SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การประสมวงดนตรีสากล
จัดทาโดย
นางสาวปพิชญา ต๊ะวิไชย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เลขที่ 20
เสนอ
คุณครูกิตติศักดิ์ มะโน
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาดนตรี
(ศ31102)
โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม จังหวัดน่าน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
ก
คานา
รายงานฉบับนี้่่จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิช
าดนตรี (ศ31102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ใน
เรื่่องการประสมวงดนตรีสากลและได้ศึกษาอย่า
งเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน
ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กั
บผู้อ่านหรือนักเรียนที่กาลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่
หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด
ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ปพิชญา ต๊ะวิไชย
ข
สารบัญ
คานา……………………………………………………….ก
สารบัญ……………………………………………………..ข
การประสมวงดนตรี………………………………………….1
วงแชมเบอร์ (Chamber
Ensembles)………………………….2
วงออร์เคสตรา
(Orchestra)…………………………………3
วงแบนด์ (Band)……………………………………………4
วงชาโดว์ (The
Shadow)……………………………………5
วงสตริงคอมโบ (String
Combo)……………………………7
ค
วงโฟล์คซอง
(Folksong)…………………………………….7
บรรณานุกรม……………………………………………….8
ภาคผนวก…………………………………………………..9
1
การประสมวงดนตรีสากล
หมายถึง การนาเครื่องดนตรีแต่ละประเภทหรือชนิดต่างๆ
มาบรรเลงร่วมกันเพื่อถ่ายทอดอารมณ์
ความรู้สึกของบทเพลงด้วยเสียงดนตรีไปสู่ผู้ฟัง
ตามรูปแบบที่ผู้ประพันธ์เพลงได้กาหนดเอาไว้
นับว่าเป็ นศาสตร์ทางดนตรีที่มีประวัติความเป็ นมายาวนานไม่น้
อยไปกว่าการขับร้อง
คีตกวีในแต่ละยุคสมัยได้สร้างสรรค์ผลงานสาหรับการบรรเลงด้
วยวงดนตรีในรูปแบบต่างๆ ตามความนิยมในแต่ละยุคสมัย
เราจะพบเห็นการบรรเลงของนักดนตรีตั้งแต่หนึ่งคนไปจนถึงห
นึ่งร้อยคนวงดนตรีสากลที่บรรเลงในปัจจุบัน
มีการเรียกชื่อต่างๆ กันออกไปหลายลักษณะ
พิจารณาจากรูปแบบการประสมวงด้วยเครื่องดนตรีประเภทต่าง
ๆ และลักษณะของบทเพลงที่บรรเลง
สามารถจาแนกวงดนตรีออกเป็ นประเภทต่างๆ ดังนี้
1. วงแชมเบอร์ (Chamber Ensembles)
2. วงออร์เคสตรา (Orchestra)
3. วงแบนด์ (Band)
4. วงชาโดว์ (The Shadow)
5. วงสตริงคอมโบ (String Combo)
6. วงโฟล์คซอง (Folksong)
2
1.วงแชมเบอร์ (Chamber Ensembles)
การแสดงดนตรีแบบแชมเบอร์ (Chamber Music)
เป็ นวงดนตรีที่เกิดขึ้นในสมัยโบราณ
สมัยนั้นดนตรีมีไว้สาหรับเจ้านายชั้นสูง เป็ นวงดนตรีวงเล็ก
บรรเลงเป็ นกลุ่มตั้งแต่กลุ่มละ2 คน ไปจนถึง 9 คน
ใช้บรรเลงในห้องโถงหรือสถานที่ที่ซึ่งไม่ใหญ่โตมีผู้ฟังไม่มาก
บางยุคสมัยก็นิยมแสดงในสวนหย่อม บทเพลงที่ใช้บรรเลง
เป็ นบทเพลงที่ประพันธ์สั้นๆ
ต้องประพันธ์ขึ้นสาหรับวงแชมเบอร์นั้นๆ โดยเฉพาะ
เครื่องดนตรีอาจเป็ นประเภทเดียวกันหรือต่างประเภทกันก็ได้
ลักษณะสาคัญของดนตรีแบบนี้ คือ
ความเด่นชัดของเสียงเครื่องดนตรีในขณะบรรเลง
ซึ่งต้องการแสดงเทคนิคและทักษะความสามารถของผู้บรรเลงแ
ละการประสานเสียง แต่ละแนวเสียงจะใช้นักดนตรีบรรเลงเพียง
1 คนเท่านั้น
คีตกวีเกือบทุกคนจะมีผลงานแต่งเพลงแบบวงแชมเบอร์
ซึ่งการประสมวงดนตรีก็อาจแตกต่างกันออกไป ตามความนิยม
