SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
บทที่ ๒
ภูมิปัญญาทางภาษาไทยในสานวนโวหาร
วันนี้เรามาเรี ยนบทที่ ๒ กันนะจ๊ะ
สวัสดีครับคุณครู ...ภาษาไทย
เรายังมีอะไรที่ น่ารู ้อีกมากเลย
ใช่ไหมครับ

๑. ความหมายของภูมิปัญญา
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ (๒๕๔๖: ๘๒๖) ให้ความหมายว่า
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู ้ความสามารถ
ยุพยงค์ โสรัสประสพสันติ (๒๕๔๘: ๒๓) ให้ความหมายว่า ภูมิปัญญา หมายถึ ง
ความรู้ ความคิด ความสามารถ และประสบการณ์ที่เกิดจากการเรี ยนรู ้สั่งสมไว้ ผสมผสานกับ
ความรู ้ ใหม่ ๆ เพื่อการแก้ปัญหาและสร้ างประโยชน์ใ นการดําเนิ นชี วิตให้ปรั บตัวเข้ากับ
สภาพแวดล้อมและสังคม
่
จากความหมายดังกล่าว สรุ ปได้วา ภูมิปัญญา คือ ความรู ้ความสามารถที่ได้รับจาก
การถ่ายทอดและการเรี ยนรู ้ แล้วนําความรู้ที่มีและได้สั่งสมไว้น้ นมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์
ั
ต่อการดําเนินชีวตทั้งของตนเองและสังคม
ิ
ระดับของภูมิปัญญา
ภูมิปัญญา แบ่งเป็ น ๓ ระดับ ได้แก่
่
๑) ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือ ความรู ้ ความคิด ความสามารถที่ได้สั่งสมอยูในตัวตน
เช่ น คุ ณยายเก็ บ มี ค วามรู ้ เรื่ องการบี บ นวดคลายเส้ น ส่ วนคุ ณตาบุ ญ มี ความรู ้ เรื่ องยา
สมุนไพร
่
๒) ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ ความรู ้ ความสามารถที่มีอยูในกลุ่มหรื อชุ มชนย่อย ๆ ใน
ท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น ความรู้เรื่ องผ้ามัดย้อมสี ธรรมชาติ บ้านคี รีวง จังหวัดนครศรี ธรรมราช
การทอผ้าพื้นเมืองบ้านมะม่วงปลายแขน จังหวัดนครศรี ธรรมราช การจักสานกระจูด
จังหวัดนครศรี ธรรมราช จักสานย่านลิเพา จังหวัดนครศรี ธรรมราช
๓) ภูมิปัญญาไทย คือความรู้ ความสามารถในระดับประเทศเป็ นเอกลักษณ์ที่แสดง
้
ถึงความเป็ นไทย เช่น ภาษาไทย รําไทย ต้มยํากุง ผ้าไหม มวยไทย
ใครรู้ จักภูมิปัญญากันบ้ างคะ

ที่บานจุกพ่อกับแม่ จักสานย่านลิเพาครับ
้
เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น
เขาทํากันมาแต่สมัยปู่ ย่า ตายายนะครับ

เก่ งมากคะ เข้ าใจถูกต้ องแล้ วจุก

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๔๑
๒. ความหมายของภูมปัญญาทางภาษาไทย
ิ
ภูมิปัญญาทางภาษาไทย หมายถึง พื้นความรู ้ความสามารถทางภาษาของคนไทยใน
การสร้ างสรรค์ภาษาไทยขึ้นมาใช้ติดต่อสื่ อสารกันภายในกลุ่ม ภาษาไทยจึงเป็ นเอกลักษณ์ ที่
แสดงถึ ง ความเป็ นไทย ซึ่ งเป็ นสิ่ ง ที่ ค นไทยทุ ก คนควรภาคภู มิ ใ จ จึ ง ควรร่ ว มกันอนุ รัก ษ์
ภาษาไทยและถ่ า ยทอดมรดกทางภาษานี้ ไปสู่ ค นรุ่ น หลัง ได้ร่ ว มภาคภู มิ ใ จ และได้ใ ช้
ประโยชน์จากภาษาไทยอย่างคุมค่าทั้งต่อตนเองและสังคม
้

ใครอยากรู้ อะไรเพิมเติมกันหรือเปล่ าคะ
่

ประเทศอื่น ๆ เขามีภูมิปัญญากัน
หรื อเปล่าครับครู

ยกตัวอย่ างภูมิปัญญาทางภาษา ในบางประเทศเขาก็ไม่ มีภาษา
เป็ นของตัวเอง บางประเทศต้ องใช้ ภาษาของประเทศอืนเขา
่
แต่ คนไทยโชคดีนะ ทีมีภาษาเป็ นของตนเอง
่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๔๒
๓. สานวน
๓.๑ ความหมายของสานวน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคําว่าสํานวน
ไว้ดงนี้
ั
สานวน ถ้อยคําที่เรี ยบเรี ยง, โวหาร, บางที ก็ใช้คาว่า สํานวนโวหาร : ถ้อยคํา
ํ
ที่ไม่ถูกไวยากรณ์แต่รับใช้เป็ นภาษาที่ถูกต้อง
โดยทัวไปเข้าใจกันในความหมายรวม ๆ ว่า “ข้อความที่มีความหมายไม่ตรง
่
ตามถ้อยคําที่ ปรากฏแต่แฝงความหมายอย่างอื่นไว้” คําว่า “สํานวนโวหาร” จึงมีความหมาย
ครอบคลุมถึงคําต่อไปนี้ดวย
้

