SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Facts about Digestion
 การย่อยอาหาร (Digestion) คือ
กระบวนการแปรสภาพโมเลกุลสารอาหารขนาดใหญ่ให้กลายเป็ นโ
มเลกุลขนาดเล็กพอที่จะสามารถแพร่เข้าสู่เซลล์เพื่อนาไปใช้ประโย
ชน์ได้
 การย่อยเชิงกล (Mechanical Digestion)
ทาให้อาหารเล็กลงแต่องค์ประกอบทางเคมีของสารไม่เปลี่ยนแปลง
เช่น เพอริสทัลซิส (การบีบและคลายตัวของหลอดอาหาร)
 การย่อยเชิงเคมี (Chemical Digestion)
ทาให้อาหารขนาดเล็กลงและเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทาง
เคมี เช่น การย่อยด้วยเอนไซม์ (Enzymatic Digestion)
 การย่อยอาหารภายในเซลล์ (Intracellular Digestion)
คือการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ผ่านวิธี Endocytosis
แล้วหลั่งเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารภายในเซลล์
 การย่อยอาหารภายนอกเซลล์ (Extracellular Digestion)
คือการนาเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารภายนอกเซลล์โดยวิธีการต่าง
ๆ และดูดซึมสารอาหารกลับเข้าสู่เซลล์ เช่น Hypha
ของเห็ดที่เป็ นเซลล์คล้ายท่อส่งเอนไซม์ไปยังซากพืชซากสัตว์
 เห็ดรา เป็ นผู้ย่อยสลาย (Decomposer)
มีการย่อยอาหารภายนอกเซลล์
 อะมีบาและพารามีเซียม เป็ นผู้บริโภค (heterotroph)
มีการย่อยอาหารภายในเซลล์
โดยนาอาหารเข้าเซลล์โดยวิธีฟาโกไซโทซิส
(พารามีเซียมมีร่องปาก Oral groove)
 ฟองน้า มีเซลล์โคเอโนไซต์
เพื่อดักจับอาหารโดยมีแฟลกเจลลัมเป็นตัวปัดอาหารเข้าสู่เซลล์
และจะมีอะมีบาไซต์เพื่อทาหน้าที่หลั่งเอนไซม์ออกมาย่อย
(ย่อยอาหารภายในเซลล์)
 ไฮดรา ใช้เทนทาเคิลดักจับอาหารเข้าสู่ร่างกาย
โดยหลั่งเอนไซม์มาย่อยบริเวณช่องว่างกลางลาตัว
และบางเซลล์ที่ปล่อยเอนไซม์ออกมา
จะมีการนาอาหารเข้าเพื่อไปช่วยย่อยในเซลล์
(ย่อยอาหารทั้งภายในและภายนอกเซลล์)
 พลานาเรีย มีทางเดินอาหารที่แตกแขนงไปทุกส่วนของลาตัว
มีการใช้ปากในการจับอาหารผ่านเข้าไปทางคอหอย (pharynx)
ซึ่งปล่อยน้าย่อยออกมาย่อยขั้นหนึ่งก่อนแล้วจึงผ่านเข้าไปย่อยในท
างเดินอาหารต่อไป
 ไส้เดือนดินและสัตว์ขาปล้อง
ใช้ปากในการกินอาหารและเกิดการย่อยในกระเพาะอาหาร
อาจมีอวัยวะในการช่วยย่อยอาหารเพิ่มขึ้น เช่น กึ๋น (Gizzard)
และต่อมสร้างเอนไซม์
 สัตว์เคี้ยวเอื้อง (Ruminants) มีกระเพาะ4 ส่วน ได้แก่ รูเมน
เรติคิวลัม โอมาซัม อะโบมาซัม
 รูเมน เป็ นกระเพาะแรก มีแบคทีเรีย,โพรโทซัวช่วยย่อยเซลลูโลส
มีจุลินทรีย์สังเคราะห์กรดอะมิโนจากยูเรีย,แอมโมเนียที่เกิดจากกา
รหมัก อีกทั้งยังสังเคราะห์กรดไขมันและวิตามิน B12
 เรติคิวลัม ทาหน้าที่บดและผสมอาหาร
 สามารถสารอกอาหารไปยังบริเวณหลอดอาหารได้
 โอมาซัม ทาหน้าที่บดและผสมอาหาร
 อะโบมาซัม ทาหน้าที่หลั่งเอนไซม์ออกมาย่อยอาหาร
และอาหารจะถูกส่งไปยังลาไส้เล็ก
 สัตว์ที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ เช่น ไส้เดือน สัตว์ขาปล้อง
 สัตว์ที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ เช่น พลานาเรีย ไฮดรา
 มนุษย์ มีฟัน 2 ชุด คือฟันน้านม 20 ซี่และฟันแท้32 ซี่
 ฟันจัดเป็ นการย่อยเชิงกล
 ลิ้น ช่วยคลุกเคล้าอาหารและดันอาหารเคลื่อนลงสู่คอหอย
มีต่อมรับรส 4 อัน ขมตรงโคนลิ้น เปรี้ยวตรงขอบข้าง
หวานตรงปลายลิ้น และเค็มตรงปลายลิ้นและขอบข้างลิ้น
 ต่อมน้าลายมี 3 คู่ ตรงกกหู ใต้ขากรรไกรล่าง ใต้ลิ้น
ช่วยผลิตน้าลายชนิดใส สร้างไทอาลินหรืออะไมเลส
ช่วยย่อยแป้ งให้เป็ นน้าตาล
 หลอดอาหาร (Esophagus)
มีน้าเมือกช่วยหล่อลื่นให้อาหารเคลื่อนที่สะดวก
และมีการบีบคลายตัว ซึ่งเป็ นการย่อยเชิงกล เรียกว่าเพอริสทัลซิส
 กระเพาะอาหาร เป็ นส่วนที่ใหญ่ที่สุดในทางเดินอาหาร
ด้านบนและด้านล่างมีกล้ามเนื้อหูรูดเพื่อควบคุมการเคลื่อนที่
ผนังด้านในเป็ นรอยย่นเรียกว่า รูกี
 ใต้ผนังประกอบด้วย 3 เซลล์ Mucous Cell
สร้างเมือกเคลือบกระเพาะ Parietal Cell สร้างกรดเกลือ pH
ประมาร 2-3 Chief Cell สร้างเอนไซม์ Pepsinogen
ซึ่งจะเปลี่ยนเป็ น pepsin เมื่อถูกกระตุ้นด้วยกรดเกลือ
 Gastric Juice คือน้าย่อยที่หลั่งออกมาวันละ 2,000-3,000 CC
 อาหารอยู่ในกระเพาะอาหารนาน 0.5-3 ชั่วโมง
อาจมีการดูดซึมแร่ธาตุหรือน้าบ้างเล็กน้อย
แต่ดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ดีถึง 30-40%
 แผลในกระเพราะอาหร เกิดจากการกินอาหารไม่ตรงเวลา
แอลกอฮลล์ คาเฟอีน อาหารรสจืด ควมเครียด NSAIDs
 ลาไส้เล็กเป็ นส่วนที่ยาวที่สุดบางเป็ น 3 ส่วน คือ ดูโอดินัม คือ
ลาไส้ตอนต้น สารอาหารเกือบทุกชนิด
ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดบริเวณนี้ เจจูนัม ดูดซึมพวกไขมัน อิลิอัม
ดูดซึมเกลือน้าดี
 ถุงน้าดีและตับอ่อนจะส่ง pro-enzyme คือ Trypsinogen
มายังลาไส้เล็ก และจะถูก Enterokinase กระตุ้นให้เป็ น Trypsin
และ Trypsin จะไปกระตุ้น pro-enzyme อื่นๆต่อไป
 ลาไส้เล็กมีวิลไลที่ดูดซึมสารอาหาร
ถ้าวิลไลหลายอันจะเรียกว่าวิลลัส ภายในมีหลอดเลือดฝอย