ในปัจจุบันเรามักพบเห็นการแสดงดนตรีแบบแชมเบอร์ตามงาน
ต่างๆ เช่น งานแต่งงานหรืองานเลี้ยงสังสรรค์
ซึ่งนิยมบรรเลงเพลงที่ฟังสบายๆ
ทั้งเพลงคลาสสิกและเพลงตามสมัยนิยม มีตั้งแต่กลุ่มละ 2 คน
ไปจนถึง 9 คน
แต่ละกลุ่มมีชื่อเรียกเฉพาะแตกต่างกันตามจานวนผู้บรรเลงดังนี้
กลุ่มละ 2 คน เรียกว่า ดูเอต (Duet) หรือ ดูโอ (Duo)
3
กลุ่มละ 3 คน เรียกว่า ทรีโอ (Trio)
กลุ่มละ 4 คน เรียกว่า ควอร์เทต(Quartet)
กลุ่มละ 5 คน เรียกว่า ควินเทต(Quintet)
กลุ่มละ 6 คน เรียกว่า เซกเทต(Sextet)
กลุ่มละ 7 คน เรียกว่า เซพเทต(Septet)
กลุ่มละ 8 คน เรียกว่า ออคเทต(Octet)
กลุ่มละ 9 คน เรียกว่า โนเนต(Nonet)
2. วงออร์เคสตรา (Orchestra)
วงออร์เคสตรา หรือวงดุริยางค์สากล
เป็ นวงดนตรีขนาดใหญ่ที่ใช้เครื่องดนตรี
และผู้บรรเลงจานวนมาก บทเพลงที่ใช้บรรเลงมีหลายประเภท
เช่น ซิมโฟนี คอนแชร์โตโอเวอร์เจอร์
เพลงบรรยายเรื่องราวต่างๆบรรเลงประกอบการแสดงละครโอเ
ปร่า บรรเลงประกอบการแสดงระบาปลายเท้า เป็ นต้น
วงออร์เคสตรา มีประวัติความเป็ นมาที่ยาวนาน
มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั้งในด้านขนาดของการประสมวง
และลักษณะบทเพลงที่ใช้บรรเลง
การประสมวงออร์เคสตราในยุคแรกประมาณกลางศตวรรษที่
17 เครื่องดนตรีหลักจะเป็ นเครื่องสายในตระกูลไวโอลิน
ต้นศตวรรษที่ 18 เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าชนิดต่างๆ
เช่น แตรทรัมเป็ ท ถูกนามาประสมวงด้วย
พร้อมทั้งกลองทิมปานี กลางศตวรรษที่ 18
การประสมวงออร์เคสตรามีรูปแบที่เป็นมาตรฐาน
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมไม้ถูกนามาประสมวงและมีบทบา
4
ทในเพลงมากขึ้น ตอนต้นศตวรรษที่ 19
เครื่องลมไม้และเครื่องลมทองเหลือง
ถูกพัฒนาเทคนิคการบรรเลงเพิ่มมากขึ้น
วงออร์เคสตราในยุคนี้ได้ถูกพัฒนาไปทั้ง 2 ด้านพร้อมกัน คือ
ด้านขนาดของวงและเทคนิคการบรรเลงใหม่ๆ
การประสมวงออร์เคสตรา แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ ดังนี้
2.1 วงแชมเบอร์ออร์เคสตรา หมายถึง
วงดนตรีที่ประสมวงด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายในตระกู
ลไวโอลินเท่านั้น มีผู้บรรเลงจานวน 16 – 20 คน
2.2 วงซิมโฟนีออร์เคสตรา หรือวงดุริยางค์ซิมโฟนี
ประกอบด้วยเครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ เครื่องสาย
เครื่องลมไม้เครื่องลมทองเหลือง เครื่องลิ้มนิ้ว
และเครื่องตีกระทบ เป็ นลักษณะการประสมวงที่สมบูรณ์ที่สุด
ขนาดของวงได้กาหนดโดยผู้บรรเลงในกลุ่มเครื่องสายดังนี้
1) วงขนาดเล็ก (Small Orchestra) มีผู้บรรเลงประมาณ 40 –
60 คน
2) วงขนาดกลาง (Medium Orchestra) มีผู้บรรเลงประมาณ
60 – 80 คน
3) วงขนาดใหญ่ (Full Orchestra) มีผู้บรรเลงประมาณ 80
คนขึ้นไป
การจัดวงออร์เคสตรา คานึงถึงความกลมกลืนของเสียงดนตรี
กลุ่มเครื่องสายมีจานวนมากที่สุดในวง ประมาณ 2 ใน3
ของจานวนผู้บรรเลงทั้งหมดกลุ่มเครื่องสายนั่งอยู่ด้านหน้าสุด
ต่อจากนั้นจะเป็ นกลุ่มเครื่องลมไม้
กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองและกลุ่มเครื่องตีกระทบอยู๋ด้านหลังวาท
ยกร (Conductor) หรือ เรียกว่า ผู้อานวยเพลง
5
คือผู้ที่ทาหน้าที่ควบคุมวงดนตรี ต้องที่ด้านหน้าวงดนตรี
เพื่อกากับจังหวะ กากับลีลา
และกากับความดังเบาของบทเพลงที่บรรเลงอยู่
เป็ นผู้เชื่อมโยงอารมณ์
และความรู้สึกของผู้ประพันธ์เพลงไปสู่ผู้ฟังเพลง
…………………………………………………………………………..
