SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
learn more
แนวทางการจัดการเรี ยนรู้วิชาการศึกษาต้นคว้าด้วยตนเอง(IS1, IS2)
โดย ครู กรอบวิทย์
หลังจากที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดให้มีหลักสูตรโรงเรี ยน
มาตรฐานสากล ซึ่งในตอนแรกได้จดให้มีการจัดการเรี ยนการสอนในสาระต่างๆ
ั
ได้แก่ สาระทฤษฎีความรู้ (TOK) สาระโลกศึกษา (GE) สาระกิจกรรมสร้างสรรค์
ประโยชน์ (CAS) สาระการเขียนเรี ยงความขั้นสูง (EE) ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยน
ในบางสาระ โดยเพิมเติมสาระ การศึกษาค้นคว้าอิสระ (Indepentdent Study : IS)
่
ขึ้นมา นับว่าเป็ นอีกหนึ่งเรื่ องใหม่สาหรับครู ผสอน ที่จะต้องจัดการเรี ยนการสอน
ู้
ในปี การศึกษา 2555 นี้ มีเพื่อนครู จานวนมากสอบถามผมเข้ามามากเกี่ยวกับ การ
จัดการเรี ยนการสอน การศึกษาค้นคว้าอิสระ (Indepentdent Study : IS) ผมจึงขอ
นาข้อมูลมาเรี ยบเรี ยงเขียนไว้ในบล็อกนี้ เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อเพื่อนครู ผูที่สนใจ
้
ในการศึกษาและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ร่วมกันต่อไปครับ

Next
การให้ ผู้เ รี ย นได้ ศึ ก ษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง “Independent
Study : IS” นับเป็ นวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งที่ใช้ กนอย่างกว้ างขวางใน
ั
การพัฒนาผู้เรี ยน เพราะเป็ นการเปิ ดโลกกว้ างให้ ผ้ ูเรี ยนได้ ศึกษาค้ นคว้ าอย่าง
อิสระในเรื่ องหรื อประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มตั ้งแต่การกาหนดประเด็นปั ญหา ซึงอาจ
่
เป็ น Public Issue และGlobal Issue และดาเนินการค้ นคว้ าแสวงหา
ความรู้ จากแหล่งข้ อมูลที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การอภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อนาไปสู่การสรุ ปองค์ความรู้ จากนันก็หาวิธีการที่
้
เหมาะสมในการสื่อสารนาเสนอให้ ผ้ อื่นได้ รับทราบ และสามารถนาความรู้ ที่ได้
ู
จากการศึกษาค้ นคว้ าไปทาประโยชน์แก่สาธารณะ ซึงสิงเหล่านี ้เป็ นกระบวนการ
่ ่
ที่ เ ชื่ อ มโยงต่ อ เนื่ อ งกั น ตลอดแนว ภายใต้ “การศึ ก ษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง
(Independent Study : IS)” ซึ่งจัดแบ่งเป็ นสาระการเรี ยนรู้ 3 สาระ
ประกอบด้ วย

Next
Next
IS 1- การศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (Research and
Knowledge Formation) เป็ นสาระที่ม่งให้ ผ้ เรี ยนกาหนดประเด็นปั ญหา
ุ ู

ตั ้งสมมุติฐาน ค้ นคว้ า แสวงหาความรู้และฝึ กทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
และสร้ างองค์ความรู้

Back
IS 2- การสื่อสารและการนาเสนอ(Communication and
Presentation) เป็ นสาระที่ ม่งให้ ผ้ ูเรี ยนนาความรู้ ที่ได้ รับ มาพัฒนาวิธีการ
ุ

การถ่ ายทอด/สื่อ สารความหมาย/แนวคิด ข้ อมูลและองค์ ความรู้ ด้ วยวิธีการ
นาเสนอที่เหมาะสม หลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ

Back
IS 3- การนาองค์ความรู้ ไปใช้ บริ การสังคม (Social Service
Activity) เป็ นสาระที่มงให้ ผ้ เรี ยน นา/ประยุกต์องค์ความรู้ ไปสู่การปฏิบติ หรื อ
ุ่ ู
ั
นาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริการสาธารณะ (Public Service)