สํานวน กับภาษิต
เหมือนกันไหมคะคุณครู

ไม่เหมือนกันหรอกนะค่ะ

อัมพร

เดี๋ยวครู จะอธิบายให้ฟังนะ

(๑) ภาษิต หมายถึง “คํากล่าว เป็ นคํากลาง ๆ ใช้ท้ งทางดีทางชัว แต่โดยความหมายแล้ว
ั
่

ประสงค์คากล่าวที่ถือว่าเป็ นคติ” ภาษิต แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ
ํ
(ก) สุ ภาษิต คือ คํากล่าวที่มุ่งสอนใจผูฟัง เช่น ซื่ อกินไม่หมดคดกินไม่นาน ตามใจ
้
ปากมากหนี้ ฯลฯ
(ข) คําพังเพย เป็ นคํากล่าวเชิงเปรี ยบเทียบไม่ได้มุ่งตักเตือนสั่งสอน เช่น ตกบันได
พลอยโจน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน อ้อยเข้าปากช้าง ฯลฯ
ั ่
(๒) สานวน หมายถึ ง ข้อความพิเศษที่ มิได้มี ความหมายตรงตัว แต่รู้กนทัวไป เช่ น
เจ้าชูไก่แจ้ ยกเครื่ อง ฯลฯ
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๔๓
ขออนุญาตครับคุณครู ผมสงสัยจังว่า
แล้วสํานวนมีที่มาไหมครับ
ผมก็สงสัยเหมือนเพื่อนละครับ
ผมด้วยครับ
ทีมาของสานวนก็ต้องมีสิคะ
่

๓.๒ ทีมาของสานวน
่
สํ า นวนเกิ ดจากการที่ ผู ้ ใ ช้ ภ าษาพู ด จะ เป็ นชั้ นเชิ งไม่
ตรงไปตรงมา แต่แฝงความหมายอย่างอื่นในที่ผฟังซึ่ งมีประสบการณ์ร่วมใน
ู้
เรื่ องเดี ยวกันก็จะเข้าใจความหมายได้และใช้ต่อไปจนแพร่ หลาย โดยเหตุที่
ั ้
สํานวนจะใช้ได้กบผูที่มีประสบการณ์ ร่วมกันเท่านั้นสํานวนไทยจึ งมี ที่มา
จากสิ่ งแวดล้อมและวิถีชีวตของคนไทยโดยทัวไป
ิ
่

ได้เลยค่ะ ครู อธิ บาย

ช่วยเล่าที่มาให้ผมฟังหน่อยครับ

ให้ฟังต่อนะ.. กล่าวคือ

(๑) สานวนทีมีทมาจากธรรมชาติ
่ ี่

ตื่นแต่ไก่โห่
ข้าวยากหมากแพง
นํ้าตาลใกล้มด
คลื่นกระทบฝั่ง
ปลาหมอตายเพราะปาก

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๔๔
(๒) สานวนทีมีทมาจากการกระทา
่ ี่
แกว่งเท้าหาเสี้ ยน
ขวานผ่าซาก
พายเรื อคนละที
งอมืองอเท้า
ปากว่ามือถึง

(๓) สานวนทีมีทมาจากสิ่ งแวดล้อม
่ ี่
ตีววกระทบคราด
ั
ติเรื อทั้งโกลน
ก้นหม้อไม่ทนดํา
ั
เกี่ยวแฝกมุงป่ า

(๔) สานวนทีมีทมาจากอุบัติเหตุ
่ ี่
ตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้
ตกกระไดพลอยโจน
นํ้าเชี่ยวอย่าขวางเรื อ
ก้มนักมักชน
(๕) สานวนทีมีทมาจากแบบแผนประเพณีและความเชื่อ
่ ี่
ผีซ้ าดํ้าพลอย
ํ
คู่สร้างคู่สม
ผีเข้าผีออก
พระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก

ที่มาของสํานวนมีมาก
จังเลยนะครับ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

(๖) ทีมีทมาจากลัทธิศาสนา
่ ี่
ชัวช่างชี ดีช่างสงฆ์
่
ทําคุณบูชาโทษ โปรดสัตว์ได้บาป
ปล่อยนกปล่อยปลา
พระอิฐพระปูน

หน้ า ๔๕
(๗) สานวนทีมีทมาจากความประพฤติ
่ ี่
ตํานํ้าพริ กละลายแม่น้ า
ํ
วัวเห็นแก่หญ้า ขี้ขาเห็นแก่กิน
้
ยกตนข่มท่าน
คบคนจรหมอนหมิ่น
(๘) สานวนทีมีทมาจากการเล่น หรือ กีฬา
่ ี่
เข้าตาจน
ไม่ดูตาม้าตาเรื อ
สู้จนยิบตา
(๙) สานวนทีมีทมาจากนิยายนิทาน หรือตานาน
่ ี่
กระต่ายตื่นตูม กิ้งก่าได้ทอง (มโหสถชาดก)
ดอกพิกุลร่ วง
(นางพิกุลทอง)
ชักแม่น้ าทั้งห้า
ํ
(เวสสันดร)
กินจนพุงแตก
(เวสสันดร)
(๑๐) สานวนทีมีทมาจากพงศาวดารหรือประวัติศาสตร์
่ ี่
เห็นกงจักรเป็ นดอกบัว
กรุ งศรี อยุธยาไม่สิ้นคนดี
ทํามิชอบเข้าลอบตนเอง (พงศาวดารเหนือ)