 Hepatic Portal Vein
เป็ นเส้นเลือดที่ต่อจากลาไส้เล็กไปยังตับ
จึงถือว่าตับเป็ นอวัยวะแรกที่ได้รับสารอาหาร
 ลาไส้ใหญ่ยาว 1.5 เมตร ประกอบด้วย
ประกอบด้วยซีคัมที่มีไส้ติ่ง,โคลอน,ไส้ตรง
มีอุจจาระเตรียมขับออกจากร่างกายทางทวารหนัก
 ผนังของลาไส้ใหญ่ ไม่มีวิลไล แต่มี Globet cell
ผลิตสารเมือกช่วยในการขับถ่าย
 ลาไส้ใหญ่มีเพียงการดูดซึมน้าและเกลือแร่
แต่แบคทีเรียในลาไส้ใหญ่สามารถสังเคราะห์วิตามินจากกากอาหา
รในลาไส้ใหญ่และทาให้เกิดแก๊สประมาณ 500 mlต่อวัน เช่น
ไฮโดรเจนซัลไฟต์หรือสารเอมียที่ระเหยได้ซึ่งมีกลิ่นเหม็น
 สัตว์กินพืชจะมีฟันกรามเยอะเนื่องจากช่วยบดเคี้ยวพืช
 สัตว์กินเนื้อจะมีเขี้ยว ช่วยฉีกเนื้อ
 สัตว์ที่กินทั้งเนื้อและพืชจะมีการพัฒนาฟันทั้งสองชนิดเท่าๆกัน