Back
โรงเรี ยนต้ อ งน าสาระการเรี ยนรู้ การศึ กษาค้ น คว้ า ด้ ว ย
ตนเอง (Independent Study : IS ) ไปสู่การเรี ยนการสอน ในลักษณะของหน่วย
การเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม หรื อกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ตามแนวทางที่กาหนด โดย
พิจารณาให้สอดคล้องกับบริ บทและพัฒนาการ วัยของผูเ้ รี ยน ซึ่ งอาจแตกต่างกัน
ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย
การพัฒนาผูเ้ รี ยนผ่า นการศึ กษาค้น คว้า ด้วยตนเอง (Independent
Study) นั้น ครู ผสอนจะต้องพิจาณาให้เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของผูเ้ รี ยน
ู้
กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ความยาก-ง่ า ยของชิ้ น งานหรื อ ภาระงานที่ ป ฏิ บ ัติ จ ะต้อ ง
เหมาะสม เป้ าหมายคุณภาพผูเ้ รี ยนแต่ ละระดับที่ กาหนดนี้ เป็ นเป้ าหมายและ
กรอบทิศทางที่ครู จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและการประเมินผล
ดูการประเมิน

Next
Next
Next
Next
Back
การจัดหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับการศึกษาค้ นคว้ าตนเอง
การนาสาระการเรี ยนรู้ การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง (Independent
Study : IS ) ไปพิจารณาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรี ยน
มาตรฐานสากล สามารถดาเนินการได้ ดงนี ้
ั
ระดับประถมศึกษา ในระดับประถมศึกษาซึงเป็ นระดับชั ้นที่ผ้ เู รี ยนยังเล็ก และ
่
เหมาะกับการจัดการเรียนรู้ที่มีการเชื่อมโยงบูรณาการกลุมสาระการเรี ยนรู้ต่างๆ
่
ในลักษณะของหัวเรื่ องที่ผ้ เู รี ยนใจ (Theme) การพัฒนาผู้เรี ยนตามบันได 5
ขั ้นสูความเป็ นสากล สามารถจัดในลักษณะของหน่วยการเรียนรู้ หรือรายวิชา
่
เพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนตามความเหมาะสมของแต่ละช่วงวัย ดังนี ้

Next
ระดับประถมศึกษาชั ้นปี ที่ 1-3 : จัดเป็ นหน่วยการเรี ยนรู้เฉพาะ และกิจกรรม
พัฒนาผู้เรี ยน (กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์)
ระดับประถมศึกษาชั ้นปี ที่ 4-6: จัดเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (40 ชม./
ปี ) และกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน

Next
- หน่วยการเรี ยนรู ้เฉพาะ ให้จดในรายวิชาพื้นฐานอย่างน้อย 1 รายวิชา ในแต่ละปี การศึกษา
ั
โดยหน่วยการเรี ยนรู ้น้ นต้องออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้ครอบคลุมทั้ง IS 1 และ IS2 คือ
ั
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู ้ (IS 1 : Research and Knowledge Formation) โดยครู อาจ
กาหนดประเด็นที่สนใจเกี่ยวกับสิ่ งใกล้ตว เพื่อฝึ กให้ผเู ้ รี ยนได้รู้จกตั้งคาถาม ข้อสงสัย ตั้งสม
ั
ั
มุตติฐานตามจินตนาการแล้วมีการค้นคว้า แสวงหาคาตอบจากแหล่งข้อมูลพื้นฐานง่ายๆ และ
ให้ผเู ้ รี ยนได้สรุ ปความรู ้ที่ได้ จากนั้นให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกนาข้อมูลความรู ้ หรื อคาตอบที่ได้ มาสรุ ป
เรี ยบเรี ยงถ่ายทอด/สื่ อสาร นาเสนอการด้วยวิธีการที่เหมาะสมหลากหลายรู ปแบบ (IS 2 :
Communication and Presentation) (ผลผลิต/ร่ องรอยหลักฐานจากการเรี ยนรู ้ ได้แก่ ชิ้นงาน/
ภาระงาน ที่สะท้อนสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และมีการนาเสนอสื่ อสารที่เหมาะสมกับวัย เช่น การพูด
ภาพวาด งานเขียนง่ายๆ งานที่ลงมือปฏิบติหรื อประดิษฐ์ง่ายๆ เป็ นต้น )
ั
- กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้จดในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็ นการนาสิ่ งที่
ั
เรี ยนรู ้จากหน่วยการเรี ยนรู ้ที่จดขึ้นข้างต้นไปประยุกต์ใช้ในการทาประโยชน์ต่อสังคม IS 3
ั
ั
(Global Education and Social Service Activity) ซึ่งในระดับชั้นเด็กเล็กอาจใช้กบบุคคลใกล้ตว
ั
หรื อในโรงเรี ยนตามความเหมาะสมกับระดับชั้น

