
14 
Economic Zone) ตังÊอยู่ถนนหมายเลข 9 มีโครงการเขือÉนนํÊาเทิน 2 เป็นโครงการเขือÉนผลิตกระแสไฟฟ้า 
พลังนํÊาทีใÉหญ่ทีสÉุดของประเทศลาว และเมืÉอเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 ลาวเริมÉต้นก่อสร้างโครงการรถไฟ 
ความเร็วสูงเชืÉอมโยงจากชายแดนไทย-ลาวทางภาคตะวันตกไปยังเวียดนาม มีบริษัทไจแอนท์ คอนโซลิ 
เดทเต็ด ของมาเลเซีย เป็นผู้ก่อสร้างและดำเนินงาน จากแขวงสะหวันนะเขต พรมแดนไทย-ลาวทาง 
ตะวันตกเฉียงใต้ ไปยังลาวบาว (เวียดนาม) ด่านพรมแดนลาว-เวียดนามทางตะวันออก และคาดว่าจะ 
แล้วเสร็จภายในสีปÉี (“จีนเดินหน้าหนุนลาวทำรถไฟความเร็วสูง”, 2557) 
สำหรับประเทศไทยเตรียมพร้อมการเชืÉอมต่อเส้นทางการคมนาคมขนส่งสำหรับการเชืÉอมโยงทังÊ 
ภายในประเทศและต่างประเทศ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อนุมัติ 
การลงทุนสาธารณะปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ครังÊแรก มูลค่า 6.8 หมืÉนล้านบาท ในฐานะทีเÉป็นส่วนหนึÉง 
ของยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืÊนฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 ทีÉใช้เงิน 
ลงทุนมูลค่ารวม 3.4 ล้านล้านบาท (“อานิสงส์เมกะโปรเจ็กต์คมนาคมขนส่ง”, 2557) โดยมีเป้าหมายใน 
การพัฒนาและขยายโครงข่ายด้านการคมนาคมขนส่งภูมิภาคทัวÉประเทศ ซึงÉได้กำหนดรถไฟทางคู่ สาย 
อีสานตังÊแต่ มาบตาพุด-สระบุรี -นครราชสีมา-ขอนแก่น-หนองคาย (ดูเพิมÉเติมตารางทีÉ 1) เชืÉอมกับ 
ประเทศจีนรับการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พ.ศ. 2558 โดยเฉพาะทางคู่สายมาบตาพุด- 
หนองคายจะช่วยขยายการส่งออกสินค้าไปยังจีนและสิงคโปร์ 
ตารางที É1 ตัวอย่างโครงการก่อสร้างโครงสร้างพืนÊฐานในภาคอีสานทีสÉำคัญ 
ตัวอย่างโครงการทีÉสำคัญ 
รถไฟฟ้าความเร็วสูง o กรุงเทพ-นครราชสีมา-หนองคาย 
รถไฟทางคู่ o สระบุรี -นครราชสีมา - ขอนแก่น-หนองคาย 
o บ้านไผ่ – มุกดาหาร – นครพนม 
รถไฟรางคู่ 1.435 เมตร o ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมาและนครราชสีมา-มาบตาพุด 
ระยะทาง 512 กิโลเมตร 
o ช่วงนครราชสีมา- หนองคาย ระยะทาง 355 กิโลเมตร 
โครงการพัฒนาโครงข่ายทาง 
หลวงเชืÉอมโยงระหว่างประเทศ 
o ทล. 212 อ.โพนพิสัย-บึงกาฬ ตอน 1 
o ทล. 212 อ.โพนพิสัย-บึงกาฬ ตอน 2 
o ทล.210 สาย อ.วังสะพุง-อ.นากลาง จ.เลย/หนองบัวลำภู 
o ทล.řŚ กาฬสินธุ์–อำเภอสมเด็จ ตอน Ś
15 
ทางหลวงหมายเลข 2 
o ทล.2 นํÊาสวย-สะพานมิตรภาพหนองคาย (เขตแดนไทย/ 
ลาว) ตอน 1 และตอน 2 จ.หนองคาย 
o ทล.2 น้าฆ้อง-อุดรธานี ตอน 1-4 จ.อุดรธานี 
o ทล.2 โนนสะอาด-น้าฆ้อง จ.อุดรธานี 
โครงการพัฒนาสถานีขนส่ง 
สินค้าเพืÉอเพิมÉประสิทธิภาพการ 
ขนส่งทางถนนด้วยรถบรรทุก 
o เมืองชายแดน ได้แก่ หนองคาย มุกดาหาร 
ทีÉมา: เรียบเรียงจาก สุริยา จันทรกระจ่าง 2557 และ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร 2557 
ปัจ 
จุบันภาคอีสานมีเส้นทางการขนส่งทีสÉำคัญคือ ทางบก ซึงÉมีโครงข่ายถนนครอบคลุมทุกพืÊนทีÉ 
ของภาค และยังเชืÉอมโยงสู่ภาคอืÉนๆ ของประเทศ ตามเส้นทางถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 
(มิตรภาพ) และเชืÉอมต่อไปยังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) อีกทังÊยังมีเส้นทางรถไฟ 2 
เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-หนองคาย และกรุงเทพฯ-อุบลราชธานี ทางอากาศมีสนามบิน 10 แห่ง เป็น 
สนามบินนานาชาติ 2 แห่ง คือ อุดรธานีและอุบลราชธานี และสนามบินภายในประเทศ 8 แห่ง ได้แก่ 
ขอนแก่น สกลนคร บุรีรัมย์ นครพนม เลย ร้อยเอ็ด นครราชสีมา และ สุรินทร์ 
หากกล่าวถึงอีสานเมืÉอ 100 ปีทีÉแล้วว่า ทีÉตังÊทางภูมิศาสตร์ของภาคมีความได้เปรียบในการ 
พัฒนาประเทศ อาจดูเหมือนเป็นสิÉงทีÉไกลเกินฝัน 
แต่หลังจากภาคอีสานเปลีÉยนภาพของการเข้าถึงด้วย 
ความยากลำบากมาเป็นอีสานทีÉมีความได้เปรียบในจุดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 
ผ่านกระแสการพัฒนาเมืÉอ 50 ปีทีÉผ่านมา แม้แต่มหาอำนาจเช่นจีนยังให้ความสำคัญ ดังทีÉนายเซีÉย ฝู่ 
เกิน กงสุลใหญ่สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำจังหวัดขอนแก่น กล่าวในงานสัมมนาวิชาการอินโดจีน 
เมืÉอ พ.ศ. 2556 ถึงความได้เปรียบเรืÉองทีตÉังÊทางภูมิศาสตร์ของภาคอีสาน การมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ 
โครงสร้างพืนÊฐานค่อนข้างสมบูรณ์ สินค้าการเกษตรจำนวนมากส่งออกไปจีน เช่น มันสำปะหลัง ร้อยละ 
99 และยางพารา ร้อยละ 70 ของภาคอีสานส่งออกไปยังจีน มีพลังงานสีเขียวทีÉค่อนข้างสมบูรณ์ รวมถึง 
ความร่วมมือด้านการศึกษาซึÉงในภาคอีสานมีสถาบันขงจืÉอ 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ 
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เซียÉ ฝู่ เกิน 2556) 
ขณะทีเÉอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2554 : 271 ; 2556 ; 2557) ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์ของไทย 
กล่าวถึงการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจของภาคอีสานจากความได้เปรียบในทางภูมิรัฐศาสตร์ เพราะ 
เป็นจุดเชืÉอมระหว่างมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก และอยู่กึงÉกลางระหว่างอินโดจีนกับคาบสมุทรมาเลย์ 
ซึงÉไม่ไกลจากตะวันออกกลาง อีกทังÊภาคอีสานยังอยู่ใกล้ชิดกับจีนมาก ดังนันÊหากทำให้ภาคอีสานเป็น 
เขตเศรษฐกิจพิเศษได้ ก็อาจเปลียÉนภาคอีสานเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจทีสÉำคัญได้เช่นกัน โดยเฉพาะจีนทีÉ 
กำลังเชืÉอมต่อกับอาเซียน ด้วยการทำโครงสร้างพืÊนฐานรองรับ ภาคอีสานสามารถได้รับประโยชน์ด้าน 
เศรษฐกิจจากประเทศจีน ซึÉงมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก ด้วยการพัฒนาด้านการ 
คมนาคมเพืÉอรองรับการเชืÉอมโยงนีÊ ทังÊการสร้างรถไฟความเร็วสูงและขยายสนามบินนานาชาติในภาค
16 
อีสานให้ใหญ่ขึนÊ รวมถึงขยายเส้นทางเพืÉอเชืÉอมโยงกับประเทศเพืÉอนบ้าน เช่น นครพนมหรือมุกดาหาร 
เชืÉอมฮานอยของเวียดนาม และหนานหนิงของจีน 
การเชืÉอมต่ออีสานข้ามพรมแดนของประเทศไทยในวันนีÊ ทำให้ภาคอีสานไม่จำกัดขอบเขตเพียง 
แผนทีปÉระเทศไทย แต่อีสานยังเป็นพืนÊทียÉุทธศาสตร์ทีสÉำคัญในแผนทีโÉลก ดังเช่นการเชืÉอมโยงภาคอีสาน 
ด้วยโครงการคมนาคมขนส่งทีÉเป็นไปอย่างเข้มข้น ทังÊการพัฒนาในประเทศเพืÉอนบ้าน และการ 
เตรียมพร้อมของประเทศไทย 
กล่าวโดยสรุปในวันนีÊภาคอีสานได้เปลีÉยนแปลงไปอย่างมาก จากพืÊนทีÉทีÉถูกมองข้ามในอดีต 
เปลียÉนเป็นพืนÊทีทÉีสÉร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจทีสÉำคัญให้แก่ประเทศไทยอย่างมหาศาล การเปลีÉยนแปลงทีÉ 
เกิดขึนÊไม่ได้ถูกกำหนดโดยโชคชะตาฟ้าดิน แต่ผ่านการเปลียÉนแปลงด้วยแผน ยุทธศาสตร์ และนโยบาย 
ทังÊในประเทศและต่างประเทศในหลายยุคหลายสมัยกระทังÉทุกวันนีÊ เพราะฉะนันÊจึงเป็นทีÉน่าสนใจว่า 
อีสานในวันนีÊ “ใหม่” อย่างไร อีสานกำลัง “ใหม่” ในเรืÉองใดบ้าง เมืÉอเป็นดังนีÊผู้ศึกษาจึงขออาสาเป็น 
มัคคุเทศก์เพืÉอนำท่านผู้อ่านลัดเลาะตามเส้นทางสายอีสานใหม่ โดยจุดแรกทีจÉะเดินทางไปทัศนาด้วยกัน 
คือ วัฒนธรรมสมัยนิยม/ประชานิยม (popular culture) ซึงÉจะช่วยอธิบายให้เห็นถึงตัวตนของคนอีสานใน 
ยุคปัจ 
จุบันว่าเป็นอย่างไร
17 
เอกสารอ้างอิง 
Grandstaff, Terry B. et al. (ŚŘŘ8). Rainfed Revolution in Northeast Thailand. Southeast Asian 
Studies, 46(3), 289-376 
Keyes, Charles. (2014). Finding Their Voice: Northeastern Villagers and the Thai State. 