ผมขอสรุ ปให้นะครับ

ถูกต้องคะ เก่งจัง

ดัง จะเห็ น ได้ว่ า มู ล เหตุ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด
สํานวนนั้นมีหลายประการและสามารถจัด
ห ม ว ด ห มู่ พ อ สั ง เ ข ป เ พื่ อ ใ ห้ ง่ า ย ต่ อ
การศึกษาถึงที่มาของสํานวนได้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๔๖
๓.๓ ประเภทของสานวน
แบ่งออกเป็ นสองประเภท คือ
(๑) สํา นวนที่ ใ ช้ก ัน มานานมัก เป็ นวลี ห รื อ ประโยคที่ ส ละสลวยคมคายมี ล ัก ษณะ
สัมผัสคล้องจองกัน เช่น ข้าวยากหมากแพง พระศุกร์ เข้าพระเสาร์ แทรก เป็ นต้น
(๒) สํานวนสมัยใหม่ ถ้อยคําจะไม่ค่อยนุ่มนวลเหมือนประเภทแรก มักเป็ นคําสั้น ๆ
เช่น ชักดาบ ม้ามืด ตีนผี ตีนแมว เป็ นต้น
เอ.. แล้วสํานวน เกิดขึ้น
ได้อย่างไรละครับคุณครู

ถ้าอย่างนั้น ครู จะพาไปเด็ก ๆ ไปถามผูรู้นะจ๊ะ
้
ว่าสาเหตุที่ทาให้เกิดสํานวน เป็ นอย่างไรกันบ้าง
ํ
นี่ไง ผูรอบรู ้
้

สวัสดีครับคุณครู และ
เด็กที่น่ารักทุกคน
๓.๔ สาเหตุทเี่ กิดสานวน
(๑) ต้องการคําเพื่อสื่ อสารความรู ้สึกให้เพียงพอ เมื่อเกิดความต้องการคํามาใช้ จึง
ต้อ งคิ ด หาคํา ใหม่ อาจจะอ้า งอิ ง คํา เดิ ม แต่ เ ปลี่ ย นความหมายไปบ้า ง หรื อ คล้า ย
ความหมายเดิมก็มี
(๒) ต้องการหลีกเลี่ยงการใช้คาบางคํา คําที่อาจจะหยาบคายหรื อก่อให้เกิดความ
ํ
ไม่สบายใจ เช่ น คําว่าตาย อาจใช้สํานวนว่าไปค้าถ่าน หรื อไปสวรรค์ แทน หรื อคําว่า
ไปปั สสาวะ อาจใช้สานวน ว่าไปเก็บดอกไม้ ไปป่ า ยิงกระต่าย เป็ นต้น
ํ
(๓) เพื่อให้สุภาพเหมาะสมกับฐานะหรื อบุคคล
(๔) เป็ นการทําให้คาพูดมีรสชาติหรื อเกิดมโนภาพ
ํ
้
เช่น วิงจนลิ้นห้อย ผอมเป็ นกุงแห้ง
่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๔๗
การนําเอาใจความสั้น ๆ มาพูดทําให้
ได้ใจความและเกิ ดความหมายที่ สามารถทํา
ให้การพูด หรื อการเขียน (ถ้านําไปใช้ในงาน
เขียน) เป็ นที่น่าสนใจมากขึ้น

ผูรอบรู ้ มีตวอย่างเล่าให้เด็ก ๆ ฟังอีกสักนิดนะคะ
้
ั

ได้เลยคะ มีตวอย่างด้วยนะคะ
ั

เล่าเลยคะพวกเราอยากรู ้ค่ะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๔๘
ตัวอย่าง สานวนและความหมาย

สานวน
ก่อร่ างสร้างตัว
ไก่ได้พลอย
ก่อแล้วต้องสาน
กอดเข่าเจ่าจุก
แกว่งเท้าหาเสี้ ยน
ขว้างงูไม่พนคอ
้
เข้านอกออกใน
ข่าวโคมลอย
คดในข้องอในกระดูก
คมในฝัก
เงาตามตัว
จนแต้ม
จระเข้ฟาดหาง
แฉโพย
โตฟักโตแฟง
เถียงไม่ตกฟาก
นอนนก
เบาเต็ง
ปากแข็ง
พกหิน
มาก่อนไก่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

ความหมาย
ทําให้ตวเองเจริ ญขึ้นทีละน้อยจนมีฐานะมันคง
ั
่
คนที่ไม่รู้จกค่าของสิ่ งที่ตนมี
ั
เมื่อทําอะไรลงไปแล้วก็ตองทําต่อไปจนสําเร็ จ
้
นังเป็ นทุกข์
่
หาเรื่ องเดือดร้อนใส่ ตวเอง
ั
ปั ดเรื่ องร้ายไม่พนตัว
้
คุนเคย สนิทมาก
้
เรื่ องไม่จริ ง
มีสันดานคดโกง
มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดแต่ไม่แสดงออกให้ใครรู ้
ไปด้วยกันเสมอ
หมดปัญญา
ใช้อานาจหรื อกําลังระรานโดยไม่เลือกหน้า
ํ
ใช้อานาจหรื อกําลังระรานโดยไม่เลือกหน้า
ํ
โตแต่กาย แต่สติปัญญามีนอย
้
โต้เถียงไม่หยุดปาก
นังหลับ
่
สติไม่ดี บ้า ๆ บอ ๆ
พูดดึงดันไม่ยอมรับผิด
ใจหนักแน่นมันคง
่
มาแต่เช้ามืดตั้งแต่ไก่ยงไม่ขน
ั ั