Back
- รายวิชาเพิ่มเติม ใช้ ชื่อรายวิชา การค้ นคว้ าเพื่อเรี ยนรู้ (Knowledge Inquiry) โดย
จัดให้ เรี ยนในชันปี ใด ปี หนึง กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ในรายวิชานี ้จะต้ องครอบคลุมทัง้ IS 1
้
่
(Research and Knowledge Formation) และ IS 2
(Communication and Presentation) ในลักษณะที่ยากและลึกซึ ้งขึ ้น ให้
เหมาะสมกับศักยภาพและวุฒิภาวะของผู้เรี ยน ตามเปาหมายคุณภาพผู้เรี ยนที่
้
กาหนด (ผลผลิต/ร่องรอยหลักฐานจากการเรี ยนรู้ ได้ แก่ ชิ ้นงาน/ภาระงาน งานเขียนที่สะท้ อน
สิ่งที่เรี ยนรู้ ศึกษาค้ นคว้ า และมีการนาเสนอสื่อสารในลักษณะต่างๆ เช่นงานเขียน รายงาน
ชิ ้นงาน อาจมีการใช้ อปกรณ์เครื่ องมือที่เหมาะสมกับวัยในการสื่อสารถ่ายทอดสิ่งที่เรี ยนรู้แก่
ุ
ผู้อื่น )
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ให้ นาความรู้ ที่เรี ยนรู้จากรายวิชา การค้ นคว้ าเพื่อ
เรี ยนรู้ (Knowledge Inquiry) มาปฏิบติของกิจกรรมเพื่อสังคมและ
ั
สาธารณประโยชน์ ตามความมุ่งหวังของสาระ IS 3 (Global Education and
Social Service Activity)

Back
ระดับมัธยมศึกษา ให้จดเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม 2 รายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน
ั
ดังนี้
เพิ่มเติมที่1 ใช้ชื่อรายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
( Research and Knowledge Formation) (1- 1.5 หน่วยกิต) ในรายวิชานี้ ซ่ ึ งผูเ้ รี ยน
จะได้รับการพัฒนาให้เกิดความรู้และทักษะตาม IS 1 ผูเ้ รี ยนเลือกประเด็นที่สนใจ
ในการเรี ยนรู้ เพื่อกาหนดประเด็นปั ญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้
จากแหล่งข้อมูลต่างๆและฝึ กทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์
ความรู้
รายวิชาเพิ่มเติมนั้นให้จดภาคเรี ยนละ 1 รายวิชา ในชั้นปี ใดปี หนึ่ งของระดับชั้น
ั
มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Next
- รายวิชาเพิ่มเติมที่ 2 ใช้ ชื่อรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ
( Communication and Presentation) (1 – 1.5 หน่วยกิต)
เป็ นการเรี ยนรู้ที่ต่อเนื่องจากรายวิชาแรก โดยผู้เรี ยนนาสิ่งที่ได้ ศึกษาค้ นคว้ าจาก
รายวิชา การศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ มาเขียนรายงานหรื อเอกสาร
ทางวิ ช าการ และน าเสนอ เพื่ อ สื่ อ สารถ่ า ยทอดข้ อมู ล ความรู้ นั น ให้ ผู้ อื่ น
้
เข้ าใจ (ร่องรอยหลักฐานในการเรี ยนรู้ ได้ แก่ ผลงานการเขียนทางวิชาการ 1 ชิ ้น
และการสื่ อ สารน าเสนอสิ่งที่ ได้ จ ากการศึก ษาค้ น คว้ า ในระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้ น เป็ นภาษาไทย 2,500 คา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเป็ นภาษาไทย
4,000 คา หรื อภาษาอังกฤษ 2,000 คา)
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ให้ จดในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็ น
ั
การนาสิ่งที่เรี ยนรู้ จากรายวิชาเพิ่มเติมทั ้ง 2 รายวิชาข้ างต้ น ไปประยุกต์ใช้ ใน
การทาประโยชน์ต่อสังคม(สาระการเรี ยนรู้ IS 3 -Global Education
and Social Service Activity)