Bangkok: Silkworm Books. 
กรมโยธาธิการและผังเมือง. (Śŝŝř). ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ.2600. กรุงเทพฯ: 
กรมโยธาธิการและผังเมือง. 
คายส์, ชาร์ล. (Śŝŝş). อีสานนิยม : ท้องถินÉนิยมในสยามประเทศไทย (รัตนา โตสกุล ผู้แปล). กรุงเทพฯ : 
มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 
“จีนเดินหน้าหนุนลาวทำรถไฟความเร็วสูง” (22 สิงหาคม 2557). กรุงเทพธุรกิจออนไลน์, สืบค้นเมืÉอวันที É 
21 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.bangkokbiznews.com 
เซียÉ ฝู่ เกิน. (2556). ปาฐกถาพิเศษเรืÉอง “มุมมองต่อภาคอีสานและบทบาทของจังหวัดขอนแก่นในการ 
เชืÉอมโยงกับภูมิภาคอินโดจีน”. สืบค้นเมืÉอวันที É12 พฤศจิกายน 2557, จาก 
http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Thai/Northeast/seminarNE/DocLib_semina 
r56/speech.pdf 
ปราณี นันทเสนามาตร์. (2557). “เจาะลึกผังเมืองกับยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ”. ใน กรมโยธาธิการและ 
ผังเมือง กระทรวงมหาดไทย, เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาเจาะลึกเจาะลึกผังเมืองกับ 
ยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ 3 กันยายน 2557. 
พฤกษ์ เถาถวิล. (Śŝŝŝ). (ร่าง) อีสานใหม่" ความเปลียÉนแปลงจากการพัฒนาในรอบศตวรรษ. ใน 
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ อุบลวัฒนธรรม 
ครังÊที ÉŚ Śş-Śš มกราคม Śŝŝŝ. 
พัฒนา กิติอาษา. (Śŝŝş). สู่วิถีอีสานใหม่. กรุงเทพฯ: วิภาษา 
มณีมัย ทองอยู่. (ŚŝŜŞ). การเปลียÉนแปลงของเศรษฐกิจชาวนาอีสาน : กรณีชาวนาลุ่มนํÊาพอง. กรุงเทพฯ 
: บริษัท สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด. 
สมศรี ชัยวณิชยา. (ŚŝŜŠ). นโยบายการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐบาลไทยระหว่าง พ.ศ. 
ŚŜšŜ-Śŝřš. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, 
สาขาประวัติศาสตร์. 
สุเทพ สุนทรเภสัช. (ŚŝŜŠ). มานุษยวิทยากับประวัติศาสตร์ : รวมความเรียงว่าด้วยการประยุกต์ใช้ 
แนวความคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา ในการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์.กรุงเทพฯ : 
เมืองโบราณ.
18 
สุริชัย หวันแก้ว. (Śŝŝś). การเปลียÉนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. ใน คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา 
และมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (บรรณาธิการ) , สังคมและ 
วัฒนธรรม (พิมพ์ครังÊที É12). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 
สุริยา จันทรกระจ่าง. (2557). ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุ่มจังหวัดภาค 
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 และตอนบน 2 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 
ฉบับที É11. สืบค้นเมืÉอวันที É11 พฤศจิกายน 2557, จาก 
http://www.clinictech.most.go.th/online/filemanager/fileclinic/Fř/files/sciregion-meeting 
ř.pdf 
สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (ŚŝŜŞ). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรือÉง เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน : 
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจอีสานหลังสงครามโลกครัÊงทีÉสองถึงปัจ 
จุบัน (2488-2544). ขอนแก่น: 
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). ทิศทางการพัฒนาภาคในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับ 
ที É๑๑. สืบค้นเมืÉอวันที É9 พฤศจิกายน 2557, จาก 
http://www.nesdb.go.th/LinkClick.aspx?fileticket=MJ78A0GJlXg%3D 
สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2557). แผนการดำเนินงานโครงการลงทุนพัฒนาด้าน 
คมนาคมขนส่งตามกรอบยุทธศาสตร์ ปี 2558 - 2565. สืบค้นเมืÉอวันที É19 พฤศจิกายน 2557, 
จาก http://www.otp.go.th/images/stories/newsř/Śŝŝş/řř.../řŠ.../aś_ŚŞ-řř-ŝş.pdf 
สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม. (2557). ความสัมพันธ์ด้านคมนาคมระหว่างไทย-ลาว. สืบค้นเมืÉอวันที É 
15 พฤศจิกายน 2557, จาก http://vigcollab.mot.go.th/gm/document-1.9.23417/ไทย-ลาว.pdf 
“อานิสงส์เมกะโปรเจ็กต์คมนาคมขนส่ง”(26 ตุลาคม 2557). ข่าวหุ้น. สืบค้นเมืÉอวันที É21 พฤศจิกายน 
2557, จาก http://www.kaohoon.com/online/index.htm 
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (ŚŝŝŜ). บูรพาภิวัตน์ : ภูมิ-รัฐศาสตร์และเศรษฐกิจโลกใหม่. กรุงเทพฯ : 
สำนักพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ. 
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. จีนในสายตา “เอนก เหล่าธรรมทัศน์” (9-15 สิงหาคม 2557). โลกวันนีÊวันสุข, 
น.12. 
เอนก เหล่าธรรมทัศน์ และ ศิวพล ละอองสกุล. (2556). จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก อาเซียน 
ตอนบนในยุคบูรพาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.).

More Related Content

What's hot

แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish BoneJakkrit Boonlee
 
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...Aung Aung
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยChanatip Lovanit
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundpantiluck
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 

What's hot (20)

แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
 
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากลรายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 1) การเปลี่ยนแปลงของอีสาน

  • 1. 1 ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนทีÉ 1) การเปลีÉยนแปลงของอีสาน1 อุกฤษฏ์ เฉลิมแสน chalermukrit@gmail.com แผนงานนโยบายสาธารณะเพือÉการพัฒนาอนาคตของเมือง บทนำ เมืÉอทราบว่าลูกชายออกไปชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลเลนินทีÉตนเองรักและศรัทธา "แม่" ชาว เบอร์ลินผู้ยึดมันÉในลัทธิคอมมิวนิสต์ ทีÉมีอาการป่วยหนักอยู่แล้ว มีอันต้องล้มป่วยจนหมดสติไปนาน หลายปี แต่แล้วปาฏิหาริย์ก็เกิดขึนÊ เมืÉอเธอฟืÊนจากอาการป่วย ในช่วงทีÉประเทศเยอรมนีตะวันออกไม่มี อีกแล้ว กำแพงเบอร์ลินพังทลายลงมา เสียงโห่ร้องดีใจของคนเยอรมันหลังจากทีมฟุตบอลชายคว้าแชมป์ โลก ค.