หน้ า ๔๙
ไหน ๆ ก็เล่าเรื่ องสํานวนแล้ว
ขอเล่าต่อเรื่ องการแบ่งประเภทเลยนะคะ

๓.๕ การแบ่ งประเภทสานวน
สานวนอาจแบ่ งเป็ นประเภทตามลักษณะเนือหา ได้ ดังนี้
้
(๑) ภาษิตทีมีคติม่ ุงสั่ งสอนอบรม ภาษิตประเภทนี้ใช้คาสั้นฟังแล้วเข้าใจทันที เช่น
่
ํ
อย่าสนุกตามเพื่อน
ตื่นแต่ดึก สึ กแต่หนุ่ม
่
(๒) สานวนเปรียบเทียบภาษิต ประเภทนี้มีความหมายเปรี ยบเทียบ อยูในตัวแต่ไม่ตรง
ทีเดียวบางทีเป็ นแบบคําพังเพยก็มี เช่น
ใหญ่มะพร้าวเฒ่ามะละกอ หมายถึง อายุมากแต่ไม่มีลกษณะเป็ นผูใหญ่
ั
้
ยิงช้างอย่าหมายช้าง หมายถึง การทํางานใหญ่ๆ อย่าหวังจะได้ผลตามคิด
วัวใครเข้าคอกคนนั้น หมายถึง ใครทํากรรมดี, ชัว ก็จะได้รับตามที่ตนทํา
่
(๓) สานวนทีเ่ ป็ นอุปมาอุปไมย เป็ นสํานวนที่นาสิ่ งต่าง ๆ มาอ้างเปรี ยบเทียบ เช่น
ํ
ร้ายเหมือนฟ้ าเดือนหก หมายถึง ดุร้ายน่ากลัวมาก
จืดเหมือนหืดยักษ์ หมายถึง รสจืดชืด ไม่มีรสชาติ
่
่
ยุงเหมือนยุงเข้ารั้ว หมายถึง ยุงเหยิงสับสนสิ้ นดี
(๔) ประเภทคาอ้ างอิง เป็ นการนําเอาความจริ งมาเปรี ยบเทียบ เช่น
คนผิดเสี ยหน้า คนบ้าเสี ยจริ ต หมายถึง คนที่มีอะไรบกพร่ องย่อมมีพิรุธ
ยิงหยุดยิงไหล ยิงไปยิงแก่ หมายถึง ยิงทํายิงไกลความสําเร็ จยิงทิ้งไว้ก็ยงช้า
ิ่
่
่
่ ่
่ ่
่
เป็ นอย่างไรบ้างคะ มีใครสงสัยยกมือถามได้เลยคะ

พวกเราเข้าใจทุกคนเลยคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๐
ยังไม่จบนะคะ ขอเล่าถึงการแบ่งเนื้ อหาของสุ ภาษิต ของท่าน
อาจารย์เจือ สตะเวทิน เคยได้ยนชื่อกันไหมคะ
ิ

การเบ่งเนื้อหาของสุ ภาษิต ของอาจารย์เจือ สตะเวทิน
แบ่งไว้แบบไหนกันหรื อคะท่านผูรู้
้

ได้จดแบ่งเนื้อหาของสุ ภาษิต ภาษิตไว้ดงเช่น
ั
ั
(๑) ว่ าด้ วยหมวดครอบครัว เช่ น

พ่อแม่คือพระของลูก
อย่าเห็นขี้ดีกว่าไส้
ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น เป็ นลูกผูหญิงต้องมีความอาย
้
(๒) ว่ าด้ วยการศึกษาอบรม
เมื่อน้อยให้เรี ยนวิชา
ความรู ้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด
ไม้อ่อนดัดง่ายไม้แก่ดดยาก
ั
(๓) ว่ าด้ วยความรักและการครองเรือน
ั
คู่กนแล้วไม่แคล้วกัน
ผัวเป็ นช้างเท้าหน้า
เมียเป็ นช้างเท้าหลัง

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๑
เป็ นอย่างไรกันบ้างเด็ก ๆ เริ่ มจะเข้าใจสุ ภาษิตไทย
กันบ้างหรื อยังเอ่ย อย่าลืมเรี ยนต่อให้จบนะคะ

(๔) ว่ าด้ วยการทามาหากิน

จับปลาสองมือ
เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน
(๕) ว่ าด้ วยเศรษฐกิจและการครองชี พ
เสี ยน้อยเสี ยยาก เสี ยมากเสี ยง่าย
มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท
(๖) ว่ าด้ วยตน เช่ น
ลืมตัวเหมือนวัวลืมตีน
ขี้ขลาดตาขาว
(๗) ว่ าด้ วยสั งคม-การสมาคม
คนเดียวหัวหาย
สองคนเพื่อนตาย
คนรักเท่าผืนหนัง
คนชังเท่าผืนเสื่ อ
(๘) ว่ าด้ วยเรื่องวาจา
พูดดีเป็ นศรี แก่ตว
ั
พูดชัวอัปราชัย
่
พูดไปสองไพเบี้ย
นิ่งเสี ยตําลึงทอง

เด็ก ๆ เข้าใจกันหรื อเปล่าคะ สงสัย
ตรงไหน ถามได้นะคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๒
ยังไม่จบนะคะ เรามาเรี ยนกันต่อเลยดีกว่า
อย่ารอช้านะคะ เวลามีนอย วัยรุ่ นแถวนี้
้
ั
คงใจร้อนอยากรู ้กนแล้วสิ ...