3. วงแบนด์ (Band)
วงแบนด์
เป็ นการผสมวงดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องลมไม้
และเครื่องลมทองเหลืองเป็ นหลัก
มีเครื่องประกอบจังหวะตามความเหมาะสม
วงแบนด์แบ่งออกได้หลายประเภทด้วยกัน ดังนี้
3.1 วงซิมโฟนิคแบนด์ (Symphonic Band)
เป็ นการผสมที่เน้นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าชนิดต่างๆ
เป็ นสาคัญ และมีเครื่องประกอบจังหวะตามความเหมาะสม
ใช้บรรเลงในร่ม ในห้องประชุม หรือห้องจัดแสดงดนตรี
บทเพลงที่ใช้บรรเลงต้องเขียนขึ้นโดยเฉพาะ
วงซิมโฟนิคแบนด์จะไม่นาไวโอลิน วิโอลา
และเชลโลมาประสมวง
ยกเว้นดับเบิลเบสซึ่งเป็ นเครื่องสายชนิดเดียวที่นามาประสมในว
งประเภทนี้
การประสมวงดนตรีและการบรรเลงดนตรีในลักษณะนี้
อาจเรียกชื่อเป็ นอย่างอื่นได้อีก เช่น ConcertBand หรือ
Wind Ensemble
3.2 วงมาร์ชชิ่งแบนด์ (Marching Band)
เป็ นวงดนตรีที่มีอยู่ตามโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ
เหมาะสาหรับบรรเลงกลางแจ้ง เป็ นดนตรีสนาม
6
ใชบรรเลงนาขบวนพาเหรดบรรเลงในสนามกีฬา
บรรเลงในวงเฉลิมฉลองต่างๆ ที่ต้องการความครึกครื้น
สนุกสนาน และความเข้มแข็ง เพลงที่บรรเลงมีทั้งมาร์ชต่างๆ
และเพลงลีลาแบบอื่นๆ ซึ่งไม่จาเป็ นต้องเป็ นเพลงมาร์ช
นามาเรียบเรียงใหม่เพื่อบรรเลงโดยวงมาร์ชชิ่งแบนด์โดยเฉพา
ะ เครื่องดนตรีที่นามาประสมในวงมาร์ชชิ่งแบนด์คือ
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าและเครื่องตีกระทบประกอบจังห
วะ ถ้าดูจากการประวงของเครื่องดนตรีแล้ว
วงมาร์ชชิ่งแบนด์สมารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
3.2.1 แตรวง (Brass Band)
ผสมวงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีเพียง 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง คือ เครื่องดนตรีจาพวกแตรชนิดต่างๆ
และกลุ่มเครื่องตีกระทบประกอบจังหวะ
3.2.2 วงโยธวาทิต (Military Band)
เป็ นวงดนตรีที่เกิดขึ้นเพื่อใช้ในกิจการของทหาร เช่น
บรรเลงสาหรับเดินแถวทหาร บรรเลงเพื่อปลุกใจทหาร
ต่อมาได้แพร่หลายไปสู่สถานศึกษาต่างๆ
โดยได้นาวงโยธวาทิตไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ
ของนักเรียนวงโยธวาทิตผสมวงดนตรีด้วยเครื่องดนตรี 3 กลุ่ม
คือ กลุ่มเครื่องเป่าลมไม้
กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองและกลุ่มเครื่องตีกระทบประกอบจังหวะ
จานวนเปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสม
วงโยธวาทิตที่มีชื่อเสียงของโลก คือ วงโยธวาทิตของ จอห์น
ฟิลิป ซูซ่า (John Philip Sousa ค.ศ. 1854 -
1993)เป็ นวงโยธวาทิตที่อยู่ในอเมริกา
และเป็ นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย สาหรับ จอห์น ฟิลิป ซูซ่า นั้น
เป็ นผู้ที่มีความสามารถทางดนตรีอย่างมาก
เป็ นทั้งผู้ควบคุมวงดนตรีที่มีความสามารถ
และนักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียง
7
โดยเฉพาะเพลงในลีลาจังหวะมาร์ช
เขาแต่งได้อย่างไพเราะทุกเพลง จนได้รับการยกย่องให้เป็ น
“ราชาแห่งเพลงมาร์ช”
3.3 วงบิ๊กแบนด์ (Big Band) คือ
วงดนตรีแจ๊สประเภทหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา ราวปี
ค.ศ. 1920
นักดนตรีแจ๊สทั้งหลายมีความคิดที่จะทาให้วงดนตรีแจ๊สทัดเทียม
กับวงดนตรีประเภทออร์เคสตรา
ซึ่งเป็ นวงดนตรีขนาดใหญ่ที่ได้พัฒนามาช้านานลัว
จึงได้รวมตัวกันบรรเลงด้วยจานวนนักดนตรีที่มากกว่าที่เคยรว
มตัวกันมา คือ ประมาณ 12 – 17 คน
ซึ่งแต่เดิมวงดนตรีแจ๊สจะมีนักดนตรีประมาณ 4 – 8 คน เท่านั้น
วงดนตรี บิ๊กแบนด์ เป็ นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3
กลุ่ม ดังนี้
3.3.1 กลุ่มเครื่องลมไม้ประกอบด้วยอัลโตแซ็กโซโฟน 2
เครื่อง เทเนอร์แซ็กโซโฟน 2 เครื่อง บาริโทนแซ็กโซโฟน 1
เครื่อง รวมทั้งปี่ คลาริเนตและฟลุทด้วย
3.3.2 เครื่องลมทองเหลือง ประกอบด้วย แตรทรัมเป็ ท 2 –
3 เครื่อง สไลด์ทรอมโบน 2 เครื่อง
3.3.3 เครื่องกระทบหรือเครื่องตีประกอบจังหวะ
ประกอบด้วย กลองขนาดต่างๆ แบนโจกีต้าร์เบส
รวมทั้งเปี ยโนด้วยจุดมุ่งหมายของการบรรเลงด้วยวงบิ๊กแบนด์ก็
เพื่อประกอบการเต้นราและเอาไว้ฟังเพื่อความไพเราะ