ศ.1990 สังคมทุนนิยม บริโภคนิยม แพร่กระจายในโฆษณามีให้เห็นในทุกซอกทุกมุมของเมือง และทีสÉำคัญอนุสาวรีย์เลนินก็ถูกโค่นล้มลงเหลือเพียงความว่างเปล่า ในเมืÉอความจริงเป็นสิงÉทีÉทำให้แม่ ต้องล้มป่วยอีกครังÊ หรืออาจสินÊใจก็เป็นได้ "ลูกชาย" จึงต้องวาดภาพและสร้างบรรยากาศให้แม่เห็นและ รู้สึกว่าประเทศเยอรมนีตะวันออกยังคงมีอยู่2 (ภาพที É1) ภาพยนตร์เรืÉองดังกล่าวผุดขึÊนมาระหว่างการเขียนบทความนีÊ พร้อมกับนึกสนุกอยู่ในใจว่า สมมติมีหนุ่มอีสานคนหนึÉงนอนหลับยาวนานนับ 100 ปี แล้ววันหนึÉงเขาตืÉนขึนÊมาพบกับสังคมอีสานใน วันนีÊ เขาจะรู้สึกถึงความเปลีÉยนแปลงของบ้านเกิดเมืองนอนอย่างไรบ้าง ถึงแม้เขาทราบดีว่าการ เปลียÉนแปลงเป็นหลักความจริงของโลก ดังทีÉเฮราคลิตัส (Heraclitus) นักปราชญ์ชาวกรีกเคยกล่าวว่า คนๆหนึÉงไม่อาจจุ่มเท้าลงในแม่นํÊาสายเดียวได้ถึงสองครังÊ เนืÉองจากแม่นํÊาไม่ใช่สายเดิม และคนก็ไม่ใช่ คนเดิม (สุริชัย หวันแก้ว 2553 : 155) 1 ข้าพเจ้าต้องขอขอบพระคุณบุคคลหลายท่านทีมÉอบโอกาสให้ข้าพเจ้าได้เขียนบทความนี Ê ท่านแรกคือ ศาสตราจารย์ ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้ซึÉงให้คำแนะนำข้าพเจ้าเขียนถึงภาคอีสานในยุคบูรพาภิวัตน์ และกำชับข้าพเจ้า ให้เขียนในฐานะอีสานคือ บ้านเกิดเมืองนอนของข้าพเจ้าเอง ท่านต่อมาคือ คุณยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้จัดการแผนงานนโยบายสาธารณะ เพืÉอการพัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) ผู้ซึÉงให้ความกรุณาแก่ข้าพเจ้ามีเวลาศึกษาค้นคว้าในการเขียนบทความนี Êและแนะนำให้เพิÉม ความน่าสนใจของบทความให้แก่ข้าพเจ้า สุดท้ายขอขอบพระคุณเจ้าหน้าทีÉแผนงาน นพม. ทุกท่าน ทีÉแบ่งเบาภาระงานของข้าพเจ้า เพืÉอให้ข้าพเจ้าสามารถเขียนบทความนีไÊด้อย่างเต็มที É การเขียนบทความนียÊังมีข้อบกพร่องอยู่หลายประการ และข้าพเจ้ายินดีน้อมรับคำชีแÊนะทุกประการ เพราะมุ่งหวังว่าข้อบกพร่องต่างๆ จะ นำไปสู่การปรับปรุงเพืÉอให้ “อีสานใหม่” มีความสมบูรณ์มากยิÉงขึนÊ 2 ภาพยนตร์เรืÉอง Good bye Lenin ! เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันทีÉออกฉาย พ . ศ .2546 กำกับโดย วูล์ฟกัง เบกเกอร์ ภาพยนตร์ ประสบความสำเร็จด้านรายได้อย่างถล่มทลายในประเทศเยอรมนี และยุโรป ได้รับการเสนอชืÉอเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศ ยอดเยีÉยม รางวัลบาฟตา และรางวัลลูกโลกทองคำ และได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยีÉยม รางวัลโกยา รางวัลซีซาร์ และรางวัลยูโรเปียน ฟิล์ม
  • 2. 2 ภาพที É1 โปสเตอร์ภาพยนตร์เรืÉอง Good Bye Lenin ! ทีมÉา : www.listal.com การเปลียÉนแปลงนันÊไม่ได้บอกถึงความก้าวหน้าหรือการถดถอย ในทฤษฎีการเปลีÉยนแปลงก็มี ความหลากหลาย เป็นต้นว่า ทฤษฎีวิวัฒนาการ (evolution theory) ทีÉเห็นว่าสังคมทีÉจะเจริญก้าวหน้า ย่อมต้องมีการเปลียÉนแปลง และการเปลียÉนแปลงนันÊต้องเป็นไปในทิศทางทีเÉหมาะสม ส่วนทฤษฎีวัฎจักร (cyclical theory) คือ แนวคิดทีÉอธิบายว่าการเปลีÉยนแปลงของสังคมเป็นไปในลักษณะของวงจรคือไม่ รู้จักจบสินÊ เนืÉองจากเกิดขึนÊแล้วอาจย้อนกลับมาเป็นเหมือนเดิม ดังเช่น วัฏจักรของชีวิต (เกิด เติบโต แก่ เจ็บ ตาย) ภาคอีสานในวันนีÊเปลีÉยนแปลงไปอย่างมาก ถึงแม้ยังเป็นภาคทีÉยากจนทีÉสุดในประเทศ แต่ ภายในระยะเวลา 20 ปีทีผÉ่านมา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของภาคอีสานขยายตัวอย่างเด่นชัด ทังÊ ข้อมูลของรัฐ และข้อมูลแหล่งอืÉนๆระบุถึงการเปลียÉนแปลงมาโดยตลอด ซึÉงตรงกันข้ามกับเสียงชืÉนชมทีÉ ยังไม่มากเท่าทีคÉวร (Grandstaff et al. 2008) นันÉจึงอาจเป็นไปได้ว่า ผู้คนยังรับรู้ภาพของความเป็นภาค อีสานทีหÉยุดนิÉงหรือไม่เคลืÉอนไหว บทความนีÊจึงเห็นความสำคัญทีÉจะนำเสนอการเปลีÉยนแปลงทีÉเกิดขึนÊ ในภาคอีสาน หรือในชืÉอ “อีสานใหม่” ในแง่มุมของการเปลีÉยนแปลงทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ และ สังคมวัฒนธรรม เพืÉอนำไปสู่ความเข้าใจภาคอีสานทัÊงอดีต ปัจ จุบัน รวมถึงทางเลือกในการพัฒนาภาค อีสานในอนาคต 10 ปีทีผÉ่านมามีงานศึกษาจำนวนมากทีกÉล่าวถึงการเปลีÉยนแปลงของภาคอีสานทังÊงานวิชาการ และงานสืÉอสิงÉพิมพ์ต่างๆ เช่น “อีสานบ้านเฮาเปลีÉยนไป” "อีสานพืÊนทีÉยุทธศาสตร์แห่งอนาคต" แต่งาน เหล่านีÊไม่เคยใช้คำว่า “อีสานใหม่” มีเพียงงานศึกษาไม่กีÉชิÊน (พฤกษ์ เถาถวิล 2555 ; พัฒนา กิติอาษา 2557) ซึÉงเป็นงานศึกษาทีÉมีพลังในการอธิบายการเปลีÉยนแปลงของภาคอีสาน และอธิบายให้รัฐและ สังคมไทยเข้าใจในพลวัตของภาคอีสานไม่ว่าจะเป็น “เพืÉอลดอคติ หรือความคาดหวังทีÉไม่สอดคล้องกับ ความเป็นจริง อันเป็นสาเหตุของความตึงเครียดและขัดแย้งของสังคมไทยทีÉผ่านมา” (พฤกษ์ เถาถวิล 2555 : 1) หรือ “วิถีอีสานใหม่ช่วยให้เรามองเห็นความเป็นไปได้ทีÉชุมชนและอัตลักษณ์ทางสังคมของ
  • 3. 3 ผู้คนจะไม่ติดแน่นตายตัวกับพืนÊทีภÉูมิรัฐศาสตร์แบบดังÊเดิม” (พัฒนา กิติอาษา 2557: 151) โดยในทีÉนีÊจะ ขอกล่าวถึงงานศึกษาอีสานใหม่ 2 ชินÊ ได้แก่ งานแรกคือ งานศึกษาของพฤกษ์ เถาถวิล (2555) อาจารย์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี จากบทความ “(ร่าง) อีสานใหม่ : ความเปลีÉยนแปลงจากการพัฒนาในรอบศตวรรษ” ทีÉ ศึกษาทบทวนการพัฒนาภาคอีสานในรอบศตวรรษ โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ทศวรรษทีผÉ่านมา พร้อมสรุป สภาพสังคมอีสานใหม่ 3 ประการดังนีÊ ประการแรก ภาคอีสานได้เปลียÉนแปลงจากดินแดนชายขอบทางภูมิศาสตร์ของรัฐไทย มาเป็น ดินแดนทีÉสามารถเข้าถึงได้ง่ายด้วยการคมนาคมและขนส่งทีÉสะดวกรวดเร็ว เป็นสะพานเชืÉอมต่อทาง เศรษฐกิจกับอินโดจีนและพม่า ประการทีÉสอง ระบบเศรษฐกิจหลักของภาคอีสานไม่ได้เป็นเศรษฐกิจเพืÉอยังชีพมานานแล้ว หากแต่ได้เข้าเป็นส่วนหนึÉงของเศรษฐกิจเชิงพาณิชย์ ซึÉงเป็นเศรษฐกิจในระบบทุนนิยม ในระบบนีÊ เศรษฐกิจของอีสานไม่ใช่ภาคเกษตรกรรมอย่างทีÉเข้าใจกัน แต่เป็นโครงสร้างทีÉมีการค้าและการบริการ นำหน้า ตามมาด้วยภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม ประการทีสÉาม ภาคชนบทของอีสาน ทีชÉาวบ้านเป็นเกษตรกรยากจนทำการผลิตเพืÉอยังชีพและมี วิถีชีวิตชนบททีÉแตกต่างจากคนเมืองได้กลายเป็นมายาคติ ในชนบทชาวบ้านสัมพันธ์กับเศรษฐกิจ ภายนอก แม้แต่ครัวเรือนทียÉากจนทีสÉุด ดังนันÊจึงไม่อาจพูดได้ว่าคนชนบทในอีสานทำการผลิตเพืÉอยังชีพ งานอีกชินÊหนึÉงเป็นงานศึกษาของพัฒนา กิติอาษา อาจารย์ทางด้านมานุษยวิทยาทีÉศึกษาสังคม วัฒนธรรมอีสานตลอดชีวิตการทำงาน จนกระทังÉท่านจากโลกนีÊไป ในชืÉองาน “สู่วิถีอีสานใหม่” (2557) ทีÉ อธิบายถึงการก่อตัวของอีสานใหม่และการดำเนินต่อไปในยุคหลังสงครามเย็นด้วยลักษณะ 11 ประการ ได้แก่ (1) ความหมายใหม่ของพืÊนทีÉภูมิรัฐศาสตร์ (2) การขยายตัวของสาธารณูปโภค (3) โครงสร้าง ประชากรใหม่ (4) การขยายตัวของเมืองและบทบาทของเมืองชายแดน (5) การขยายตัวของระบบ การศึกษา การบริการสุขภาพ บริการสินเชืÉอ และบริการต่างๆจากภาครัฐ (6) พัฒนาการของ เกษตรกรรมรูปแบบใหม่ (7) การย้ายถินÉแรงงาน (8) การแต่งงานข้ามชาติข้ามวัฒนธรรม (9) ผลกระทบ การขยายตัวของสืÉอมวลชนทางเลือก (10) พลังการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมสมัยนิยม (11) อัตลักษณ์ ทางสังคมใหม่ของคนอีสาน ตัวอย่างงานศึกษาทีÉหยิบยกมานีÊ เป็นงานทีÉกล่าวถึง “อีสานใหม่” และแสดงให้เห็นถึงความ เปลีÉยนแปลงทังÊในระดับโครงสร้าง (structure) และระดับผู้กระทำการ (agency) ซึÉงเปลีÉยนแปลงจน หลอมรวมกลายเป็น “อีสานใหม่” อย่างน่าสนใจ ในบทความนีÊผู้ศึกษาให้ความสนใจการเปลีÉยนนิยาม ความหมายหรือภาพของอีสานทีผÉู้คนทัวÉไปรับรู้ หรือ “อีสานเก่า” ไม่ว่าจะเป็นนิยามความเป็นคนอีสาน ว่า “โง่ จน ล้าหลัง และด้อยพัฒนา” มาเป็นอีสานใหม่ทีหÉมายถึง คนอีสานมีจินตนาการใหม่ มีสำนึกของ การขับเคลืÉอนเพืÉอเปลียÉนแปลงบ้านเมืองของตนเอง ด้วยเหตุนีÊอีสานใหม่จึงไม่ใช่ดินแดนด้อยพัฒนาอีก ต่อไป แต่เป็นพืÊนทีÉยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจทีÉสำคัญของประเทศไทย อีกทังÊยังเป็นแหล่ง “ขุมทรัพย์”