๓.๖ หลักการใช้ สานวน
การใช้สํานวนช่ วยให้การสื่ อสารเป็ นไปด้วยดี แต่ถาใช้อย่างไม่เหมาะสมก็จะเกิ ด
้
ผลเสี ยคือ ทําให้สํานวนนั้น มีความหมายผิดเพี้ยนไปและการสื่ อสารก็อาจผิดพลาดได้
หลักการใช้สานวนมีดงนี้
ํ
ั
ใช้ ให้ ถูกต้ อง โดยการปฏิบัติดังนี้
(๑) ใช้ โดยรั กษารูปคาของสานวนเดิม เช่ น
“ถือศีลกินเพล” ไม่ ใช่ “ถือศีลกินเจ”
“ดูววให้ ดูหาง ดูนางให้ ดูแม่ ” ไม่ ใช่ “ดูช้างให้ ดูหาง ดูนางให้ ดูแม่ ”
ั
“ถอยหลังเข้ าคลอง” ไม่ ใช่ “ถอยหลังลงคลอง” ฯลฯ
(๒) ใช้ ให้ ตรงความหมายของสานวนนั้น เช่ น
“ฉันอยากจะเลือกเขาเป็ นหัวหน้าเหมือนกัน แต่ได้ยนมาว่าเขาเป็ นคนโกง
ิ
มิ ห นํา ซํ้ายัง เป็ นคนเจ้า ชู้อี ก ด้ว ย ฉั น จึ ง รู้ สึ ก เหมื อ นน้ า ท่ ว มปากอย่ า งนั้น แหละ”
“นาท่วมปาก” มีความหมายว่า “พูดไม่ออกเพราะเกรงจะมีภย” ซึ่ งเป็ นการใช้สํานวนที่
้
ั
ไม่ถูกต้อง ควรใช้ว่า “กินน้าเห็นปลิง ” ซึ่ งหมายความว่า “รู ้ สึกตะขิ ดตะขวงใจ, ไม่
สนิทใจ, นึกรังเกียจ” หรื อ “คุณอย่าถี่ลอดตาช้ างห่ างลอดตาเล็น ไปหน่อยเลย อยาก
ปรับปรุ งทุกอย่างให้ดี โครงการออกใหญ่โตแต่กลัวเสี ยเงินมาก จะทําสําเร็ จได้อย่างไร”
“ถี่ลอดตาช้ าง ห่ างลอดตาเล็น” ซึ่ งหมายความว่า “ประหยัดในสิ่ งที่ไม่ควรประหยัด ไม่
่
ประหยัดในสิ่ งที่ควรประหยัด” เป็ นการใช้สํานวนอย่างไม่ถูกต้อง ควรใช้วา “ฆ่ าควาย
เสี ยดายพริก” ซึ่งหมายความว่า “ทาการใหญ่แต่ กลับตระหนี่”

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๓
(๓) ไม่ ดัดแปลงสำนวนมำใช้ ตำมใจชอบ เช่ น

“ไก่ได้พลอย” ดัดแปลงเป็ น
“ไก่แจ้ได้พลอย”
“วัวเห็นแก่หญ้า ขี้ขาเห็นแก่กิน” ดัดแปลงเป็ น
้
“วัวเห็นแก่หญ้า ขี้ขาเห็นแก่เงิน” ดังนี้เป็ นการ ไม่สมควร
้
(๔) อย่ ำใช้ พร่ำเพรื่ อ หรื อ ยกสำนวนมำใช้ ติด ๆ กัน เช่ น
“ผมว่าอย่าเอาไม้ ซีกไปงัดไม้ ซุงจะดีกว่า ในสถานการณ์อย่างนี้
ไม่ ควรหักด้ ามพร้ าด้ วยเข่ า ทนให้ หนามยอกอกไปก่อน วันพระไม่ มีหนเดียว
เชื่อผมดีกว่า”

เรื่ องของสํานวน ๆ ก็จบลงเท่านี้
ขอให้เด็ก ๆ สอบได้คะแนนเต็มนะคะ

พวกเราทุกคน ขอบคุณท่านผูรู้
้
ั
มากเลยนะค่ะที่มาให้ความรู ้กบเรา
ครู ขอขอบคุณ
ผูรอบรู้ดวยนะคะ
้
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๔
๔. โวหาร

วันนี้ครู จะอธิ บายเรื่ องโวหาร
นะจ๊ะ มีใครตอบได้บางว่า
้
โวหารหมายถึงอะไร
โวหารหมายถึงอะไรครับครู

๔.๑ ความหมายของโวหาร
โวหาร หมายถึ ง กระบวนความในการพูดหรื อการเขียนที่ใช้ช้ นเชิ งหรื อกลวิธี
ั
ในการเรี ยบเรี ยงถ้อยคํา หรื อข้อความ ทําให้ขอความนั้นกะทัดรัด เข้าใจง่าย
้
๔.๒ ประเภทของโวหาร
โวหารในการเขี ย นความเรี ย งร้ อยแก้วประเภทต่ า ง ๆ ในปั จจุ บ ัน นิ ย มแบ่ ง
ออกเป็ น ๔ ประเภท ดังนี้
๑) โวหารบรรยาย (Narration)โวหารประเภทนี้ หมายถึง การชี้ แจง การอธิ บาย
การเล่าเหตุการณ์ ทั้งที่เป็ นเรื่ องจริ งและจินตนาการโดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อให้ผฟังหรื อ
ู้
ผูอ่านได้รู้จกเรื่ องเหล่านั้นอย่างชัดเจน
้
ั
ลัก ษณะที่ สํ า คัญ ของโวหารประเภทนี้ คื อ ผูเ้ ขี ย นจะใช้ค วามจริ ง เป็ นหลัก
กล่าวถึงสิ่ งที่ตองการจะกล่าวนั้นอย่างตรงไปตรงมาโดยที่ผเู ้ ขียนจะไม่แทรกอารมณ์ หรื อ
้
ความรู ้สึกส่ วนตัวลงไปในการกล่าวนั้น