Next
ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน (กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์) นั้น
เป็ นสิ่ งที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ซึ่งโรงเรี ยนทุกแห่งซึ่งรวมทั้งโรงเรี ยนมาตรฐานสากล ต้องจัดเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน
่
อยูแล้ว ในส่วนของโรงเรี ยนมาตรฐานสากลที่ผเู้ รี ยนต้องดาเนินกิจกรรมตาม IS 3
นั้นควรดาเนินในส่ วนกิจกรรมช่วงระยะเวลาหรื อในระดับชั้นที่ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้
IS 1-IS 2 แล้ว เพราะเป็ นสิ่ งที่ตองดาเนินการต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน สาหรับการ
้
ั
ดาเนินกิจกรรมในระดับชั้นอื่นๆ ที่ยงไม่มีการเชื่อมโยงสัมพันธ์กบ IS1- IS2 นั้น
ั
โรงเรี ยนพิจารณาให้ผเู้ รี ยนดาเนินกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆได้ตาม
ความเหมาะสม
ตัวอย่างโครงสร้างหลักสูตรโรงเรี ยนมาตรฐานสากล

Next
Next
Back
อ้ างอิง
http://www.kp.ac.th/web/index.php?optio
n=com_content&view=article&id=91:is2&catid=8&Itemid=137

Next
สมาชิก
นายพณัฏฐ์ โชติกญชร
ุ
เลชที่ 2
นายเพชร
พรหมสี ทอง
เลชที่ 8
นางสาวธัญญารัตน์ แต้นุเคราะห์ เลชที่ 14
นางสาวธิติอร เบิกไพร
เลชที่ 21
นางสาวศิริมาศ ปั้ นหลวง
เลชที่ 27
นางสาวกาญจนาพร รุ ้งพรม เลชที่ 33
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 

What's hot (20)

แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงานการเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 

Similar to Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2

บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลwattanaka
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2   8ใบงานที่ 2   8
ใบงานที่ 2 8noputa3366
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนนnoputa3366
 
ใบงานที่ 2 8 gookie
ใบงานที่ 2   8 gookieใบงานที่ 2   8 gookie
ใบงานที่ 2 8 gookienoputa3366
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 

Similar to Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2 (20)

บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
งาน2 8
งาน2 8งาน2 8
งาน2 8
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2   8ใบงานที่ 2   8
ใบงานที่ 2 8
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนน
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ใบงานที่ 2 8 gookie
ใบงานที่ 2   8 gookieใบงานที่ 2   8 gookie
ใบงานที่ 2 8 gookie
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2