  • 4. 4 แห่งใหม่ทีÉต่างชาติให้ความสนใจ อย่างไรก็ตามจุดมุ่งหมายของผู้ศึกษาไม่ได้ต้องการเสนอว่า “อีสาน ใหม่” เป็นภาวะทีเÉหมาะสมกว่า “อีสานเก่า” เพียงแต่ต้องการอธิบายให้เห็นถึงการเปลีÉยนแปลง เพืÉอให้ ผู้คนได้รับรู้ถึงภาคอีสานทีเÉป็นอยู่ และทางเลือกในการพัฒนาภาคอีสานในอนาคตว่า ควรจะเป็นอย่างไร เป็นหลักสำคัญ เพืÉอแสดงให้เห็นถึงการเปลีÉยนแปลงของการรับรู้และเข้าใจภาคอีสานจนกระทังÉก่อตัวขึนÊเป็น อีสานใหม่ ผู้ศึกษาขอเริมÉต้นบทความนีÊด้วยการเสนอการเปลียÉนแปลงของภาคอีสาน 4 ยุค ได้แก่ 1) ภาพอีสานในยุคก่อนรัชกาลที É5 2) ภาพอีสานในยุคปฏิรูปสมัยรัชกาลที É5 3) ภาพอีสานในยุคสงครามเย็น 4) ภาพอีสานใหม่ : การเปลียÉนแปลงด้านภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) โดยสังเขป การเปลียÉนแปลงภาพอีสานทีเÉกิดขึนÊใน 4 ยุคนีÊจะช่วยให้เข้าใจว่าอีสานมีการเปลียÉนแปลงมาโดย ตลอด อาจมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไปในแต่ละยุคสมัย การทำความเข้าใจการเปลีÉยนแปลงของการ รับรู้และเข้าใจภาคอีสานจะช่วยเป็นพืนÊฐานสำคัญในการทำความเข้าใจความเป็นอีสานใหม่ ทีผÉู้ศึกษาจะ นำเสนอเพิÉมเติมในตอนต่อๆไป 1.การก่อตัวของอีสานใหม่ : พัฒนาการของอีสานในแต่ละยุค 1.1 ภาพอีสานในยุคก่อนรัชกาลทีÉ 5 พัฒนาการของภาคอีสานในช่วงก่อนทีÉสยามเข้าครอบครองอีสานทังÊหมดและลาวในรัชสมัย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใน พ.ศ. 2322 อีสานไม่เพียงถูกแยกออกจากภูมิภาคอืÉนๆด้วยสภาพทาง ภูมิศาสตร์ทีÉกางกันÊอยู่เท่านันÊ แต่ในประวัติศาสตร์ทางการเมืองยังพบว่าอีสานถูกแบ่งแยกจากผู้ ครอบครองดินแดนทีรÉาบสูงแห่งนีÊอย่างชัดเจน ทังÊอาณาจักรอังกอร์ ลาว รวมถึงสยาม ในทางภูมิศาสตร์ภาคอีสานถูกแยกออกจากภาคกลางและส่วนอืÉนๆของประเทศไทยด้วย เทือกเขาสูงและป่าทึบด้านทิศตะวันตก ส่งผลให้อีสานเป็นพืÊนทีÉทีÉห่างไกลจากศูนย์กลางของอาณาจักร สยาม เคยมีบันทึกว่าก่อนมีการสร้างทางรถไฟ การคมนาคมระหว่างภาคอีสานกับกรุงเทพฯ มี 2 เส้นทางหลัก คือ กรุงเทพฯไปนครราชสีมา และกรุงเทพฯไปยังอุบลราชธานี การเดินทางในเวลานันÊต้อง ใช้เวลายาวนาน ผ่านป่าทึบ ภูเขา โจรผู้ร้าย รวมถึงไข้ป่า หากเดินทางในช่วงฤดูฝนจะยิÉงทวีความ ยากลำบากในการเดินทางสู่ภาคอีสาน บางเส้นทางถูกตัดขาดไม่สามารถเดินทางต่อได้ กระทังÉมีการ สร้างเส้นทางรถไฟจากกรุงเทพฯถึงนครราชสีมาและอุบลราชธานี ทีÉเริมÉสร้างในพ.ศ. 2443 และพ.ศ. 2469 ตามลำดับ แต่ก็ได้ใช้เวลาราว 2 ทศวรรษหลังจากนันÊจึงสามารถเข้าถึงจังหวัดในเขตอีสานด้านใน ได้ (มณีมัย ทองอยู่ 2546) (ดูเพิมÉเติมภาพที É2)
  • 5. 5 ภาพที É2 ทีพÉักคนเดินทางทีจÉะไปกรุงเทพฯในอดีต อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา ทีมÉา : www.skyscrapercity.com สำหรับการตังÊบ้านเรือนของคนอีสานกระจายตัวอยู่ตามริมแม่นํÊา หมู่บ้านเหล่านีÊเป็นเพียง หมู่บ้านเล็กๆตังÊแต่สิบหลังคาเรือนจนถึงห้าสิบหลังคาเรือน ประกอบด้วยคนลาวเป็นหลักทีÉมาจากการ อพยพและถูกกวาดต้อนระหว่างทีเÉกิดศึกสงคราม ยกเว้นบริเวณทีใÉกล้กับจังหวัดนครราชสีมาทีมÉีคนไทย อาศัยอยู่ รวมถึงพ่อค้าชาวจีนทีตÉังÊถินÉฐานในเมืองและบริเวณใกล้ๆ ขณะทีÉคนลาวทีÉอพยพโยกย้ายครังÊ ใหญ่เกิดขึนÊในช่วงสมัยพระเจ้าตากสินมหาราชเมืÉอครังÊจำปาสักกลายเป็นส่วนหนึÉงของอาณาจักรสยาม โดยคนกลุ่มนีÊแสวงหาดินแดนแห่งใหม่ทีÉมีความอุดมสมบูรณ์ ดังจะเห็นได้จากการเกิดขึÊนของเมือง สุวรรณภูมิ (อำเภอหนึÉงในจังหวัดร้อยเอ็ดปัจ จุบัน) ซึงÉตังÊอยู่บริเวณลุ่มนํÊาชีตอนล่าง ความเปลียÉนแปลงทีÉ เกิดขึนÊนีÊได้รับการสนับสนุนจากรัฐสยามซึงÉต้องการให้คนกลุ่มดังกล่าวมีความยากลำบากหากจะกลับถินÉ ฐานเดิมของตนในอีกฟากฝงัÉของแม่นํÊาโขง เหตุการณ์การโยกย้ายผู้คนครังÊใหญ่ได้เกิดขึนÊอีกครังÊในสมัยเจ้าอนุวงศ์ (พ.ศ. 2369-2371) ซึÉง พ่ายแพ้สงครามต่อสยามในสมัยรัชกาลที É3 แต่ครังÊนีÊการโยกย้ายผู้คนไม่เกิดขึนÊในเขตภาคอีสานเท่านันÊ แต่ยังรวมถึงการโยกย้ายผู้คนสู่เขตภาคกลาง ดังทีมÉีชืÉอเรียกว่า “ลาวเวียง” “ลาวทรงดำ” ในบริเวณภาค กลาง ขณะเดียวกันคลืÉนการอพยพและโยกย้ายของผู้คน ทำให้ภาคอีสานเกิดเมืองต่างๆขึนÊอีกหลาย แห่ง3 อย่างไรก็ตามเมืองทีเÉกิดขึนÊในเวลานีÊ (สมัยรัชกาลที É3 และรัชกาลที É4) หรือตังÊในช่วงก่อนหรือหลัง รัฐสยามให้ใช้ระบบการปกครองแบบล้านช้าง (ระบบอาญาสีÉ) โดยส่วนกลางมอบหมายให้ผู้นำท้องถิÉน 3 โดยเฉพาะเมืองในพืนÊทีรÉอบๆ ทิวเขาภูพาน เช่น สกลนคร นครพนม มุกดาหาร และกาฬสินธ์ุ
  • 6. 6 ปกครองและบริหารงานในท้องถิÉนเอง หน้าทีÉของหัวเมืองทีÉต้องปฏิบัติต่อส่วนกลางมีเพียงเกณฑ์ผู้คน เมืÉอมีศึกสงคราม รวมถึงเก็บส่วยให้ได้ตามทีสÉ่วนกลางกำหนด (สุวิทย์ ธีรศาศวัต 2546) ด้านเศรษฐกิจของภาคอีสานเวลานันÊยังไม่ถูกผนวกรวมกับระบบตลาดดังเช่นภูมิภาคอืÉนของ สยาม คนอีสานยังทำการเพาะปลูกเพืÉอยังชีพพร้อมทัÊงการหาของป่าและล่าสัตว์ ส่วนใหญ่นิยมปลูกข้าว เหนียวเพืÉอบริโภคและแลกเปลีÉยนในท้องถิÉน ขณะทีÉความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของหมู่บ้านกับสังคม ภายนอกมีค่อนข้างจำกัด แม้แต่หลังลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ริงÉระหว่างสยามกับอังกฤษในพ.ศ. 2398 เศรษฐกิจภาคกลางถูกผนวกรวมเป็นส่วนหนึÉงของระบบตลาดแล้ว แต่เศรษฐกิจของภาคอีสานยังเป็น เศรษฐกิจเพืÉอเลีÊยงชีพเป็นหลัก กระทังÉหลังการเชืÉอมต่อภาคอีสานด้วยเส้นทางรถไฟใน พ.ศ. 2443 ความสัมพันธ์กับระบบตลาดจึงเพิมÉสูงขึนÊ คายส์ (2557 : บททีÉ 2) อธิบายถึงการก่อตัวของภาคอีสานก่อนทีÉสยามปฏิรูปการปกครองใน สมัยรัชกาลที É5 ว่า ในทางการเมืองอีสานมีประวัติศาสตร์ของการแบ่งแยกมาโดยตลอด ดินแดนตามฝังÉ แม่นํÊาโขงผนวกเข้ากับอาณาจักรลาวตังÊแต่กลางคริสต์วรรษทีÉ 14 ถึงต้นคริสต์วรรษ 19 (ราวพุทธ ศตวรรษทีÉ 19 - 24) ขณะทีÉดินแดนตอนในส่วนใหญ่ของทีÉราบสูงโคราชอยู่ในลักษณะทีÉเป็นเอกเทศ ทางการปกครองมากกว่า มีเพียงในช่วงก่อนคริสต์วรรษที É14 ทีอÉีสานถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอังกอร์ เพียงแห่งเดียว ถึงแม้จะมีการอพยพและโยกย้ายประชากรในภาคอีสานอยู่บ่อยครังÊ แต่ประชากรส่วน ใหญ่ในภูมิภาคนีÊก็มีการสืบทอดประวัติศาสตร์ร่วมกัน ทีสÉ่งผลให้เกิดความเป็นท้องถินÉนิยมของคนอีสาน กล่าวคือคนส่วนใหญ่ในภาคอีสานรับวัฒนธรรมทีคÉล้ายกับวัฒนธรรมของลาว แม้ว่าจะแตกต่างกันไปบ้าง เนืÉองจากภาคอีสานมีอิสระในการปกครองตนเองมายาวนาน อีกทังÊยังได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรม กัมพูชามากกว่าคนลาวในประเทศลาว แต่สามารถรวมเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ได้กับชาติพันธุ์ลาว ซึÉงทำให้มี ความแตกต่างจากคนในสยามหรือคนในภาคกลาง 1.2 ภาพอีสานในยุคปฏิรูปสมัยรัชกาลทีÉ 5 อีสานเปลียÉนแปลงอย่างมากในสมัยรัชกาลที É5 ทังÊการเสียดินแดนของสยามให้แก่ฝรังÉเศสถึง 3 ครังÊ การปฏิรูปภาคอีสานขนานใหญ่ และขบวนการเคลืÉอนไหวของกบฏผู้มีบุญ ดังทีไÉด้ทราบว่าสยามเข้า ครอบครองอีสานนับตังÊแต่สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นต้นมา แต่ไม่ได้เปลียÉนแปลงการปกครองของ ดินแดนแห่งนีÊ จนกระทังÉพ.ศ. 2433 ในสมัยรัชกาลทีÉ 5 ทีÉท่านทรงปฏิรูปการปกครอง ปฏิรูปการคลัง ปฏิรูประบบรักษาความปลอดภัย ปฏิรูปการศึกษา และการคมนาคมขนส่ง ทังÊหลายเหล่านีÊคือ การ กระชับเศรษฐกิจและการเมืองของอีสานให้ใกล้ชิดกับกรุงเทพมหานครมากยิงÉขึนÊ (มณีมัย ทองอยู่ 2546 : 42) สร้างความเชืÉอมโยงทางสังคมและวัฒนธรรมของกรุงเทพฯให้เกิดขึนÊต่อคนอีสาน อันเป็นส่วนหนึÉง ของการเน้นยำÊให้แผนทีปÉระเทศไทยมีเขตแดนทีชÉัดเจนมากยิงÉขึนÊ ด้านการปกครอง รัชกาลทีÉ 5 ทรงแบ่งอีสานและลาวเป็น 4 ฝ่าย พร้อมทังÊส่งข้าหลวงใหญ่ 4 คน จากส่วนกลางมาปกครอง ใน พ.ศ. 2440 ได้มีการยกเลิกระบบการปกครองแบบล้านช้าง (อาญาสีÉ) แล้ว