นอกจากนั้นยังมุ่งผลประโยชน์ทางธุรกิจอีกด้วย
ดังนั้นจึงทาให้วงดนตรีชนิดนี้มีชื่อเรียกเพิ่มขึ้นอีก 2 ชื่อ คือ
Dance Band และ Commercial Band
หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 เศรษฐกิจของโลกซบเซา
8
วงดนตรีแจ๊สวงใหญ่ที่เรียกว่าบิ๊กแบนด์จึงได้เสื่อมความนิยมไป
ในที่สุด
3.4 วงคอมโบ (Combo) คือวงดนตรีขนาดเล็ก
ที่เกิดขึ้นหลังจากวงบิ๊กแบนด์เสื่อมความนิยมลง
จุ่งมุ่งหมายของการบรรเลงด้วยวงคอมโบ คือ
บรรเลงประกอบขับร้อง บรรเลงเพื่อการฟัง
บรรเลงประกอบการเต้นรา
และบรรเลงเพื่อประกอบการแสดงต่างๆ
วงคอมโบมีจานวนนักดนตรี และเครื่องดนตรีไม่แน่นอน
เครื่องดนตรีส่วนมากที่ใช้คือ ไวโอลิน ทรัมเป็ ท แซ็กโซโฟน
ทรอมโบน เปี ยโน เบส ดับเบิลเบส กลองชุด
และเครื่องตีกระทบจังหวะต่างๆ เช่น มาราคาส แทมบูริน
เป็ นต้น เครื่องดนตรีอื่นๆ
ก็สามารถนามาผสมวงเพิ่มเติมได้ตามความต้องการ
……………………………………………………………………………………
4. วงชาโดว์ (The Shadow)
เดอะชาโดว์ เป็ นชื่อของวงดนตรีวงหนึ่ง
เกิดในประเทศอังกฤษ ได้รับความนิยมไปทั่วโลก
เป็ นวงดนตรียนาดเล็ก
เครื่องดนตรีที่นามาใช้ในการผสมวงมีเพียงกีต้าร์ไฟฟ้า
เบสไฟฟ้า และกลองชุดเท่านั้น นักดนตรีเป็ นผู้ขับร้องเพลงเอง
บทเพลงที่บรรเลงจะเป็ นเพลงร็อคเป็ นส่วนใหญ่
เป็ นดนตรีที่มีเสียงดัง สนุกสนาน เร้าใจ
ดนตรีร็อคสร้างอยู่บนพื้นฐานอัตราจังหวะชนิด4 จังหวะเคาะ
ลักษณะเฉพาะลีลาจังหวะร็อคคือ
เน้นความดังเป็ นพิเศษในจังหวะที่ 2 และ 4 ของห้องเพลง
ซึ่งแต่เดิมดนตรีต่างๆ ที่เกิดขึ้นก่อนดนตรีร็อค
จะนิยมเน้นในจังหวะที่ 1 และ 3 ของห้องเพลง
9
ด้วยอิทธิพลของความนิยมในว เดอะชาโดว์ ทาให้วงดนตรีอื่นๆ
ที่ใช้รูปแบบการประสมวง
และการบรรเลงเพลงในลักษณะเดียวกันกับวงเดอะชาโดว์
ถูกเรียกว่าวงดนตรีชาโดว์ไปด้วย
5. วงสตริงคอมโบ (String Combo)
วงสตริงคอมโบ เป็ นวงดนตรีที่ได้คลี่คลายมาจากวงชาโดว์
บทเพลงที่บรรเลงส่วนใหญ่ยังคงเป็นเพลงในแนวดนตรีร็อคเหมื
อนเดิม เครื่องดนตรีที่นามาใช้ในการประสมวง ประกอบด้วย
กีต้าร์ไฟฟ้ า 2 เครื่อง กีต้าร์เบส 1 เครื่องคีย์บอร์ด(เปี ยโน
เปี ยโนไฟฟ้ า ซินธีไซเซอร์) 1 เครื่องกลองชุด 1 ชุด
กีต้าร์เป็ นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทในการบรรเลงมาก
ทาหน้าที่บรรเลงทานองสอดแทรกต่างๆ
ทานองในตอนขึ้นต้นบทเพลง ทานองล้อรับเสียงขับร้อง โซโล
และทานองท่อนลงจบ กีต้าร์ที่ทาหน้าที่ต่างๆ เหล่านี้เรียกว่า
ลีดกีต้าร์ (Guitar Lead) หรือ โซโลกีต้าร์ (Guitar Solo)
ส่วนกีต้าร์ที่เหลืออีก 1 เครื่อง จะทาหน้าที่ดีดคอร์ด
ประกอบบทเพลงด้วยลีลาต่างๆ เรียกว่า ริธึ่มกีต้าร์ (Guitar
Rhythm)
วงสตริงคอมโบบางวงอาจจะเพิ่มกลุ่มของนักดนตรีประเภทเครื่
องเป่าเข้าไปด้วย ประมาณ 1- 3 คน
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่นิยมนามาประสมวง ได้แก่
ทรัมเป็ ท ทรอมโบน และแซ็กโซโฟน
……………………………………………………………………………………
6. วงโฟล์คซอง (Folksong)
ความหมายที่แท้จริงของคาว่า โฟล์คซอง (Folksong) คือ
เพลงพื้นบ้าน เป็ นเพลงของชาวบ้านที่สร้างขึ้นเพื่อความบันเทิง
สนุกสนาน หรือประกอบงานพิธีของชาวบ้าน
10
เนื้อหาของบทเพลงจะมีทั้งคติสอนใจ คติธรรม
เรื่องราวที่เกี่ยวกับศาสนา ชีวิตความเป็ นอยู่ความรัก เป็ นตัน
การขับร้องจะมีเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ หรือไม่มีก็ได้
ถ้าใช้เครื่องดนตรี
ก็จะนาเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาบรรเลงประกอบ
ไม่มีแบบแผนการบรรเลงที่แน่นอน
ถือได้ว่าเพลงพื้นบ้านของทุกชาติเป็ นตันกาเนิดของเพลงชนิดอื่
นๆ ซึ่งต่างก็วิวัฒนาการมาจากเพลงพื้นบ้านทั้งนั้น
สาหรับในประเทศไทย มีผู้นาเอาคาว่า “โฟล์คซอง”
มาใช้ในความหมายของ การขับร้องเพลงตามสมัยนิยมทั่วไป
พร้อมกับการบรรเลงกีต้าร์คลอประกอบการขับร้อง ในยุคแรกๆ
จะนิยมใช้อคูสติกกีต้าร์ (กีต้าร์โปร่ง) ในการบรรเลงคลอ
ปัจจุบันนิยมที่จะนากีต้าร์ไฟฟ้ ามาใช้บรรเลงด้วยเหมือนกัน
การขับร้องจะมีความสาคัญมากกว่าการบรรเลงดนตรี
เครื่องดนตรีอื่นๆ ที่สามารถนามาประสมวงได้เช่น
หีบเพลงปาก ขลุ่ย
บรรณานุกรม
- นิรันดร์
ยอดสมบูรณ์.2555.”การประสมวงดนตรีสากล”.