  • 2. แนวทางการจัดการเรี ยนรู้วิชาการศึกษาต้นคว้าด้วยตนเอง(IS1, IS2) โดย ครู กรอบวิทย์ หลังจากที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดให้มีหลักสูตรโรงเรี ยน มาตรฐานสากล ซึ่งในตอนแรกได้จดให้มีการจัดการเรี ยนการสอนในสาระต่างๆ ั ได้แก่ สาระทฤษฎีความรู้ (TOK) สาระโลกศึกษา (GE) สาระกิจกรรมสร้างสรรค์ ประโยชน์ (CAS) สาระการเขียนเรี ยงความขั้นสูง (EE) ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยน ในบางสาระ โดยเพิมเติมสาระ การศึกษาค้นคว้าอิสระ (Indepentdent Study : IS) ่ ขึ้นมา นับว่าเป็ นอีกหนึ่งเรื่ องใหม่สาหรับครู ผสอน ที่จะต้องจัดการเรี ยนการสอน ู้ ในปี การศึกษา 2555 นี้ มีเพื่อนครู จานวนมากสอบถามผมเข้ามามากเกี่ยวกับ การ จัดการเรี ยนการสอน การศึกษาค้นคว้าอิสระ (Indepentdent Study : IS) ผมจึงขอ นาข้อมูลมาเรี ยบเรี ยงเขียนไว้ในบล็อกนี้ เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อเพื่อนครู ผูที่สนใจ ้ ในการศึกษาและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ร่วมกันต่อไปครับ Next
  • 3. การให้ ผู้เ รี ย นได้ ศึ ก ษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง “Independent Study : IS” นับเป็ นวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งที่ใช้ กนอย่างกว้ างขวางใน ั การพัฒนาผู้เรี ยน เพราะเป็ นการเปิ ดโลกกว้ างให้ ผ้ ูเรี ยนได้ ศึกษาค้ นคว้ าอย่าง อิสระในเรื่ องหรื อประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มตั ้งแต่การกาหนดประเด็นปั ญหา ซึงอาจ ่ เป็ น Public Issue และGlobal Issue และดาเนินการค้ นคว้ าแสวงหา ความรู้ จากแหล่งข้ อมูลที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อนาไปสู่การสรุ ปองค์ความรู้ จากนันก็หาวิธีการที่ ้ เหมาะสมในการสื่อสารนาเสนอให้ ผ้ อื่นได้ รับทราบ และสามารถนาความรู้ ที่ได้ ู จากการศึกษาค้ นคว้ าไปทาประโยชน์แก่สาธารณะ ซึงสิงเหล่านี ้เป็ นกระบวนการ ่ ่ ที่ เ ชื่ อ มโยงต่ อ เนื่ อ งกั น ตลอดแนว ภายใต้ “การศึ ก ษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง (Independent Study : IS)” ซึ่งจัดแบ่งเป็ นสาระการเรี ยนรู้ 3 สาระ ประกอบด้ วย Next
  • 5. IS 1- การศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็ นสาระที่ม่งให้ ผ้ เรี ยนกาหนดประเด็นปั ญหา ุ ู ตั ้งสมมุติฐาน ค้ นคว้ า แสวงหาความรู้และฝึ กทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้ างองค์ความรู้ Back
  • 6. IS 2- การสื่อสารและการนาเสนอ(Communication and Presentation) เป็ นสาระที่ ม่งให้ ผ้ ูเรี ยนนาความรู้ ที่ได้ รับ มาพัฒนาวิธีการ ุ การถ่ ายทอด/สื่อ สารความหมาย/แนวคิด ข้ อมูลและองค์ ความรู้ ด้ วยวิธีการ นาเสนอที่เหมาะสม หลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ Back
  • 7. IS 3- การนาองค์ความรู้ ไปใช้ บริ การสังคม (Social Service Activity) เป็ นสาระที่มงให้ ผ้ เรี ยน นา/ประยุกต์องค์ความรู้ ไปสู่การปฏิบติ หรื อ ุ่ ู ั นาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริการสาธารณะ (Public Service) Back
  • 8. โรงเรี ยนต้ อ งน าสาระการเรี ยนรู้ การศึ กษาค้ น คว้ า ด้ ว ย ตนเอง (Independent Study : IS ) ไปสู่การเรี ยนการสอน ในลักษณะของหน่วย การเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม หรื อกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ตามแนวทางที่กาหนด โดย พิจารณาให้สอดคล้องกับบริ บทและพัฒนาการ วัยของผูเ้ รี ยน ซึ่ งอาจแตกต่างกัน ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย การพัฒนาผูเ้ รี ยนผ่า นการศึ กษาค้น คว้า ด้วยตนเอง (Independent Study) นั้น ครู ผสอนจะต้องพิจาณาให้เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ู้ กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ความยาก-ง่ า ยของชิ้ น งานหรื อ ภาระงานที่ ป ฏิ บ ัติ จ ะต้อ ง เหมาะสม เป้ าหมายคุณภาพผูเ้ รี ยนแต่ ละระดับที่ กาหนดนี้ เป็ นเป้ าหมายและ กรอบทิศทางที่ครู จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและการประเมินผล ดูการประเมิน Next