  • 7. 7 แต่งตังÊผู้ว่าราชการเมือง ปลัดเมือง ยกกระบัตรเมือง และผู้ช่วยราชการเมืองแทน ซึÉงส่วนใหญ่เป็น ข้าราชการจากส่วนกลาง มีบ้างทีเÉป็นขุนนางท้องถินÉ แต่ต้องได้รับการแต่งตังÊจากส่วนกลางเช่นกัน เมือง ขนาดเล็กหลายเมืองถูกยุบเป็นอำเภอ ส่วนเมืองทีÉมีขนาดเล็กมากถูกยุบเป็นตำบล ขณะทีÉมีการส่ง ข้าราชการจากส่วนกลางเข้ามาเก็บภาษีอากรซึงÉเป็นการปฏิรูปด้านการคลัง โดยเปลียÉนจากการเก็บส่วย มาเป็นเงินรัชชูปการทังÊหมด นอกจากนีÊยังได้เปลีÉยนระบบรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทีÉ ไม่เป็นระบบมาเป็นระบบตำรวจ มีการปฏิรูปการศึกษาทีÉทำให้เกิดการตังÊโรงเรียนการปกครองทีÉ อุบลราชธานี และมีการตังÊโรงเรียนหลายแห่งในสมัยรัชกาลทีÉ 6 ภายหลังจากตราพระราชบัญญัติ ประถมศึกษา ซึงÉเป็นหลักสูตรทีสÉร้างให้คนอีสานมีความกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับคนในภาคกลางและ ส่วนอืÉนๆในประเทศไทย สร้างความเชืÉอมโยงให้กับคนอีสานทีโÉดดเดียÉวเข้ามาอยู่ในกรอบมาตรฐานของ สังคมไทย (สุเทพ สุนทรเภสัช 2548: 241) (ดูเพิมÉเติมภาพที É3) ภาพที É3 ชาวบ้านอีสานเมืÉอครังÊรับเสด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทีมÉา: www.isan.clubs.chula.ac.th/ นอกจากนีÊยังมีการเชืÉอมโยงอีสานเข้ากับส่วนกลางด้วยการปรับปรุงระบบการคมนาคมขนส่ง โดยการสร้างทางรถไฟกรุงเทพฯ-นครราชสีมา พ.ศ. 2443 ส่งผลให้สินค้าต่างๆจากภาคอีสานเข้าสู่ กรุงเทพฯจำนวนมาก เมืองทีÉรถไฟไปถึงได้กลายเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าข้าว ขณะทีÉเมืองอืÉนๆ สามารถส่งข้าวตามทางนํÊา ทางเกวียน และถนน แม้จะมีแนวโน้มทีÉเห็นว่าคนอีสานเริมÉผลิตสินค้าเชิง พาณิชย์มากขึÊน เพืÉอตอบสนองกับความต้องการของระบบตลาด รวมถึงการจ่ายเงินสดในระบบภาษี อากร แต่คนอีสานยังผลิตเพืÉอผู้บริโภคในครัวเรือนต่อไป อีกทังÊสินค้าในตลาดก็ยังมีอยู่อย่างจำกัดทังÊใน แง่ปริมาณและชนิด (มณีมัย ทองอยู่ 2546 : 81-86) (ดูเพิมÉเติมภาพที É4)
  • 8. 8 ภาพที É4 การสร้างทางรถไฟสาย กรุงเทพฯ – นครราชสีมา ทีมÉา : www.skyscrapercity.com เมืÉอมีการปฏิรูปภาคอีสานหลายๆด้าน การเปลียÉนแปลงทีÉเกิดขึนÊนีÊทำให้คนบางกลุ่มมีปฏิกิริยา ตอบโต้กลายเป็นขบวนการเคลืÉอนไหวของกบฏผีบุญ ทังÊมาจากกลุ่มผู้สูญเสียประโยชน์ เช่น กลุ่มเจ้า เมืองเดิมทีถÉูกลดทอนอำนาจ รวมทังÊผลประโยชน์จากส่วยอากรทีลÉดน้อยลง และในอีกด้านหนึÉงข่าวลือทีÉ แพร่สะพัดว่าฝรังÉยึดกรุงเทพฯแล้ว ทำให้คนอีสานบางกลุ่มต้องการแยกตัวจากสยาม รวมถึงบางกรณีมี เจ้าเมืองบางแห่งกดขีขÉูดรีดราษฎร วิธีการของกบฏผีบุญส่วนใหญ่คือ การปลุกระดมด้วยหมอลำ รวมถึง การแพร่ข่าวลือว่าจะเกิดเภทภัยครังÊใหญ่ ขบวนการเคลืÉอนไหวของกบฏผีบุญถูกปราบปรามจาก ส่วนกลางในหลายครังÊ และครังÊใหญ่ทีสÉุดเกิดขึนÊเมืÉอ พ.ศ. 2444-2445 (สุวิทย์ ธีรศาศวัต 2546) 1.3 ภาพอีสานในยุคสงครามเย็น ภาพของอีสานหลังจากถูกผนวกรวมเข้ากับดินแดนสยามในสมัยรัชกาลทีÉ 5 เป็นต้นมา สร้าง การเปลียÉนแปลงอีสานในหลายด้านดังทีกÉล่าวถึงในหัวข้อทีÉผ่านมา นักมานุษยวิทยาท่านหนึÉงเรียกการ แผ่ขยายอำนาจของสยามเข้าไปนีÊว่า “ระบบอาณานิคมภายใน” (internal colonialism) การรวมศูนย์ อำนาจของสยามในดินแดนทีÉเคยอยู่ฐานะ “ชายขอบ” กลายเป็นการบ่งบอกให้ทราบถึงการมีตำแหน่ง แห่งทีÉในแผนทีÉประเทศไทยเช่นเดียวกับภูมิภาคอืÉนๆในประเทศ แต่ในด้านหนึÉงก็พบว่า อำนาจทีÉ พยายามควบคุมและสร้างความเป็นอีสาน ทำให้เกิดสำนึกของความเป็น “ภูมิภาคนิยม”(regionalism) ได้เช่นกัน (สุเทพ สุนทรเภสัช 2548) สำนึกร่วมนีÊมาจากปฏิสัมพันธ์ทีเÉข้มข้นระหว่างคนอีสานกับคนไทย ภาคกลางนับตังÊแต่เมืÉอเริมÉรวมศูนย์อำนาจของอาณาจักรสยามเป็นต้นมา และสำนึกดังกล่าวจะเข้มข้น มากขึนÊเมืÉอมีการเผชิญกับแรงกดดันทีมÉาจากภาคกลาง (คายส์ 2557 : 31-32) การเปลียÉนแปลงทีเÉกิดขึนÊกับภาคอีสานไม่เพียงอยู่ในบริบทระหว่างอีสานกับกรุงเทพฯเท่านันÊ แต่ยังมีพลังการเปลียÉนแปลงจากการเมืองและเศรษฐกิจนานาชาติในยุคสงครามเย็น ซึÉงเป็นยุคแห่งการ
  • 9. 9 ต่อสู้เพืÉอเป็นผู้นำทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างกลุ่มประเทศ 2 กลุ่มคือ กลุ่มเสรีประชาธิปไตยนำ โดยสหรัฐอมริกา และกลุ่มคอมมิวนิสต์นำโดยสหภาพโซเวียตและจีน พัฒนา กิติอาษา นักมานุษยวิทยาทีเÉกิดและเติบโตในอีสานกล่าวถึง “ข้อบกพร่องประการสำคัญ ของวงการอีสานศึกษา” คือ การละเลยบริบททางประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจการเมืองทีสÉำคัญในภูมิภาค ทีมÉีส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทางและการเปลียÉนแปลงด้านต่างๆในภาคอีสาน (2557: 83) อีสานในยุค หลังสงครามเย็นกลายเป็นพืÊนทีÉยุทธศาสตร์สำคัญทางการเมือง ทหาร เศรษฐกิจ และสังคม มี งบประมาณจำนวนมากพัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภค ไม่ว่าจะเป็น เขือÉน ถนน มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการพัฒนาด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม ขณะเดียวกัน“ปัญ หาของภาคอีสาน”ก็ถูกแต่งเติม ในช่วงสงครามเย็นให้เป็นปัญ หาด้านความมันÉคงและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ดังนันÊอีสานจึง ต้อง “พัฒนา” เพืÉอแก้ไข “ปัญ หาของภาคอีสาน” และเอาชนะพรรคคอมมิวนิสต์ให้ได้ จะเห็นได้จากยุค แห่งการพัฒนาสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิเÍป็นต้นมา มีแผนพัฒนาภาคอีสาน 5 ปี4 ใน พ.ศ. 2504 ภาพ การเปลียÉนแปลงของภาคอีสานในยุคนีÊคือ การรักษาด้วยยาครอบจักรวาลทีÉเรียกว่า “การพัฒนา” แต่ใน อีกด้านก็เป็นการตอกยำÊให้เห็นถึงภาพลักษณ์ความด้อยพัฒนาและความล้าหลัง ซึÉงได้สร้าง “ความเป็น อืÉน” ให้กับคนอีสานมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นความตํÉาต้อยทางเศรษฐกิจ หญิงอีสานทีÉเป็นเมียเช่า หรือ ค้าบริการทางเพศ (พัฒนา กิติอาษา 2557) รัฐบาลไทยมีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในการร่วมมือเพืÉอต่อต้าน คอมมิวนิสต์ นับตังÊแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม สมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ Í(พ.ศ. 2502-2506) ต่อเนืÉองจนถึงสมัยรัฐบาลจอมพลถนอม (พ.ศ. 2506-2516) เห็นได้จากมีโครงการพัฒนาภาคอีสานมาก เป็นพิเศษ เป็นต้นว่า มีการลงนามร่วมกันตามสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง รัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกาใน พ.ศ. ŚŜšś – ŚŜšŜ การร่วมปฏิบัติการพัฒนาภาคอีสานฉุกเฉิน ระหว่าง พ.ศ. ŚŜšŞ-ŚŜšŠ มีผลให้รัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม สนใจการพัฒนาพืÊนทีÉภาคอีสาน ด้านการเพาะปลูกและทำถนนเชืÉอมต่อระหว่างภาคภายในประเทศ กรณีถนนสายมิตรภาพระหว่าง สระบุรี – นครราชสีมา ได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา จนแล้วเสร็จ พ.ศ. ŚŝŘŘ และขยายไปยัง ขอนแก่น พ.ศ. ŚŝŘŞ และ ŚŝŘŠ ตามลำดับ (ดูเพิÉมเติมภาพทีÉ 5) หลังจากมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ แห่งชาติ ฉบับที Éř (พ.ศ. ŚŝŘŜ-ŚŝŘš) รัฐบาลเน้นการสร้างถนนในภาคอีสานตามนโยบายเศรษฐกิจและ ป้องกันคอมมิวนิสต์ (สมศรี ชัยวณิชยา 2548 : śŚŘ-śŚ1) 4 เป็นแผนพัฒนาภาคอีสานทีแÉยกจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับทีÉ 1 สาขาการพัฒนาทีรÉัฐบาลให้ความสำคัญมากทีÉสุดคือ การคมนาคม รองลงมาคือ สาขาเกษตร และสหกรณ์