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
บัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาบัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาNamchai
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการPop Punkum
 
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57Jirarat Cherntongchai
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18kkkkon
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลGreen Greenz
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
โครงการดินเหนียวลอยฟ้า
โครงการดินเหนียวลอยฟ้าโครงการดินเหนียวลอยฟ้า
โครงการดินเหนียวลอยฟ้าพัน พัน
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2พัน พัน
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีMuhammadrusdee Almaarify
 

What's hot (20)

โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
บัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาบัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลา
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการ
 
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
โครงการดินเหนียวลอยฟ้า
โครงการดินเหนียวลอยฟ้าโครงการดินเหนียวลอยฟ้า
โครงการดินเหนียวลอยฟ้า
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
 
Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 

Viewers also liked

Coinx ppt business_plan_Spain_Spanish_language
Coinx ppt business_plan_Spain_Spanish_languageCoinx ppt business_plan_Spain_Spanish_language
Coinx ppt business_plan_Spain_Spanish_languageCOINX TRADING LTD
 
Essendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping Case
Essendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping CaseEssendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping Case
Essendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping Caseisteroidscom
 
Breaking the Ice - an ESL Lesson
Breaking the Ice - an ESL LessonBreaking the Ice - an ESL Lesson
Breaking the Ice - an ESL LessonDavid Wills
 
El testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiar
El testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiarEl testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiar
El testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiarAGM Abogados
 
Como crear un perfil de visitante en el twin space
Como crear un perfil de visitante en el twin spaceComo crear un perfil de visitante en el twin space
Como crear un perfil de visitante en el twin spaceeTwinning España
 
Minna no Nihongo Shokyuu 1 - Choukai
Minna no Nihongo Shokyuu 1 - ChoukaiMinna no Nihongo Shokyuu 1 - Choukai
Minna no Nihongo Shokyuu 1 - ChoukaiArtur Filipe Segumdo
 
คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf
คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf
คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf bass hyde
 

Viewers also liked (15)