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://namsoup.wikispaces.com/%E0%B8
%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B
8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%
B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0
11
%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%99%E0
%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E
0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A7%
E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%
E0%B8%81
(7 กุมภาพันธ์ 2559).
ภาคผนวก
12
วงแชมเบอร์
วงออร์เคสตรา
13
 วงแบนด์
 วงชาโดว์
14
 วงสตริงคอมโบ
 วงโฟล์คซอง

More Related Content

What's hot

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 

What's hot (20)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 

Similar to รายงาน การประสมวงดนตรีสากล

วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลmanoprd
 

Similar to รายงาน การประสมวงดนตรีสากล (20)

Music
MusicMusic
Music
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 

รายงาน การประสมวงดนตรีสากล

  • 1. การประสมวงดนตรีสากล จัดทาโดย นางสาวปพิชญา ต๊ะวิไชย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เลขที่ 20 เสนอ คุณครูกิตติศักดิ์ มะโน รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาดนตรี (ศ31102) โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม จังหวัดน่าน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
  • 2. ก คานา รายงานฉบับนี้่่จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิช าดนตรี (ศ31102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ใน เรื่่องการประสมวงดนตรีสากลและได้ศึกษาอย่า งเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กั บผู้อ่านหรือนักเรียนที่กาลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ปพิชญา ต๊ะวิไชย
  • 5. 1 การประสมวงดนตรีสากล หมายถึง การนาเครื่องดนตรีแต่ละประเภทหรือชนิดต่างๆ มาบรรเลงร่วมกันเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกของบทเพลงด้วยเสียงดนตรีไปสู่ผู้ฟัง ตามรูปแบบที่ผู้ประพันธ์เพลงได้กาหนดเอาไว้ นับว่าเป็ นศาสตร์ทางดนตรีที่มีประวัติความเป็ นมายาวนานไม่น้ อยไปกว่าการขับร้อง คีตกวีในแต่ละยุคสมัยได้สร้างสรรค์ผลงานสาหรับการบรรเลงด้ วยวงดนตรีในรูปแบบต่างๆ ตามความนิยมในแต่ละยุคสมัย เราจะพบเห็นการบรรเลงของนักดนตรีตั้งแต่หนึ่งคนไปจนถึงห นึ่งร้อยคนวงดนตรีสากลที่บรรเลงในปัจจุบัน มีการเรียกชื่อต่างๆ กันออกไปหลายลักษณะ พิจารณาจากรูปแบบการประสมวงด้วยเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ และลักษณะของบทเพลงที่บรรเลง สามารถจาแนกวงดนตรีออกเป็ นประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. วงแชมเบอร์ (Chamber Ensembles) 2. วงออร์เคสตรา (Orchestra) 3. วงแบนด์ (Band) 4. วงชาโดว์ (The Shadow) 5. วงสตริงคอมโบ (String Combo) 6. วงโฟล์คซอง (Folksong)
  • 6. 2 1.วงแชมเบอร์ (Chamber Ensembles) การแสดงดนตรีแบบแชมเบอร์ (Chamber Music) เป็ นวงดนตรีที่เกิดขึ้นในสมัยโบราณ สมัยนั้นดนตรีมีไว้สาหรับเจ้านายชั้นสูง เป็ นวงดนตรีวงเล็ก บรรเลงเป็ นกลุ่มตั้งแต่กลุ่มละ2 คน ไปจนถึง 9 คน ใช้บรรเลงในห้องโถงหรือสถานที่ที่ซึ่งไม่ใหญ่โตมีผู้ฟังไม่มาก บางยุคสมัยก็นิยมแสดงในสวนหย่อม บทเพลงที่ใช้บรรเลง เป็ นบทเพลงที่ประพันธ์สั้นๆ ต้องประพันธ์ขึ้นสาหรับวงแชมเบอร์นั้นๆ โดยเฉพาะ เครื่องดนตรีอาจเป็ นประเภทเดียวกันหรือต่างประเภทกันก็ได้ ลักษณะสาคัญของดนตรีแบบนี้ คือ ความเด่นชัดของเสียงเครื่องดนตรีในขณะบรรเลง ซึ่งต้องการแสดงเทคนิคและทักษะความสามารถของผู้บรรเลงแ ละการประสานเสียง แต่ละแนวเสียงจะใช้นักดนตรีบรรเลงเพียง 1 คนเท่านั้น คีตกวีเกือบทุกคนจะมีผลงานแต่งเพลงแบบวงแชมเบอร์ ซึ่งการประสมวงดนตรีก็อาจแตกต่างกันออกไป ตามความนิยม ในปัจจุบันเรามักพบเห็นการแสดงดนตรีแบบแชมเบอร์ตามงาน ต่างๆ เช่น งานแต่งงานหรืองานเลี้ยงสังสรรค์ ซึ่งนิยมบรรเลงเพลงที่ฟังสบายๆ ทั้งเพลงคลาสสิกและเพลงตามสมัยนิยม มีตั้งแต่กลุ่มละ 2 คน ไปจนถึง 9 คน แต่ละกลุ่มมีชื่อเรียกเฉพาะแตกต่างกันตามจานวนผู้บรรเลงดังนี้ กลุ่มละ 2 คน เรียกว่า ดูเอต (Duet) หรือ ดูโอ (Duo)