  • 10. 10 ภาพที É5 พิธีเปิดถนนมิตรภาพ พ.ศ. 2501 ทีมÉา : www.skyscrapercity.com การเปลียÉนแปลงภาคอีสานหลังสงครามเย็นในพ.ศ. 2488 เป็นต้นมา ส่งผลให้เศรษฐกิจชุมชน ของภาคอีสานเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจตลาดมากกว่ายุคทีÉผ่านมา ซึÉงสาเหตุหลักของการเปลีÉยนแปลงนีÊ ประกอบด้วย 1. การเพิÉมประชากรอย่างรวดเร็ว 2. การขยายตัวของทุนนิยม โดยเฉพาะคนจีนและผู้มี อาชีพค้าขาย ซึงÉเพิมÉขึนÊ 3 เท่าในระยะเวลา 10 ปี 3. นโยบายของรัฐ ด้วยการก่อสร้างโครงสร้างพืÊนฐาน ทางเศรษฐกิจ (ถนน เขืÉอน และไฟฟ้า) และการต่อต้านคอมมิวนิสต์ 4. นโยบายการผลิตเพืÉอส่งออก (สุวิทย์ ธีรศาศวัต 2546) หลังจากมีการเร่งพัฒนาเศรษฐกิจ นับตังÊแต่รัฐบาลสฤษดิ Íรัฐบาลถนอม จนถึงทศวรรษ ŚŝśŘ ภูมิทัศน์ (landscape) ของอีสานเปลีÉยนแปลงอย่างมาก เห็นได้จากโครงการพัฒนาของรัฐทีÉสำคัญ 3 โครงการ (พฤกษ์ เถาถวิล 2555) ได้แก่ (1) การทำป่าไม้ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับทีÉ 1 มีพืÊนทีÉป่าไม้ร้อยละ 42 ของ ่า่าพืนÊทีภาÉค (105.5 ล้านไร่) และเมืÉอเริมÉมีการสัมปทานป่าไม้ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2511 จนถึงปี 2530 มีการสัมปทานปไม้ในพืนÊทีทÉงัÊสินÊ 36.8 ล้านไร่ แม้เป็นช่วงทีทÉำรายได้ให้แก่ประเทศมหาศาล แต่ ก็ทำให้พืนÊทีปÉลดลงอย่างมากเช่นกัน ขณะเดียวกันการสัมปทานปไม้นับเป็นแนวทางหนึÉงของรัฐไทย ในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ เห็นได้จาก พ.ศ. 2516 เป็นปีทีมีÉการให้สัมปทานปไม้มากทีสพ.ศ. 2516 – 2519 คืประมาณร้อยละ 10) ่าÉุด และระหว่าง อ ช่วงทีÉพืÊนทีป่าÉไม้ลดลงปีละประมาณ 2.6 ล้านไร่ (อัตราการลดลงเฉลียÉต่อ่าปี (2) การก่อสร้างโครงสร้างพืÊนฐานทางเศรษฐกิจ ทางรถไฟทีÉมุ่งไปเขตอีสานตอนใต้ปลายทางทีÉ อุบลราชธานี สร้างเสร็จ พ.ศ. 2473 ด้านเส้นทางรถไฟทีÉมุ่งสู่เขตอีสานตอนกลางและตอนบนสิÊนสุดทีÉ
  • 11. 11 หนองคายสร้างเสร็จ พ.ศ. 2501 สำหรับทางหลวงแผ่นดินทีสÉำคัญ 2 สาย คือ ทางหลวงมิตรภาพทีเÉชืÉอม จากภาคกลางตอนบนผ่านนครราชสีมา และสิÊนสุดทีÉหนองคายสร้างเสร็จ พ.ศ. 2508 ขณะทีÉสาย เพชรบูรณ์ขอนแก่นสร้างเสร็จ พ.ศ. 2531 นอกจากนันÊ ยังมีการสร้างเขือÉนทีสÉร้างเพืÉอผลิตไฟฟ้าและการ ชลประทานจำนวนมากในระหว่างพ.ศ. 2505 – 2513 (3) การขยายตัวของพืชพาณิชย์ ขยายตัวอย่างเด่นชัดเมืÉอมีการสร้างทางรถไฟ โดยเฉพาะ ปริมาณข้าวในภาคอีสานทีเÉพิมÉจำนวนสูงขึนÊ ในทศวรรษ พ.ศ. 2500 ขณะเดียวกันนโยบายส่งเสริมการ ส่งออกพืชไร่ของรัฐไทย มีผลจากการขยายพืนÊทีกÉารปลูกพืชไร่ทีÉปลูกในทีÉดอน อีสานจึงมีพืชเศรษฐกิจ นอกเหนือจากข้าว ได้แก่ ข้าวโพด มันสำปะหลัง ปอ และอ้อย จำนวนพืÊนทีÉการเพาะปลูกจึงเพิมÉสูงมาก ในระหว่างพ.ศ. 2504 -2532 พืÊนทีÉเพาะปลูกพืชพาณิชย์ของอีสานเพิมÉขึนÊจาก 17.1 ล้านไร่เป็น 39.6 ล้านไร่ 2.32 เท่า 1.4 ภาพอีสานใหม่ : การเปลีÉยนแปลงด้านภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) โดยสังเขป การวาดภาพสังคมในอนาคตเป็นสิÉงทีÉเกิดขึÊนในทุกยุคสมัย ซึÉงภาพสังคมของแต่ละคนอาจ เหมือนกันบ้างแตกต่างกันบ้างก็เป็นเรืÉองส่วนบุคคล แต่หากเมืÉอใดรัฐเป็นแกนนำหลักในการวาดภาพ สังคม แรงขับเคลืÉอนจากสรรพกำลังทีÉระดมเข้ามาเพืÉอเปลีÉยนแปลงสังคม ทังÊแผนยุทธศาสตร์และ นโยบาย ก็มีความเข้มข้นมากตามไปด้วย จะเห็นได้จากการพัฒนาภาคอีสานทีÉเปลีÉยนแปลงภาพของ อีสานไปจากเดิมดังข้างต้น ส่วนสำคัญมาจากนโยบายของรัฐ สำหรับในส่วนนีÊผู้ศึกษาจะพิจารณาต่อไป ว่า นโยบายการพัฒนาอีสานในปัจ จุบัน ต้องการวาดภาพอีสานให้เป็นอย่างไร จากนันÊจะนำเสนอการ เปลียÉนแปลงของอีสานจากนโยบายและโครงการการพัฒนาของต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเพืÉอน บ้าน และการเตรียมพร้อมรับการเปลีÉยนแปลงของประเทศไทย ซึÉงเน้นในส่วนของการเชืÉอมโยงของ อีสานกับประเทศต่างๆในด้านการพัฒนาเส้นทางการคมนาคมขนส่งเป็นสำคัญ การมีผังประเทศไทย 2600 และผังในภูมิภาคต่างๆ เป็นนโยบายการพัฒนาพืÊนทีÉของประเทศ และเป็นผังแม่บทสำหรับการวางผังเมืองในระดับต่างๆ ขณะทีÉผังภาคคือ การถ่ายทอดนโยบายจากผัง ประเทศสู่นโยบายการใช้พืÊนทีÉของแต่ละภาคในการรองรับโครงการและกิจกรรมการพัฒนาด้านต่างๆ เพืÉอเป็นกรอบการพัฒนาพืÊนทีÉและการวางผังเมืองให้กับกลุ่มจังหวัด จังหวัด เมืองและชุมชน ผังภาค อีสาน พ.ศ. ŚŞŘŘ เป็นความพยายามออกแบบอนาคตของภาคอีสานในอีก ŝŘ ปีข้างหน้า ว่าควรมี ลักษณะอย่างไร โดยเกิดขึนÊจากมติคณะรัฐมนตรีเมืÉอ พ.ศ. ŚŝŜŝ และกรมโยธาธิการและผังเมืองเป็น ผู้ดำเนินการและจัดทำผัง ซึÉงเสนอว่าภาคอีสานเป็น “ประตูเศรษฐกิจการค้าเชืÉอมโยงสู่อินโดจีน เป็น ศูนย์กลางคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ รักษาแหล่งเกษตรชันÊดีและข้าวหอมมะลิ พัฒนาเมืองศูนย์กลาง หลัก” (ปราณี นันทเสนามาตร์ 2557 ; กรมโยธาธิการและผังเมือง 2551)
  • 12. 12 สำหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 11 (พ.ศ. 2555-2559) กำหนดทิศ ทางการพัฒนาภาคอีสานไว้ว่า ถึงแม้มีศักยภาพเป็นฐานการผลิตด้านการเกษตร แต่ก็มีความเสีÉยงทีÉทำ ให้เกิดความไม่มัÉนคงทางการผลิตในภาคเกษตรได้เช่นกัน เพราะจำต้องพึÉงพิงปัจ จัยภายนอกในเรืÉอง ความแปรปรวนของภูมิอากาศ และภัยธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการมีทีตÉังÊทางภูมิศาสตร์ทีÉเป็นศูนย์กลาง ของกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํÊาโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) ทีÉมีพืÊนทีÉติดต่อกับ ประเทศพืÊนบ้าน สามารถทำให้ภาคอีสานเติบโตในทางการค้าและการลงทุนได้เช่นกัน ดังนัÊน แผนพัฒนาฯฉบับดังกล่าวจึงกำหนดบทบาทการพัฒนาของภาคอีสานให้เป็นฐานการผลิตพืชอาหารและ พืชพลังงานทดแทนของประเทศ รวมถึงเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและเอทานอลของ ประเทศ นอกจากนันÊยังเป็นประตูการค้า การลงทุน และการท่องเทีÉยวเชืÉอมโยงสู่อินโดจีน (สำนักงาน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2554) ภาคอีสานไม่ได้ตังÊอยู่อย่างโดดเดีÉยว หรือเป็นส่วนหนึÉงของแผนทีÉประเทศไทยแต่เพียงเท่านันÊ ภาคอีสานยังเป็นส่วนหนึÉงของแผนทีÉโลก ซึÉงความเชืÉอมโยงทีÉเกิดขึนÊนีÊพลิกเปลีÉยนโฉมหน้าภาคอีสาน เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างมหาศาล จะเห็น ได้จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกในองค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การการค้าโลก (World Trade Organization : WTO) การเข้าร่วมเขตการค้าเสรีอาเซียน (Asian Free Trade Area : AFTA) โครงการ พัฒนาทังÊในประเทศและระหว่างประเทศหลายโครงการ อาทิ โครงการพัฒนาความร่วมมือระหว่าง ประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํÊาโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) ยุทธศาสตร์ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (Ayeyawadee-Chao PhrayaMekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) เป็นต้น (ดูเพิมÉเติมภาพที É6) ภาพที É6 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค และอนุภาค ทีมÉา : ปราณี นันทเสนามาตร์ 2557