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๕
๒) โวหารพรรณนา (Descriptive) โวหารประเภทนี้ เป็ นโวหารที่สร้างสรรค์
ข้อความถ่ ายทอดสิ่ งที่ ได้เห็ นได้สัมผัส รวมทั้งอารมณ์ ความรู ้ สึกของผูพูดผูเ้ ขี ยน หรื อ
้
ถ่ายทอดความประทับใจในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งไปสู่ ผอ่านผูฟัง โดยการให้รายละเอียดที่มุ่ง
ู้
้
ให้ผูฟั ง ผูอ่า นเกิ ดรสเกิ ด อารมณ์ ข้ ึ น โวหารประเภทนี้ ซ่ ึ งประกอบไปด้วยรายละเอี ย ด
้ ้
ที่ถูกต้องชัดเจนทําให้ผอ่าน เกิดมโนภาพและอารมณ์คล้อยตามเรา อาจพบโวหารประเภท
ู้
นี้ได้จากการพรรณนารู ปร่ างหน้าตา ของตัวละครในเรื่ องสั้น หรื อนวนิยาย การพรรณนา
สถานที่ การพรรณนาอารมณ์ ฯลฯ
๓) โวหารอธิบาย (Explain oration) โวหารประเภทนี้ เป็ นโวหารสําหรั บ
การชี้ แจงขั้นต้นหรื อรายละเอียด ในการดําเนิ นงานหรื อกิ จกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผฟังเข้าใจ
ู้
แจ่มแจ้ง สามารถปฏิบติ ตามคําอธิ บายนั้นได้
ั
๔) โวหารวิจารณ์ (Criticism) โวหารประเภทนี้ หมายถึง การแสดงความคิดเห็น
ที่ มี ต่ อ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง อย่า งมี หลัก เกณฑ์ท างวิ ช าการที่ เ กี่ ย วข้อ งเป็ นองค์ป ระกอบสํ า คัญ
สําหรับการแสดงความคิดเห็น

การเขียนโดยโวหารบรรยาย มีหลักการดังนี้
(๑) กําหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตของเรื่ องที่จะเขียนให้ชดเจน
ั
(๒) เลื อ กสรรข้อ มู ล มาประกอบการเขี ย นโดยให้ ข ้อ มู ล นั้ น
น่าเชื่อถือ มีหลักฐานเพียงพอให้ตรวจสอบได้ทนสมัย และน่าสนใจ
ั
(๓) ลําดับเรื่ องราวให้เป็ นลําดับ เข้าใจง่ าย ไม่สับสนวกวนมี
การแบ่งตอนแบ่งหัวข้อที่ชดเจน
ั
(๔) ใช้ถอยคําภาษาที่เข้าใจได้ง่ายเหมาะแก่วยและระดับความรู ้
้
ั
ของผูอ่าน
้
(๕) มีวธีบรรยายที่ชวนให้สนใจติดตาม
ิ

คุณครู ช่วยยกตัวอย่างโวหารบรรยายให้ ฟังสิ ครับ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๖
ตัวอย่างโวหารบรรยาย

คืนวันนั้นฝนตกหนักพายุพดอย่างแรงกระหนํ่าเม็ดฝน ให้สาดลงสู่ พ้ืนดินและท้อง
ั
นํ้าประดุจเม็ดฝนนั้นเป็ นของแข็ง เรื อเมล์โดยสารลําหนึ่ งแล่นออกจากบ้านแพน มุ่งหน้าสู่
พระนครบรรทุกคนโดยสารเต็มเพียบ แล่นฝ่ ากระแสนํ้าท่ามกลางเสี ยงฝน และพายุที่เพิ่ม
กําลังรุ นแรงขึ้นทุกที ขณะนั้นเป็ นเวลาคํ่ามืดสนิท คนโดยสารบางคน งอตัวเอนลงหลับใน
เนื้ อที่เท่าที่พอจะหาได้ บางคนก็นงกอดเข่าเหม่อมองไปข้างหน้า ซึ่ งมีแต่ความมืดเสี ยงฝน
ั่
ั
เสี ยงลมกระทบผ้าใบที่ก้ นข้างเรื อเกือบจะดัง กลบเครื่ องยนต์น้ นเสี ยสิ้ น แต่เรื อยนต์ลานั้นก็
ั
ํ
ยังแล่ น ก้าวหน้าคื บคลาน ออกไปด้วยความพยายามเหมื อนกับ ว่าเป็ นสัตว์มีชี วิต ที่ ถู ก
บรรทุกด้วยสัมภาระ อันหนักและถูกต้อนตีให้เดินตามทางที่ลาบากกันดาร เสี ยงพูด เสี ยง
ํ
คุยในหมู่ผูโดยสาร ซึ่ งดังอยู่เมื่อเรื อเริ่ มออกจากนั้นค่อย ๆ เงียบลงไป คงเหลื อแต่เสี ยงลม
้
่
เสี ยงฝน และ ความกระเทือนแห่ งเครื่ องยนต์ที่แสดงให้รู้ได้วาเรื อลํานั้นยังเดินอยู่ นานๆ ก็
มี เสี ยงคนหาวดัง ๆ หรื อถอนหายใจ เสี ยงคนเปลี่ยนท่านัง หรื อหยิบข้าวของที่ติดตัว มาดัง
่
สลับขึ้น เป็ นครั้งคราว เรื อลํานั้นแล่นผ่านบ้านเรื อนที่คบคังในบริ เวณอําเภอ แสงไฟฟ้ าฉาย
ั ่
ออกมาจากโรงสี ขางลํานํ้ากระทบเม็ดฝนที่สาดลงมามิรู้สิ้นสุ ด แลดูเหมือนม่านที่ทาด้วยนํ้า
้
ํ
่
มากั้นไว้ พอเรื อเริ่ มผ่านบ้านเรื อนที่มีประปรายอยูนอกอําเภอออกสู่ ทองทุ่งสายลมและสาย
้
ฝน ก็กระหนํ่าลงมาแรงขึ้ นกว่าเก่า คนโดยสารจํานวนมากที่นั่งหรื อนอนอยู่ในเรื อพากัน
ขยับตัวเหลียวซ้ายแลขวามองดูหน้ากันอย่างไม่สบายใจ พอเรื อแล่นต่อมาอีกจะเข้าหัวเลี้ยว
ที่เรี ยกว่าคุ มสําเภา กําลังแรงของพายุก็เข้ามาปะทะเข้ากลางลํา เสี ยงใครหวีดร้ องเสี ยงคน
้
ํ
่
ตะโกน เสี ยงเด็กร้ องจ้าขึ้นด้วยความตกใจที่กาลังหลับอยูก็ทะลึ่งตัวขึ้นสุ ดแรงทุกคนถลัน
ตัว พุ่ ง เข้า ใส่ ก ราบที่ มิ ไ ด้เ อี ย ง ทัน ใดนั้น เรื อ ก็ โ คลงกลับ มาอี ก ทางหนึ่ ง ด้วยกํา ลัง ถ่ ว ง
สุ ดเหวี่ยงท่ามกลางเสี ยงร้ องที่ ฟังไม่ได้ศพท์ และเสี ยงรั วกระดิ่ งของนายท้าย ซึ่ งดึ งสาย
ั
กระดิ่งด้วยความตกใจ ปราศจากสัญญาณใด ๆ และเรื อนั้นก็ควํ่าลงทันที เครื่ องยนต์ในเรื อ
คงเดินต่อไป อีกครู่ หนึ่งสั่นสะท้านอย่างแรงแล้วก็หยุดเงียบเหมือนกับหัวใจสัตว์ที่เต้นต่อสู ้
อย่างแรงเป็ นครั้งสุ ดท้ายแล้วก็ตองหยุดลงเมื่อความตาย มาถึงตัว
้
ผูแต่ง : คึกฤทธิ์ ปราโมช
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๗
ตัวอย่างโวหารพรรณนา