  • 7. 3 กลุ่มละ 3 คน เรียกว่า ทรีโอ (Trio) กลุ่มละ 4 คน เรียกว่า ควอร์เทต(Quartet) กลุ่มละ 5 คน เรียกว่า ควินเทต(Quintet) กลุ่มละ 6 คน เรียกว่า เซกเทต(Sextet) กลุ่มละ 7 คน เรียกว่า เซพเทต(Septet) กลุ่มละ 8 คน เรียกว่า ออคเทต(Octet) กลุ่มละ 9 คน เรียกว่า โนเนต(Nonet) 2. วงออร์เคสตรา (Orchestra) วงออร์เคสตรา หรือวงดุริยางค์สากล เป็ นวงดนตรีขนาดใหญ่ที่ใช้เครื่องดนตรี และผู้บรรเลงจานวนมาก บทเพลงที่ใช้บรรเลงมีหลายประเภท เช่น ซิมโฟนี คอนแชร์โตโอเวอร์เจอร์ เพลงบรรยายเรื่องราวต่างๆบรรเลงประกอบการแสดงละครโอเ ปร่า บรรเลงประกอบการแสดงระบาปลายเท้า เป็ นต้น วงออร์เคสตรา มีประวัติความเป็ นมาที่ยาวนาน มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั้งในด้านขนาดของการประสมวง และลักษณะบทเพลงที่ใช้บรรเลง การประสมวงออร์เคสตราในยุคแรกประมาณกลางศตวรรษที่ 17 เครื่องดนตรีหลักจะเป็ นเครื่องสายในตระกูลไวโอลิน ต้นศตวรรษที่ 18 เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าชนิดต่างๆ เช่น แตรทรัมเป็ ท ถูกนามาประสมวงด้วย พร้อมทั้งกลองทิมปานี กลางศตวรรษที่ 18 การประสมวงออร์เคสตรามีรูปแบที่เป็นมาตรฐาน เครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมไม้ถูกนามาประสมวงและมีบทบา
  • 8. 4 ทในเพลงมากขึ้น ตอนต้นศตวรรษที่ 19 เครื่องลมไม้และเครื่องลมทองเหลือง ถูกพัฒนาเทคนิคการบรรเลงเพิ่มมากขึ้น วงออร์เคสตราในยุคนี้ได้ถูกพัฒนาไปทั้ง 2 ด้านพร้อมกัน คือ ด้านขนาดของวงและเทคนิคการบรรเลงใหม่ๆ การประสมวงออร์เคสตรา แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.1 วงแชมเบอร์ออร์เคสตรา หมายถึง วงดนตรีที่ประสมวงด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายในตระกู ลไวโอลินเท่านั้น มีผู้บรรเลงจานวน 16 – 20 คน 2.2 วงซิมโฟนีออร์เคสตรา หรือวงดุริยางค์ซิมโฟนี ประกอบด้วยเครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องลมไม้เครื่องลมทองเหลือง เครื่องลิ้มนิ้ว และเครื่องตีกระทบ เป็ นลักษณะการประสมวงที่สมบูรณ์ที่สุด ขนาดของวงได้กาหนดโดยผู้บรรเลงในกลุ่มเครื่องสายดังนี้ 1) วงขนาดเล็ก (Small Orchestra) มีผู้บรรเลงประมาณ 40 – 60 คน 2) วงขนาดกลาง (Medium Orchestra) มีผู้บรรเลงประมาณ 60 – 80 คน 3) วงขนาดใหญ่ (Full Orchestra) มีผู้บรรเลงประมาณ 80 คนขึ้นไป การจัดวงออร์เคสตรา คานึงถึงความกลมกลืนของเสียงดนตรี กลุ่มเครื่องสายมีจานวนมากที่สุดในวง ประมาณ 2 ใน3 ของจานวนผู้บรรเลงทั้งหมดกลุ่มเครื่องสายนั่งอยู่ด้านหน้าสุด ต่อจากนั้นจะเป็ นกลุ่มเครื่องลมไม้ กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองและกลุ่มเครื่องตีกระทบอยู๋ด้านหลังวาท ยกร (Conductor) หรือ เรียกว่า ผู้อานวยเพลง
  • 9. 5 คือผู้ที่ทาหน้าที่ควบคุมวงดนตรี ต้องที่ด้านหน้าวงดนตรี เพื่อกากับจังหวะ กากับลีลา และกากับความดังเบาของบทเพลงที่บรรเลงอยู่ เป็ นผู้เชื่อมโยงอารมณ์ และความรู้สึกของผู้ประพันธ์เพลงไปสู่ผู้ฟังเพลง ………………………………………………………………………….. 3. วงแบนด์ (Band) วงแบนด์ เป็ นการผสมวงดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องลมไม้ และเครื่องลมทองเหลืองเป็ นหลัก มีเครื่องประกอบจังหวะตามความเหมาะสม วงแบนด์แบ่งออกได้หลายประเภทด้วยกัน ดังนี้ 3.1 วงซิมโฟนิคแบนด์ (Symphonic Band) เป็ นการผสมที่เน้นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าชนิดต่างๆ เป็ นสาคัญ และมีเครื่องประกอบจังหวะตามความเหมาะสม ใช้บรรเลงในร่ม ในห้องประชุม หรือห้องจัดแสดงดนตรี บทเพลงที่ใช้บรรเลงต้องเขียนขึ้นโดยเฉพาะ วงซิมโฟนิคแบนด์จะไม่นาไวโอลิน วิโอลา และเชลโลมาประสมวง ยกเว้นดับเบิลเบสซึ่งเป็ นเครื่องสายชนิดเดียวที่นามาประสมในว งประเภทนี้ การประสมวงดนตรีและการบรรเลงดนตรีในลักษณะนี้ อาจเรียกชื่อเป็ นอย่างอื่นได้อีก เช่น ConcertBand หรือ Wind Ensemble 3.2 วงมาร์ชชิ่งแบนด์ (Marching Band) เป็ นวงดนตรีที่มีอยู่ตามโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ เหมาะสาหรับบรรเลงกลางแจ้ง เป็ นดนตรีสนาม