Coinx ppt spain
Coinx ppt spainCoinx ppt spain
Coinx ppt spain
 
Lec2
Lec2Lec2
Lec2
 
Coinx ppt business_plan_Spain_Spanish_language
Coinx ppt business_plan_Spain_Spanish_languageCoinx ppt business_plan_Spain_Spanish_language
Coinx ppt business_plan_Spain_Spanish_language
 
Essendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping Case
Essendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping CaseEssendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping Case
Essendon Sought Help Of Underworld Figure In Doping Case
 
Breaking the Ice - an ESL Lesson
Breaking the Ice - an ESL LessonBreaking the Ice - an ESL Lesson
Breaking the Ice - an ESL Lesson
 
Lr world-μαρτιου17
Lr world-μαρτιου17Lr world-μαρτιου17
Lr world-μαρτιου17
 
Fmcg ppt
Fmcg pptFmcg ppt
Fmcg ppt
 
El testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiar
El testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiarEl testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiar
El testamento del empresario: la sucesión de la empresa familiar
 
конспект
конспектконспект
конспект
 
Oslo (V M )
Oslo (V M )Oslo (V M )
Oslo (V M )
 
Atelier de veille informationnelle pour bacc. + 2e cycle - automne 2016
Atelier de veille informationnelle pour bacc. + 2e cycle - automne 2016Atelier de veille informationnelle pour bacc. + 2e cycle - automne 2016
Atelier de veille informationnelle pour bacc. + 2e cycle - automne 2016
 
Joint Disorders
Joint DisordersJoint Disorders
Joint Disorders
 
Como crear un perfil de visitante en el twin space
Como crear un perfil de visitante en el twin spaceComo crear un perfil de visitante en el twin space
Como crear un perfil de visitante en el twin space
 
Minna no Nihongo Shokyuu 1 - Choukai
Minna no Nihongo Shokyuu 1 - ChoukaiMinna no Nihongo Shokyuu 1 - Choukai
Minna no Nihongo Shokyuu 1 - Choukai
 
คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf
คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf
คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf
 

Similar to สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4

ระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestionระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร DigestionAreeya Mungsachat
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2Y'tt Khnkt
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารcapchampz
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียง
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียงใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียง
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียงNapaphat Bassnowy
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 

Similar to สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4 (15)

ระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestionระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestion
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
STB
STBSTB
STB
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียง
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียงใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียง
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การลำเลียง
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
Biobook
BiobookBiobook
Biobook
 

สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4

  • 1. Facts about Digestion  การย่อยอาหาร (Digestion) คือ กระบวนการแปรสภาพโมเลกุลสารอาหารขนาดใหญ่ให้กลายเป็ นโ มเลกุลขนาดเล็กพอที่จะสามารถแพร่เข้าสู่เซลล์เพื่อนาไปใช้ประโย ชน์ได้  การย่อยเชิงกล (Mechanical Digestion) ทาให้อาหารเล็กลงแต่องค์ประกอบทางเคมีของสารไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เพอริสทัลซิส (การบีบและคลายตัวของหลอดอาหาร)  การย่อยเชิงเคมี (Chemical Digestion) ทาให้อาหารขนาดเล็กลงและเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทาง เคมี เช่น การย่อยด้วยเอนไซม์ (Enzymatic Digestion)  การย่อยอาหารภายในเซลล์ (Intracellular Digestion) คือการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ผ่านวิธี Endocytosis แล้วหลั่งเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารภายในเซลล์  การย่อยอาหารภายนอกเซลล์ (Extracellular Digestion) คือการนาเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารภายนอกเซลล์โดยวิธีการต่าง ๆ และดูดซึมสารอาหารกลับเข้าสู่เซลล์ เช่น Hypha ของเห็ดที่เป็ นเซลล์คล้ายท่อส่งเอนไซม์ไปยังซากพืชซากสัตว์  เห็ดรา เป็ นผู้ย่อยสลาย (Decomposer) มีการย่อยอาหารภายนอกเซลล์  อะมีบาและพารามีเซียม เป็ นผู้บริโภค (heterotroph) มีการย่อยอาหารภายในเซลล์ โดยนาอาหารเข้าเซลล์โดยวิธีฟาโกไซโทซิส (พารามีเซียมมีร่องปาก Oral groove)  ฟองน้า มีเซลล์โคเอโนไซต์ เพื่อดักจับอาหารโดยมีแฟลกเจลลัมเป็นตัวปัดอาหารเข้าสู่เซลล์ และจะมีอะมีบาไซต์เพื่อทาหน้าที่หลั่งเอนไซม์ออกมาย่อย (ย่อยอาหารภายในเซลล์)
  • 2.  ไฮดรา ใช้เทนทาเคิลดักจับอาหารเข้าสู่ร่างกาย โดยหลั่งเอนไซม์มาย่อยบริเวณช่องว่างกลางลาตัว และบางเซลล์ที่ปล่อยเอนไซม์ออกมา จะมีการนาอาหารเข้าเพื่อไปช่วยย่อยในเซลล์ (ย่อยอาหารทั้งภายในและภายนอกเซลล์)  พลานาเรีย มีทางเดินอาหารที่แตกแขนงไปทุกส่วนของลาตัว มีการใช้ปากในการจับอาหารผ่านเข้าไปทางคอหอย (pharynx) ซึ่งปล่อยน้าย่อยออกมาย่อยขั้นหนึ่งก่อนแล้วจึงผ่านเข้าไปย่อยในท างเดินอาหารต่อไป  ไส้เดือนดินและสัตว์ขาปล้อง ใช้ปากในการกินอาหารและเกิดการย่อยในกระเพาะอาหาร อาจมีอวัยวะในการช่วยย่อยอาหารเพิ่มขึ้น เช่น กึ๋น (Gizzard) และต่อมสร้างเอนไซม์  สัตว์เคี้ยวเอื้อง (Ruminants) มีกระเพาะ4 ส่วน ได้แก่ รูเมน เรติคิวลัม โอมาซัม อะโบมาซัม  รูเมน เป็ นกระเพาะแรก มีแบคทีเรีย,โพรโทซัวช่วยย่อยเซลลูโลส มีจุลินทรีย์สังเคราะห์กรดอะมิโนจากยูเรีย,แอมโมเนียที่เกิดจากกา รหมัก อีกทั้งยังสังเคราะห์กรดไขมันและวิตามิน B12  เรติคิวลัม ทาหน้าที่บดและผสมอาหาร  สามารถสารอกอาหารไปยังบริเวณหลอดอาหารได้  โอมาซัม ทาหน้าที่บดและผสมอาหาร  อะโบมาซัม ทาหน้าที่หลั่งเอนไซม์ออกมาย่อยอาหาร และอาหารจะถูกส่งไปยังลาไส้เล็ก  สัตว์ที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ เช่น ไส้เดือน สัตว์ขาปล้อง  สัตว์ที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ เช่น พลานาเรีย ไฮดรา  มนุษย์ มีฟัน 2 ชุด คือฟันน้านม 20 ซี่และฟันแท้32 ซี่  ฟันจัดเป็ นการย่อยเชิงกล