คืนวันหนึ่งพระเสมชําระกายสะอาดแล้ว เตรี ยมตัวจะเข้านอนก่อนจะนอนพระเสมก็
จุดธู ปเทียนลงกราบพระพุทธรู ปจะสวดมนต์ตามปรกติ แสงเทียนจับพระพักตร์ พระพุทธรู ป
องค์น้อยนั้นกระจ่างจับตา พระเสมเงยหน้าขึ้นมองดูโดยมิได้ต้ งใจ เมื่อแลเห็ นความงามของ
ั
พระพุทธรู ปจับด้วยแสงเทียน พระเสมก็นึกถึงพระพุทธคุณ ยิ่งนึ กไปก็ยิ่งปิ ติอิ่มเอิบใจ พระเสม
่
ภาวนาอยูในใจว่า “พุทธํสรณํคจฉามิ” และภาวนาซํ้าอยูเ่ ช่ นนั้น มิได้มีความปรารถนาต้องการ
สิ่ งใดโดยเฉพาะ จับเอาพระพุทธคุณ นั้นมาเป็ นจุดศูนย์กลางแห่ งความนึ กคิดกิเลสตัณหาต่าง ๆ
หลุ ด ลอยไปไกลพระเสมรู ้ ต ัว บริ บู ร ณ์ ว่ า นั่ง อยู่ ห น้ า พระในกุ ฎิ มิ ไ ด้เ ลื่ อ นลอยไปไหน มี
ความรู ้ สึกเป็ นเอกัตตา หรื อสมาธิ ในกุฎิ ที่พระเสมนังอยู่น้ นรู ้ สึกว่ามีแสงสว่างไปทัว แต่แสง
ั
่
่
นั้นเป็ นแสงที่เยือกเย็น ปราศจากความร้ อน มิใช่ แสงที่เกิ ดจากดวงอาทิ ตย์หรื อแสงไฟ และก็
เป็ นแสงที่เกิดขึ้นเองมิใช่แสงสะท้อน อย่างแสงจันทร์ พระเสมรู ้สึกว่ามีความสุ ขเป็ นอย่างยอด
เยี่ยม และเป็ นความสุ ขทั้งรู ้ ความสุ ขอันเกิ ดจากการระงับ แต่มิใช่ การระงับเยี่ยงสลบลื มตัว
ความสุ ขเช่นนั้นจะเกิดได้จากทางเดียว คือจากสมาธิ ที่หมดกิเลส
ผูแต่ง : คึกฤทธิ์ ปราโมช
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๘
ตัวอย่างโวหารอธิบาย