  • 13. 13 ด้านการพัฒนาเส้นทางการคมนาคมขนส่งซึÉงเป็นการเชืÉอมโยงภูมิภาคของโลกครังÊใหญ่ก็ทาบ ทับในเขตภาคอีสาน เป็นต้นว่าระเบียงเศรษฐกิจตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Corridor) ทีÉ เชืÉอมเมาะละแหม่ง-ดานัง ซึงÉเส้นทางสายดังกล่าวได้ผ่านจังหวัดในภาคอีสานบางส่วนด้วย (ดูเพิมÉเติม ภาพที É7) มีโครงการรถไฟความเร็วสูงของจีนทีพÉยายามเชืÉอมโยงจีนกับอาเซียน เริมÉต้นจากมณฑลยูน นานของจีนผ่านลาว ไทย มาเลเซีย เข้าไปยังสิงคโปร์ นอกจากนันÊยังมีความร่วมมือระหว่างไทยกับ ประเทศลาว เพืÉอเชืÉอมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่ง ดังทีมÉีการก่อสร้างสะพานข้ามแม่นํÊาโขง 6 แห่ง ทังÊทีÉ เปิดใช้งานแล้วและกำลังก่อสร้าง โดย 5 แห่งอยู่ในภาคอีสาน ได้แก่ หนองคาย มุกดาหาร นครพนม บึง กาฬ และอุบลราชธานี ความร่วมมือด้านการพัฒนาโครงสร้างพืÊนฐาน ปรับปรุงถนน สนามบิน รวมทังÊ การเชืÉอมต่อด้วยทางรถไฟและรถยนต์ ไม่ว่าจะเป็น การสร้างเส้นทางรถไฟจากช่วงกึÉงกลางสะพาน มิตรภาพในจังหวัดหนองคายถึงสถานีท่านาแล้งในประเทศลาว ด้วยระยะทาง ś.ŝ กิโลเมตร การอำนวย ความสะดวกในการขนส่งทางถนน ดังกรณีไทยและลาวได้ลงนามความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนน พ.ศ. ŚŝŜŚ ซึงÉส่งผลให้มีผู้ประกอบการขนส่งสินค้าไทย-ลาว การเดินรถโดยสารประจำทางระหว่างไทย และลาว ปัจ จุบันมี řŘ เส้นทาง (สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 2557) ภาพที É7 เส้นทางเชืÉอมโยงระเบียงเศรษฐกิจตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (EWEC) ทีมÉา : สุริยา จันทรกระจ่าง 2557 นอกเหนือจากโครงการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ โครงการพัฒนาของประเทศเพืÉอน บ้านบางโครงการก็มีผลต่อการพัฒนาภาคอีสานเช่นกัน ดังเช่น การสร้างสะพานข้ามแม่นํÊาเหือง ทีÉ อำเภอท่าลี Éจังหวัดเลย ซึงÉเชืÉอมต่อกับเมืองแก่นท้าว แขวงไชยบุรี เชืÉอมโยงไปยังแหล่งท่องเทีÉยวเมือง หลวงพระบาง มีการจัดตังÊนิคมอุตสาหกรรมในเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน (Savan-Seno Special
  • 14. 14 Economic Zone) ตังÊอยู่ถนนหมายเลข 9 มีโครงการเขือÉนนํÊาเทิน 2 เป็นโครงการเขือÉนผลิตกระแสไฟฟ้า พลังนํÊาทีใÉหญ่ทีสÉุดของประเทศลาว และเมืÉอเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 ลาวเริมÉต้นก่อสร้างโครงการรถไฟ ความเร็วสูงเชืÉอมโยงจากชายแดนไทย-ลาวทางภาคตะวันตกไปยังเวียดนาม มีบริษัทไจแอนท์ คอนโซลิ เดทเต็ด ของมาเลเซีย เป็นผู้ก่อสร้างและดำเนินงาน จากแขวงสะหวันนะเขต พรมแดนไทย-ลาวทาง ตะวันตกเฉียงใต้ ไปยังลาวบาว (เวียดนาม) ด่านพรมแดนลาว-เวียดนามทางตะวันออก และคาดว่าจะ แล้วเสร็จภายในสีปÉี (“จีนเดินหน้าหนุนลาวทำรถไฟความเร็วสูง”, 2557) สำหรับประเทศไทยเตรียมพร้อมการเชืÉอมต่อเส้นทางการคมนาคมขนส่งสำหรับการเชืÉอมโยงทังÊ ภายในประเทศและต่างประเทศ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อนุมัติ การลงทุนสาธารณะปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ครังÊแรก มูลค่า 6.8 หมืÉนล้านบาท ในฐานะทีเÉป็นส่วนหนึÉง ของยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืÊนฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 ทีÉใช้เงิน ลงทุนมูลค่ารวม 3.4 ล้านล้านบาท (“อานิสงส์เมกะโปรเจ็กต์คมนาคมขนส่ง”, 2557) โดยมีเป้าหมายใน การพัฒนาและขยายโครงข่ายด้านการคมนาคมขนส่งภูมิภาคทัวÉประเทศ ซึงÉได้กำหนดรถไฟทางคู่ สาย อีสานตังÊแต่ มาบตาพุด-สระบุรี -นครราชสีมา-ขอนแก่น-หนองคาย (ดูเพิมÉเติมตารางทีÉ 1) เชืÉอมกับ ประเทศจีนรับการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พ.ศ. 2558 โดยเฉพาะทางคู่สายมาบตาพุด- หนองคายจะช่วยขยายการส่งออกสินค้าไปยังจีนและสิงคโปร์ ตารางที É1 ตัวอย่างโครงการก่อสร้างโครงสร้างพืนÊฐานในภาคอีสานทีสÉำคัญ ตัวอย่างโครงการทีÉสำคัญ รถไฟฟ้าความเร็วสูง o กรุงเทพ-นครราชสีมา-หนองคาย รถไฟทางคู่ o สระบุรี -นครราชสีมา - ขอนแก่น-หนองคาย o บ้านไผ่ – มุกดาหาร – นครพนม รถไฟรางคู่ 1.435 เมตร o ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมาและนครราชสีมา-มาบตาพุด ระยะทาง 512 กิโลเมตร o ช่วงนครราชสีมา- หนองคาย ระยะทาง 355 กิโลเมตร โครงการพัฒนาโครงข่ายทาง หลวงเชืÉอมโยงระหว่างประเทศ o ทล. 212 อ.โพนพิสัย-บึงกาฬ ตอน 1 o ทล. 212 อ.โพนพิสัย-บึงกาฬ ตอน 2 o ทล.210 สาย อ.วังสะพุง-อ.นากลาง จ.เลย/หนองบัวลำภู o ทล.řŚ กาฬสินธุ์–อำเภอสมเด็จ ตอน Ś
  • 15. 15 ทางหลวงหมายเลข 2 o ทล.2 นํÊาสวย-สะพานมิตรภาพหนองคาย (เขตแดนไทย/ ลาว) ตอน 1 และตอน 2 จ.หนองคาย o ทล.2 น้าฆ้อง-อุดรธานี ตอน 1-4 จ.อุดรธานี o ทล.2 โนนสะอาด-น้าฆ้อง จ.อุดรธานี โครงการพัฒนาสถานีขนส่ง สินค้าเพืÉอเพิมÉประสิทธิภาพการ ขนส่งทางถนนด้วยรถบรรทุก o เมืองชายแดน ได้แก่ หนองคาย มุกดาหาร ทีÉมา: เรียบเรียงจาก สุริยา จันทรกระจ่าง 2557 และ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร 2557 ปัจ จุบันภาคอีสานมีเส้นทางการขนส่งทีสÉำคัญคือ ทางบก ซึงÉมีโครงข่ายถนนครอบคลุมทุกพืÊนทีÉ ของภาค และยังเชืÉอมโยงสู่ภาคอืÉนๆ ของประเทศ ตามเส้นทางถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (มิตรภาพ) และเชืÉอมต่อไปยังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) อีกทังÊยังมีเส้นทางรถไฟ 2 เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-หนองคาย และกรุงเทพฯ-อุบลราชธานี ทางอากาศมีสนามบิน 10 แห่ง เป็น สนามบินนานาชาติ 2 แห่ง คือ อุดรธานีและอุบลราชธานี และสนามบินภายในประเทศ 8 แห่ง ได้แก่ ขอนแก่น สกลนคร บุรีรัมย์ นครพนม เลย ร้อยเอ็ด นครราชสีมา และ สุรินทร์ หากกล่าวถึงอีสานเมืÉอ 100 ปีทีÉแล้วว่า ทีÉตังÊทางภูมิศาสตร์ของภาคมีความได้เปรียบในการ พัฒนาประเทศ อาจดูเหมือนเป็นสิÉงทีÉไกลเกินฝัน แต่หลังจากภาคอีสานเปลีÉยนภาพของการเข้าถึงด้วย ความยากลำบากมาเป็นอีสานทีÉมีความได้เปรียบในจุดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ผ่านกระแสการพัฒนาเมืÉอ 50 ปีทีÉผ่านมา แม้แต่มหาอำนาจเช่นจีนยังให้ความสำคัญ ดังทีÉนายเซีÉย ฝู่ เกิน กงสุลใหญ่สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำจังหวัดขอนแก่น กล่าวในงานสัมมนาวิชาการอินโดจีน เมืÉอ พ.ศ. 2556 ถึงความได้เปรียบเรืÉองทีตÉังÊทางภูมิศาสตร์ของภาคอีสาน การมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ โครงสร้างพืนÊฐานค่อนข้างสมบูรณ์ สินค้าการเกษตรจำนวนมากส่งออกไปจีน เช่น มันสำปะหลัง ร้อยละ 99 และยางพารา ร้อยละ 70 ของภาคอีสานส่งออกไปยังจีน มีพลังงานสีเขียวทีÉค่อนข้างสมบูรณ์ รวมถึง ความร่วมมือด้านการศึกษาซึÉงในภาคอีสานมีสถาบันขงจืÉอ 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เซียÉ ฝู่ เกิน 2556) ขณะทีเÉอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2554 : 271 ; 2556 ; 2557) ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์ของไทย กล่าวถึงการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจของภาคอีสานจากความได้เปรียบในทางภูมิรัฐศาสตร์ เพราะ เป็นจุดเชืÉอมระหว่างมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก และอยู่กึงÉกลางระหว่างอินโดจีนกับคาบสมุทรมาเลย์ ซึงÉไม่ไกลจากตะวันออกกลาง อีกทังÊภาคอีสานยังอยู่ใกล้ชิดกับจีนมาก ดังนันÊหากทำให้ภาคอีสานเป็น เขตเศรษฐกิจพิเศษได้ ก็อาจเปลียÉนภาคอีสานเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจทีสÉำคัญได้เช่นกัน โดยเฉพาะจีนทีÉ กำลังเชืÉอมต่อกับอาเซียน ด้วยการทำโครงสร้างพืÊนฐานรองรับ ภาคอีสานสามารถได้รับประโยชน์ด้าน เศรษฐกิจจากประเทศจีน ซึÉงมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก ด้วยการพัฒนาด้านการ คมนาคมเพืÉอรองรับการเชืÉอมโยงนีÊ ทังÊการสร้างรถไฟความเร็วสูงและขยายสนามบินนานาชาติในภาค