  • 3.  ลิ้น ช่วยคลุกเคล้าอาหารและดันอาหารเคลื่อนลงสู่คอหอย มีต่อมรับรส 4 อัน ขมตรงโคนลิ้น เปรี้ยวตรงขอบข้าง หวานตรงปลายลิ้น และเค็มตรงปลายลิ้นและขอบข้างลิ้น  ต่อมน้าลายมี 3 คู่ ตรงกกหู ใต้ขากรรไกรล่าง ใต้ลิ้น ช่วยผลิตน้าลายชนิดใส สร้างไทอาลินหรืออะไมเลส ช่วยย่อยแป้ งให้เป็ นน้าตาล  หลอดอาหาร (Esophagus) มีน้าเมือกช่วยหล่อลื่นให้อาหารเคลื่อนที่สะดวก และมีการบีบคลายตัว ซึ่งเป็ นการย่อยเชิงกล เรียกว่าเพอริสทัลซิส  กระเพาะอาหาร เป็ นส่วนที่ใหญ่ที่สุดในทางเดินอาหาร ด้านบนและด้านล่างมีกล้ามเนื้อหูรูดเพื่อควบคุมการเคลื่อนที่ ผนังด้านในเป็ นรอยย่นเรียกว่า รูกี  ใต้ผนังประกอบด้วย 3 เซลล์ Mucous Cell สร้างเมือกเคลือบกระเพาะ Parietal Cell สร้างกรดเกลือ pH ประมาร 2-3 Chief Cell สร้างเอนไซม์ Pepsinogen ซึ่งจะเปลี่ยนเป็ น pepsin เมื่อถูกกระตุ้นด้วยกรดเกลือ  Gastric Juice คือน้าย่อยที่หลั่งออกมาวันละ 2,000-3,000 CC  อาหารอยู่ในกระเพาะอาหารนาน 0.5-3 ชั่วโมง อาจมีการดูดซึมแร่ธาตุหรือน้าบ้างเล็กน้อย แต่ดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ดีถึง 30-40%  แผลในกระเพราะอาหร เกิดจากการกินอาหารไม่ตรงเวลา แอลกอฮลล์ คาเฟอีน อาหารรสจืด ควมเครียด NSAIDs  ลาไส้เล็กเป็ นส่วนที่ยาวที่สุดบางเป็ น 3 ส่วน คือ ดูโอดินัม คือ ลาไส้ตอนต้น สารอาหารเกือบทุกชนิด ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดบริเวณนี้ เจจูนัม ดูดซึมพวกไขมัน อิลิอัม ดูดซึมเกลือน้าดี  ถุงน้าดีและตับอ่อนจะส่ง pro-enzyme คือ Trypsinogen มายังลาไส้เล็ก และจะถูก Enterokinase กระตุ้นให้เป็ น Trypsin และ Trypsin จะไปกระตุ้น pro-enzyme อื่นๆต่อไป
  • 4.  ลาไส้เล็กมีวิลไลที่ดูดซึมสารอาหาร ถ้าวิลไลหลายอันจะเรียกว่าวิลลัส ภายในมีหลอดเลือดฝอย   Hepatic Portal Vein เป็ นเส้นเลือดที่ต่อจากลาไส้เล็กไปยังตับ จึงถือว่าตับเป็ นอวัยวะแรกที่ได้รับสารอาหาร  ลาไส้ใหญ่ยาว 1.5 เมตร ประกอบด้วย ประกอบด้วยซีคัมที่มีไส้ติ่ง,โคลอน,ไส้ตรง มีอุจจาระเตรียมขับออกจากร่างกายทางทวารหนัก  ผนังของลาไส้ใหญ่ ไม่มีวิลไล แต่มี Globet cell ผลิตสารเมือกช่วยในการขับถ่าย  ลาไส้ใหญ่มีเพียงการดูดซึมน้าและเกลือแร่ แต่แบคทีเรียในลาไส้ใหญ่สามารถสังเคราะห์วิตามินจากกากอาหา รในลาไส้ใหญ่และทาให้เกิดแก๊สประมาณ 500 mlต่อวัน เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟต์หรือสารเอมียที่ระเหยได้ซึ่งมีกลิ่นเหม็น  สัตว์กินพืชจะมีฟันกรามเยอะเนื่องจากช่วยบดเคี้ยวพืช  สัตว์กินเนื้อจะมีเขี้ยว ช่วยฉีกเนื้อ  สัตว์ที่กินทั้งเนื้อและพืชจะมีการพัฒนาฟันทั้งสองชนิดเท่าๆกัน