  • 10. Next
  • 11. Next
  • 12. Back
  • 13. การจัดหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับการศึกษาค้ นคว้ าตนเอง การนาสาระการเรี ยนรู้ การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง (Independent Study : IS ) ไปพิจารณาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรี ยน มาตรฐานสากล สามารถดาเนินการได้ ดงนี ้ ั ระดับประถมศึกษา ในระดับประถมศึกษาซึงเป็ นระดับชั ้นที่ผ้ เู รี ยนยังเล็ก และ ่ เหมาะกับการจัดการเรียนรู้ที่มีการเชื่อมโยงบูรณาการกลุมสาระการเรี ยนรู้ต่างๆ ่ ในลักษณะของหัวเรื่ องที่ผ้ เู รี ยนใจ (Theme) การพัฒนาผู้เรี ยนตามบันได 5 ขั ้นสูความเป็ นสากล สามารถจัดในลักษณะของหน่วยการเรียนรู้ หรือรายวิชา ่ เพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนตามความเหมาะสมของแต่ละช่วงวัย ดังนี ้ Next
  • 14. ระดับประถมศึกษาชั ้นปี ที่ 1-3 : จัดเป็ นหน่วยการเรี ยนรู้เฉพาะ และกิจกรรม พัฒนาผู้เรี ยน (กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์) ระดับประถมศึกษาชั ้นปี ที่ 4-6: จัดเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา (40 ชม./ ปี ) และกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน Next
  • 15. - หน่วยการเรี ยนรู ้เฉพาะ ให้จดในรายวิชาพื้นฐานอย่างน้อย 1 รายวิชา ในแต่ละปี การศึกษา ั โดยหน่วยการเรี ยนรู ้น้ นต้องออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้ครอบคลุมทั้ง IS 1 และ IS2 คือ ั การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู ้ (IS 1 : Research and Knowledge Formation) โดยครู อาจ กาหนดประเด็นที่สนใจเกี่ยวกับสิ่ งใกล้ตว เพื่อฝึ กให้ผเู ้ รี ยนได้รู้จกตั้งคาถาม ข้อสงสัย ตั้งสม ั ั มุตติฐานตามจินตนาการแล้วมีการค้นคว้า แสวงหาคาตอบจากแหล่งข้อมูลพื้นฐานง่ายๆ และ ให้ผเู ้ รี ยนได้สรุ ปความรู ้ที่ได้ จากนั้นให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกนาข้อมูลความรู ้ หรื อคาตอบที่ได้ มาสรุ ป เรี ยบเรี ยงถ่ายทอด/สื่ อสาร นาเสนอการด้วยวิธีการที่เหมาะสมหลากหลายรู ปแบบ (IS 2 : Communication and Presentation) (ผลผลิต/ร่ องรอยหลักฐานจากการเรี ยนรู ้ ได้แก่ ชิ้นงาน/ ภาระงาน ที่สะท้อนสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และมีการนาเสนอสื่ อสารที่เหมาะสมกับวัย เช่น การพูด ภาพวาด งานเขียนง่ายๆ งานที่ลงมือปฏิบติหรื อประดิษฐ์ง่ายๆ เป็ นต้น ) ั - กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้จดในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็ นการนาสิ่ งที่ ั เรี ยนรู ้จากหน่วยการเรี ยนรู ้ที่จดขึ้นข้างต้นไปประยุกต์ใช้ในการทาประโยชน์ต่อสังคม IS 3 ั ั (Global Education and Social Service Activity) ซึ่งในระดับชั้นเด็กเล็กอาจใช้กบบุคคลใกล้ตว ั หรื อในโรงเรี ยนตามความเหมาะสมกับระดับชั้น Back
  • 16. - รายวิชาเพิ่มเติม ใช้ ชื่อรายวิชา การค้ นคว้ าเพื่อเรี ยนรู้ (Knowledge Inquiry) โดย จัดให้ เรี ยนในชันปี ใด ปี หนึง กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ในรายวิชานี ้จะต้ องครอบคลุมทัง้ IS 1 ้ ่ (Research and Knowledge Formation) และ IS 2 (Communication and Presentation) ในลักษณะที่ยากและลึกซึ ้งขึ ้น ให้ เหมาะสมกับศักยภาพและวุฒิภาวะของผู้เรี ยน ตามเปาหมายคุณภาพผู้เรี ยนที่ ้ กาหนด (ผลผลิต/ร่องรอยหลักฐานจากการเรี ยนรู้ ได้ แก่ ชิ ้นงาน/ภาระงาน งานเขียนที่สะท้ อน สิ่งที่เรี ยนรู้ ศึกษาค้ นคว้ า และมีการนาเสนอสื่อสารในลักษณะต่างๆ เช่นงานเขียน รายงาน ชิ ้นงาน อาจมีการใช้ อปกรณ์เครื่ องมือที่เหมาะสมกับวัยในการสื่อสารถ่ายทอดสิ่งที่เรี ยนรู้แก่ ุ ผู้อื่น ) - กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ให้ นาความรู้ ที่เรี ยนรู้จากรายวิชา การค้ นคว้ าเพื่อ เรี ยนรู้ (Knowledge Inquiry) มาปฏิบติของกิจกรรมเพื่อสังคมและ ั สาธารณประโยชน์ ตามความมุ่งหวังของสาระ IS 3 (Global Education and Social Service Activity) Back