  • 10. 6 ใชบรรเลงนาขบวนพาเหรดบรรเลงในสนามกีฬา บรรเลงในวงเฉลิมฉลองต่างๆ ที่ต้องการความครึกครื้น สนุกสนาน และความเข้มแข็ง เพลงที่บรรเลงมีทั้งมาร์ชต่างๆ และเพลงลีลาแบบอื่นๆ ซึ่งไม่จาเป็ นต้องเป็ นเพลงมาร์ช นามาเรียบเรียงใหม่เพื่อบรรเลงโดยวงมาร์ชชิ่งแบนด์โดยเฉพา ะ เครื่องดนตรีที่นามาประสมในวงมาร์ชชิ่งแบนด์คือ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าและเครื่องตีกระทบประกอบจังห วะ ถ้าดูจากการประวงของเครื่องดนตรีแล้ว วงมาร์ชชิ่งแบนด์สมารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 3.2.1 แตรวง (Brass Band) ผสมวงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีเพียง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง คือ เครื่องดนตรีจาพวกแตรชนิดต่างๆ และกลุ่มเครื่องตีกระทบประกอบจังหวะ 3.2.2 วงโยธวาทิต (Military Band) เป็ นวงดนตรีที่เกิดขึ้นเพื่อใช้ในกิจการของทหาร เช่น บรรเลงสาหรับเดินแถวทหาร บรรเลงเพื่อปลุกใจทหาร ต่อมาได้แพร่หลายไปสู่สถานศึกษาต่างๆ โดยได้นาวงโยธวาทิตไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของนักเรียนวงโยธวาทิตผสมวงดนตรีด้วยเครื่องดนตรี 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเครื่องเป่าลมไม้ กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองและกลุ่มเครื่องตีกระทบประกอบจังหวะ จานวนเปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสม วงโยธวาทิตที่มีชื่อเสียงของโลก คือ วงโยธวาทิตของ จอห์น ฟิลิป ซูซ่า (John Philip Sousa ค.ศ. 1854 - 1993)เป็ นวงโยธวาทิตที่อยู่ในอเมริกา และเป็ นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย สาหรับ จอห์น ฟิลิป ซูซ่า นั้น เป็ นผู้ที่มีความสามารถทางดนตรีอย่างมาก เป็ นทั้งผู้ควบคุมวงดนตรีที่มีความสามารถ และนักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียง
  • 11. 7 โดยเฉพาะเพลงในลีลาจังหวะมาร์ช เขาแต่งได้อย่างไพเราะทุกเพลง จนได้รับการยกย่องให้เป็ น “ราชาแห่งเพลงมาร์ช” 3.3 วงบิ๊กแบนด์ (Big Band) คือ วงดนตรีแจ๊สประเภทหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา ราวปี ค.ศ. 1920 นักดนตรีแจ๊สทั้งหลายมีความคิดที่จะทาให้วงดนตรีแจ๊สทัดเทียม กับวงดนตรีประเภทออร์เคสตรา ซึ่งเป็ นวงดนตรีขนาดใหญ่ที่ได้พัฒนามาช้านานลัว จึงได้รวมตัวกันบรรเลงด้วยจานวนนักดนตรีที่มากกว่าที่เคยรว มตัวกันมา คือ ประมาณ 12 – 17 คน ซึ่งแต่เดิมวงดนตรีแจ๊สจะมีนักดนตรีประมาณ 4 – 8 คน เท่านั้น วงดนตรี บิ๊กแบนด์ เป็ นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3 กลุ่ม ดังนี้ 3.3.1 กลุ่มเครื่องลมไม้ประกอบด้วยอัลโตแซ็กโซโฟน 2 เครื่อง เทเนอร์แซ็กโซโฟน 2 เครื่อง บาริโทนแซ็กโซโฟน 1 เครื่อง รวมทั้งปี่ คลาริเนตและฟลุทด้วย 3.3.2 เครื่องลมทองเหลือง ประกอบด้วย แตรทรัมเป็ ท 2 – 3 เครื่อง สไลด์ทรอมโบน 2 เครื่อง 3.3.3 เครื่องกระทบหรือเครื่องตีประกอบจังหวะ ประกอบด้วย กลองขนาดต่างๆ แบนโจกีต้าร์เบส รวมทั้งเปี ยโนด้วยจุดมุ่งหมายของการบรรเลงด้วยวงบิ๊กแบนด์ก็ เพื่อประกอบการเต้นราและเอาไว้ฟังเพื่อความไพเราะ นอกจากนั้นยังมุ่งผลประโยชน์ทางธุรกิจอีกด้วย ดังนั้นจึงทาให้วงดนตรีชนิดนี้มีชื่อเรียกเพิ่มขึ้นอีก 2 ชื่อ คือ Dance Band และ Commercial Band หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 เศรษฐกิจของโลกซบเซา