  • 16. 16 อีสานให้ใหญ่ขึนÊ รวมถึงขยายเส้นทางเพืÉอเชืÉอมโยงกับประเทศเพืÉอนบ้าน เช่น นครพนมหรือมุกดาหาร เชืÉอมฮานอยของเวียดนาม และหนานหนิงของจีน การเชืÉอมต่ออีสานข้ามพรมแดนของประเทศไทยในวันนีÊ ทำให้ภาคอีสานไม่จำกัดขอบเขตเพียง แผนทีปÉระเทศไทย แต่อีสานยังเป็นพืนÊทียÉุทธศาสตร์ทีสÉำคัญในแผนทีโÉลก ดังเช่นการเชืÉอมโยงภาคอีสาน ด้วยโครงการคมนาคมขนส่งทีÉเป็นไปอย่างเข้มข้น ทังÊการพัฒนาในประเทศเพืÉอนบ้าน และการ เตรียมพร้อมของประเทศไทย กล่าวโดยสรุปในวันนีÊภาคอีสานได้เปลีÉยนแปลงไปอย่างมาก จากพืÊนทีÉทีÉถูกมองข้ามในอดีต เปลียÉนเป็นพืนÊทีทÉีสÉร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจทีสÉำคัญให้แก่ประเทศไทยอย่างมหาศาล การเปลีÉยนแปลงทีÉ เกิดขึนÊไม่ได้ถูกกำหนดโดยโชคชะตาฟ้าดิน แต่ผ่านการเปลียÉนแปลงด้วยแผน ยุทธศาสตร์ และนโยบาย ทังÊในประเทศและต่างประเทศในหลายยุคหลายสมัยกระทังÉทุกวันนีÊ เพราะฉะนันÊจึงเป็นทีÉน่าสนใจว่า อีสานในวันนีÊ “ใหม่” อย่างไร อีสานกำลัง “ใหม่” ในเรืÉองใดบ้าง เมืÉอเป็นดังนีÊผู้ศึกษาจึงขออาสาเป็น มัคคุเทศก์เพืÉอนำท่านผู้อ่านลัดเลาะตามเส้นทางสายอีสานใหม่ โดยจุดแรกทีจÉะเดินทางไปทัศนาด้วยกัน คือ วัฒนธรรมสมัยนิยม/ประชานิยม (popular culture) ซึงÉจะช่วยอธิบายให้เห็นถึงตัวตนของคนอีสานใน ยุคปัจ จุบันว่าเป็นอย่างไร
  • 17. 17 เอกสารอ้างอิง Grandstaff, Terry B. et al. (ŚŘŘ8). Rainfed Revolution in Northeast Thailand. Southeast Asian Studies, 46(3), 289-376 Keyes, Charles. (2014). Finding Their Voice: Northeastern Villagers and the Thai State. Bangkok: Silkworm Books. กรมโยธาธิการและผังเมือง. (Śŝŝř). ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ.2600. กรุงเทพฯ: กรมโยธาธิการและผังเมือง. คายส์, ชาร์ล. (Śŝŝş). อีสานนิยม : ท้องถินÉนิยมในสยามประเทศไทย (รัตนา โตสกุล ผู้แปล). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. “จีนเดินหน้าหนุนลาวทำรถไฟความเร็วสูง” (22 สิงหาคม 2557). กรุงเทพธุรกิจออนไลน์, สืบค้นเมืÉอวันที É 21 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.bangkokbiznews.com เซียÉ ฝู่ เกิน. (2556). ปาฐกถาพิเศษเรืÉอง “มุมมองต่อภาคอีสานและบทบาทของจังหวัดขอนแก่นในการ เชืÉอมโยงกับภูมิภาคอินโดจีน”. สืบค้นเมืÉอวันที É12 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Thai/Northeast/seminarNE/DocLib_semina r56/speech.pdf ปราณี นันทเสนามาตร์. (2557). “เจาะลึกผังเมืองกับยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ”. ใน กรมโยธาธิการและ ผังเมือง กระทรวงมหาดไทย, เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาเจาะลึกเจาะลึกผังเมืองกับ ยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ 3 กันยายน 2557. พฤกษ์ เถาถวิล. (Śŝŝŝ). (ร่าง) อีสานใหม่" ความเปลียÉนแปลงจากการพัฒนาในรอบศตวรรษ. ใน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ อุบลวัฒนธรรม ครังÊที ÉŚ Śş-Śš มกราคม Śŝŝŝ. พัฒนา กิติอาษา. (Śŝŝş). สู่วิถีอีสานใหม่. กรุงเทพฯ: วิภาษา มณีมัย ทองอยู่. (ŚŝŜŞ). การเปลียÉนแปลงของเศรษฐกิจชาวนาอีสาน : กรณีชาวนาลุ่มนํÊาพอง. กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด. สมศรี ชัยวณิชยา. (ŚŝŜŠ). นโยบายการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐบาลไทยระหว่าง พ.ศ. ŚŜšŜ-Śŝřš. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, สาขาประวัติศาสตร์. สุเทพ สุนทรเภสัช. (ŚŝŜŠ). มานุษยวิทยากับประวัติศาสตร์ : รวมความเรียงว่าด้วยการประยุกต์ใช้ แนวความคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา ในการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์.กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
  • 18. 18 สุริชัย หวันแก้ว. (Śŝŝś). การเปลียÉนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. ใน คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (บรรณาธิการ) , สังคมและ วัฒนธรรม (พิมพ์ครังÊที É12). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุริยา จันทรกระจ่าง. (2557). ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุ่มจังหวัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 และตอนบน 2 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที É11. สืบค้นเมืÉอวันที É11 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.clinictech.most.go.th/online/filemanager/fileclinic/Fř/files/sciregion-meeting ř.pdf สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (ŚŝŜŞ). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรือÉง เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน : ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจอีสานหลังสงครามโลกครัÊงทีÉสองถึงปัจ จุบัน (2488-2544). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). ทิศทางการพัฒนาภาคในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที É๑๑. สืบค้นเมืÉอวันที É9 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.nesdb.go.th/LinkClick.aspx?fileticket=MJ78A0GJlXg%3D สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2557). แผนการดำเนินงานโครงการลงทุนพัฒนาด้าน คมนาคมขนส่งตามกรอบยุทธศาสตร์ ปี 2558 - 2565. สืบค้นเมืÉอวันที É19 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.otp.go.th/images/stories/newsř/Śŝŝş/řř.../řŠ.../aś_ŚŞ-řř-ŝş.pdf สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม. (2557). ความสัมพันธ์ด้านคมนาคมระหว่างไทย-ลาว. สืบค้นเมืÉอวันที É 15 พฤศจิกายน 2557, จาก http://vigcollab.mot.go.th/gm/document-1.9.23417/ไทย-ลาว.pdf “อานิสงส์เมกะโปรเจ็กต์คมนาคมขนส่ง”(26 ตุลาคม 2557). ข่าวหุ้น. สืบค้นเมืÉอวันที É21 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.kaohoon.com/online/index.htm เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (ŚŝŝŜ). บูรพาภิวัตน์ : ภูมิ-รัฐศาสตร์และเศรษฐกิจโลกใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ. เอนก เหล่าธรรมทัศน์. จีนในสายตา “เอนก เหล่าธรรมทัศน์” (9-15 สิงหาคม 2557). โลกวันนีÊวันสุข, น.12. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ และ ศิวพล ละอองสกุล. (2556). จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก อาเซียน ตอนบนในยุคบูรพาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.).