  • 17. ระดับมัธยมศึกษา ให้จดเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม 2 รายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ั ดังนี้ เพิ่มเติมที่1 ใช้ชื่อรายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ( Research and Knowledge Formation) (1- 1.5 หน่วยกิต) ในรายวิชานี้ ซ่ ึ งผูเ้ รี ยน จะได้รับการพัฒนาให้เกิดความรู้และทักษะตาม IS 1 ผูเ้ รี ยนเลือกประเด็นที่สนใจ ในการเรี ยนรู้ เพื่อกาหนดประเด็นปั ญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้ จากแหล่งข้อมูลต่างๆและฝึ กทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ ความรู้ รายวิชาเพิ่มเติมนั้นให้จดภาคเรี ยนละ 1 รายวิชา ในชั้นปี ใดปี หนึ่ งของระดับชั้น ั มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย Next
  • 18. - รายวิชาเพิ่มเติมที่ 2 ใช้ ชื่อรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ ( Communication and Presentation) (1 – 1.5 หน่วยกิต) เป็ นการเรี ยนรู้ที่ต่อเนื่องจากรายวิชาแรก โดยผู้เรี ยนนาสิ่งที่ได้ ศึกษาค้ นคว้ าจาก รายวิชา การศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ มาเขียนรายงานหรื อเอกสาร ทางวิ ช าการ และน าเสนอ เพื่ อ สื่ อ สารถ่ า ยทอดข้ อมู ล ความรู้ นั น ให้ ผู้ อื่ น ้ เข้ าใจ (ร่องรอยหลักฐานในการเรี ยนรู้ ได้ แก่ ผลงานการเขียนทางวิชาการ 1 ชิ ้น และการสื่ อ สารน าเสนอสิ่งที่ ได้ จ ากการศึก ษาค้ น คว้ า ในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้ น เป็ นภาษาไทย 2,500 คา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเป็ นภาษาไทย 4,000 คา หรื อภาษาอังกฤษ 2,000 คา) - กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน ให้ จดในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็ น ั การนาสิ่งที่เรี ยนรู้ จากรายวิชาเพิ่มเติมทั ้ง 2 รายวิชาข้ างต้ น ไปประยุกต์ใช้ ใน การทาประโยชน์ต่อสังคม(สาระการเรี ยนรู้ IS 3 -Global Education and Social Service Activity) Next
  • 19. ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน (กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์) นั้น เป็ นสิ่ งที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งโรงเรี ยนทุกแห่งซึ่งรวมทั้งโรงเรี ยนมาตรฐานสากล ต้องจัดเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน ่ อยูแล้ว ในส่วนของโรงเรี ยนมาตรฐานสากลที่ผเู้ รี ยนต้องดาเนินกิจกรรมตาม IS 3 นั้นควรดาเนินในส่ วนกิจกรรมช่วงระยะเวลาหรื อในระดับชั้นที่ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้ IS 1-IS 2 แล้ว เพราะเป็ นสิ่ งที่ตองดาเนินการต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน สาหรับการ ้ ั ดาเนินกิจกรรมในระดับชั้นอื่นๆ ที่ยงไม่มีการเชื่อมโยงสัมพันธ์กบ IS1- IS2 นั้น ั โรงเรี ยนพิจารณาให้ผเู้ รี ยนดาเนินกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆได้ตาม ความเหมาะสม ตัวอย่างโครงสร้างหลักสูตรโรงเรี ยนมาตรฐานสากล Next
  • 20. Next
  • 21. Back
  • 23. สมาชิก นายพณัฏฐ์ โชติกญชร ุ เลชที่ 2 นายเพชร พรหมสี ทอง เลชที่ 8 นางสาวธัญญารัตน์ แต้นุเคราะห์ เลชที่ 14 นางสาวธิติอร เบิกไพร เลชที่ 21 นางสาวศิริมาศ ปั้ นหลวง เลชที่ 27 นางสาวกาญจนาพร รุ ้งพรม เลชที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2