  • 12. 8 วงดนตรีแจ๊สวงใหญ่ที่เรียกว่าบิ๊กแบนด์จึงได้เสื่อมความนิยมไป ในที่สุด 3.4 วงคอมโบ (Combo) คือวงดนตรีขนาดเล็ก ที่เกิดขึ้นหลังจากวงบิ๊กแบนด์เสื่อมความนิยมลง จุ่งมุ่งหมายของการบรรเลงด้วยวงคอมโบ คือ บรรเลงประกอบขับร้อง บรรเลงเพื่อการฟัง บรรเลงประกอบการเต้นรา และบรรเลงเพื่อประกอบการแสดงต่างๆ วงคอมโบมีจานวนนักดนตรี และเครื่องดนตรีไม่แน่นอน เครื่องดนตรีส่วนมากที่ใช้คือ ไวโอลิน ทรัมเป็ ท แซ็กโซโฟน ทรอมโบน เปี ยโน เบส ดับเบิลเบส กลองชุด และเครื่องตีกระทบจังหวะต่างๆ เช่น มาราคาส แทมบูริน เป็ นต้น เครื่องดนตรีอื่นๆ ก็สามารถนามาผสมวงเพิ่มเติมได้ตามความต้องการ …………………………………………………………………………………… 4. วงชาโดว์ (The Shadow) เดอะชาโดว์ เป็ นชื่อของวงดนตรีวงหนึ่ง เกิดในประเทศอังกฤษ ได้รับความนิยมไปทั่วโลก เป็ นวงดนตรียนาดเล็ก เครื่องดนตรีที่นามาใช้ในการผสมวงมีเพียงกีต้าร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า และกลองชุดเท่านั้น นักดนตรีเป็ นผู้ขับร้องเพลงเอง บทเพลงที่บรรเลงจะเป็ นเพลงร็อคเป็ นส่วนใหญ่ เป็ นดนตรีที่มีเสียงดัง สนุกสนาน เร้าใจ ดนตรีร็อคสร้างอยู่บนพื้นฐานอัตราจังหวะชนิด4 จังหวะเคาะ ลักษณะเฉพาะลีลาจังหวะร็อคคือ เน้นความดังเป็ นพิเศษในจังหวะที่ 2 และ 4 ของห้องเพลง ซึ่งแต่เดิมดนตรีต่างๆ ที่เกิดขึ้นก่อนดนตรีร็อค จะนิยมเน้นในจังหวะที่ 1 และ 3 ของห้องเพลง
  • 13. 9 ด้วยอิทธิพลของความนิยมในว เดอะชาโดว์ ทาให้วงดนตรีอื่นๆ ที่ใช้รูปแบบการประสมวง และการบรรเลงเพลงในลักษณะเดียวกันกับวงเดอะชาโดว์ ถูกเรียกว่าวงดนตรีชาโดว์ไปด้วย 5. วงสตริงคอมโบ (String Combo) วงสตริงคอมโบ เป็ นวงดนตรีที่ได้คลี่คลายมาจากวงชาโดว์ บทเพลงที่บรรเลงส่วนใหญ่ยังคงเป็นเพลงในแนวดนตรีร็อคเหมื อนเดิม เครื่องดนตรีที่นามาใช้ในการประสมวง ประกอบด้วย กีต้าร์ไฟฟ้ า 2 เครื่อง กีต้าร์เบส 1 เครื่องคีย์บอร์ด(เปี ยโน เปี ยโนไฟฟ้ า ซินธีไซเซอร์) 1 เครื่องกลองชุด 1 ชุด กีต้าร์เป็ นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทในการบรรเลงมาก ทาหน้าที่บรรเลงทานองสอดแทรกต่างๆ ทานองในตอนขึ้นต้นบทเพลง ทานองล้อรับเสียงขับร้อง โซโล และทานองท่อนลงจบ กีต้าร์ที่ทาหน้าที่ต่างๆ เหล่านี้เรียกว่า ลีดกีต้าร์ (Guitar Lead) หรือ โซโลกีต้าร์ (Guitar Solo) ส่วนกีต้าร์ที่เหลืออีก 1 เครื่อง จะทาหน้าที่ดีดคอร์ด ประกอบบทเพลงด้วยลีลาต่างๆ เรียกว่า ริธึ่มกีต้าร์ (Guitar Rhythm) วงสตริงคอมโบบางวงอาจจะเพิ่มกลุ่มของนักดนตรีประเภทเครื่ องเป่าเข้าไปด้วย ประมาณ 1- 3 คน เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าที่นิยมนามาประสมวง ได้แก่ ทรัมเป็ ท ทรอมโบน และแซ็กโซโฟน …………………………………………………………………………………… 6. วงโฟล์คซอง (Folksong) ความหมายที่แท้จริงของคาว่า โฟล์คซอง (Folksong) คือ เพลงพื้นบ้าน เป็ นเพลงของชาวบ้านที่สร้างขึ้นเพื่อความบันเทิง สนุกสนาน หรือประกอบงานพิธีของชาวบ้าน
  • 14. 10 เนื้อหาของบทเพลงจะมีทั้งคติสอนใจ คติธรรม เรื่องราวที่เกี่ยวกับศาสนา ชีวิตความเป็ นอยู่ความรัก เป็ นตัน การขับร้องจะมีเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ หรือไม่มีก็ได้ ถ้าใช้เครื่องดนตรี ก็จะนาเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาบรรเลงประกอบ ไม่มีแบบแผนการบรรเลงที่แน่นอน ถือได้ว่าเพลงพื้นบ้านของทุกชาติเป็ นตันกาเนิดของเพลงชนิดอื่ นๆ ซึ่งต่างก็วิวัฒนาการมาจากเพลงพื้นบ้านทั้งนั้น สาหรับในประเทศไทย มีผู้นาเอาคาว่า “โฟล์คซอง” มาใช้ในความหมายของ การขับร้องเพลงตามสมัยนิยมทั่วไป พร้อมกับการบรรเลงกีต้าร์คลอประกอบการขับร้อง ในยุคแรกๆ จะนิยมใช้อคูสติกกีต้าร์ (กีต้าร์โปร่ง) ในการบรรเลงคลอ ปัจจุบันนิยมที่จะนากีต้าร์ไฟฟ้ ามาใช้บรรเลงด้วยเหมือนกัน การขับร้องจะมีความสาคัญมากกว่าการบรรเลงดนตรี เครื่องดนตรีอื่นๆ ที่สามารถนามาประสมวงได้เช่น หีบเพลงปาก ขลุ่ย บรรณานุกรม - นิรันดร์ ยอดสมบูรณ์.2555.”การประสมวงดนตรีสากล”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://namsoup.wikispaces.com/%E0%B8 %81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B 8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0% B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0