ลูกมะกอนนั้นมีลกษณะเป็ นลูกสี่ เหลี่ยมคล้าย ๆ กับหมอนหรื ออาจมีลกษณะเป็ นลูก
ั
ั
กลม ๆ คล้า ยกับลู ก ฟุ ตบอลก็ได้ แต่ส่วนมากแล้วนิ ย มลู กมะกอนชนิ ดที่ มีล ักษณะเป็ นลู ก
สี่ เหลี่ยมซึ่ งคล้ายคลึงกับหมอนมากกว่า ภายในของลูกมะกอน หรื อภายในผ้าที่ใช้เย็บลูกมะ
กอนนั้นบรรจุเมล็ดมะขามดิบ ๆ ดุจเดี ยวกับที่เราบรรจุนุ่นใส่ หมอนนันแหละ บางทีเขาอาจ
่
ั
ใส่ ลูกกระพรวนเข้าไปปะปนอยู่กบเมล็ดมะขามภายในลูกมะกอน เพื่อที่จะให้เกิ ดเสี ยงกรุ๋
งกริ๋ ง ขึ้ น ในเวลาที่ โ ยนลู ก มะกอนนั้น แต่ สิ่ ง ที่ สํ า คัญ ที่ สุ ด ก็ คื อ ต้อ งให้ ลู ก มะกอน นั้ น
ั
พอเหมาะพอดีกบมือของผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายด้วยวิธีการเล่นมะกอนนั้นมีลีลา การเล่นคล้ายคลึง
่
กับการเล่นโยนห่ วงยางของเราดี ๆ นี่ เองต่างกันก็ตรงที่วาเขาใช้ลูกมะกอนโยนแทนห่ วงยาง
เท่านั้น กล่าวคือผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายจะต้องยืนอยู่ห่างกันพอสมควรโดย ที่สามารถโยนลูกมะ
ั
ั
กอนให้กนถึ งเริ่ มต้นด้วยการที่ ฝ่ายหญิงเป็ นผูที่โยนลูกมะกอนให้กบฝ่ ายชายก่อน ข้างฝ่ าย
้
ชายนั้นเล่าจะต้องพยายามรับลูกมะกอนที่ฝ่ายหญิงโยนมาให้ได้ก่อนที่ลูกมะกอนนั้นจะหล่น
ลงสู่ พ้ืนดิ นเมื่อรับลูกมะกอนจากหญิงโยนมาให้ได้แล้ว ฝ่ ายชายก็จะโยนลูกมะกอนที่รับไว้
ได้น้ นคืนกลับไปยังฝ่ ายหญิงอีกดุจเดิม และเมื่อฝ่ ายหญิงได้รับลูกมะกอนคืนมาจากฝ่ ายชาย
ั
แล้ว ก็จะโยนลูกมะกอนนี้ ไปให้ฝ่ายชายอีก ผลัดกันโยนไปโยนมาเช่ นนี้ อยู่เรื่ อย ๆ ถ้าฝ่ าย
หนึ่งฝ่ ายใดไม่สามารถที่จะรับลูกมะกอนนั้นไว้ได้ก็ดี หรื อว่ารับได้แล้วแต่ทว่าลูกมะกอนนั้น
พลัดหล่นลงสู่ พ้ืนดิน ก็ดีถือว่าฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายแพ้ ซึ่ งจะต้องถูกฝ่ ายตรงกันข้าม คือฝ่ ายโยนลูก
มะกอนให้น้ ันปรั บเอาสิ่ งของที่ มีอยู่ในตัวของผูแพ้ในขณะนั้นไว้เป็ นของประกันหนึ่ งสิ่ ง
้
ภายหลังจากการเล่นแล้วผูแพ้จะต้องนําสิ่ งของมาขอไถ่คืนหนึ่งสิ่ งดุจกัน แล้วการเล่นมะกอน
้
ก็ดาเนินต่อไปอีกจนกว่าฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดจะถูกปรับจนกระทัง ไม่มีสิ่งของที่จะให้ฝ่ายตรงข้าม
ํ
่
ปรับอีกต่อไปแล้วนันแหละเกมส์การเล่นจึงจะยุติลง การโยนหรื อการรับลูกมะกอนนั้น จะใช้
่
มือขวาหรื อมือซ้ายก็ได้ไม่สําคัญ แต่ที่สําคัญก็คือจะใช้ท้ งสองมือมิได้ จะใช้ได้ก็แต่เพียงมือ
ั
เดียวเท่านั้นเอง
ผูแต่ง : ราเพย
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๕๙
ตัวย่ างโวหารวิจารณ์

“...ชายคาพระอุโบสถที่ยื่นออกมานั้นมีทวยไม้จาหลักลวดลายคํ้ายันอยู่ ทวยเหล่านี้
ํ
มีสัดส่ วน เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยทางโครงสร้างเป็ นอย่างยิ่ง หลังคามุขหน้า และมุข
หลังของพระอุโบสถตั้งอยู่บนเสาสี่ เหลี่ ยมสี่ ตนด้วยกันเหนื อ และส่ วนคานของเสาด้านใน
้
สองต้นขึ้นไปนั้นเป็ นหน้าบัน ซึ่ งตกแต่งอย่างมันคงอลังการด้วยลาย จําหลักไม้อนมีลกษณะ
ั ั
่
แข็งแรงฝี มือกล้า ลายจําหลักนูนนั้น จําหลักให้สูงขึ้นมาเพื่อเน้น ให้เห็นถึงความเด่นชัด ที่จะ
ให้เกิ ดความสมดุลกับเงาของหลังคามุขซึ่ งทอดลงมา บนลวดลาย..ตามปรกติ หน้าบันของ
วัดอื่นนั้นมี ขนาดใหญ่กว่าของที่ วดนี้ แต่สําหรั บหน้าบันของวัดนี้ สถาปนิ กมี วิจารณญาณ
ั
อย่า งลึ ก ซึ้ ง เข้า ใจเป็ นอย่า งดี ว่า ถ้า สร้ า งหน้า บันให้ ใ หญ่ ก็ จ ะทํา ให้เ สี ย ความประสาน
กลมกลืนของตัวอาคารทั้งหมด...”
ผูแต่ง : ศิลป์ พีระศรี
้

อย่าลืมทํากิจกรรม และแบบฝึ กหัดด้วยนะ
ต้องทําให้เสร็ จก่อน อย่าเปิ ดเฉลยดูนะ เรา
จบบทที่ ๒ แล้ว

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

ั
ต้องมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์กบตัวเอง นะคะ

หน้ า ๖๐
เรามาทํากิจกรรมเสนอแนะ
ท้ายบทที่ ๒ กันนะคะ

กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๒
๑. ให้รวบรวมสํานวนเกิดใหม่ เช่น
ถนนบันเทิง

=

วิถีชีวตของผูมีอาชีพนักแสดง
ิ
้

ป่ าคอนกรี ต

=

บ้านเมืองที่เต็มไปด้วยอาคารคอนกรี ต

ไข้โป้ ง

=

ถูกลอบสังหารด้วยปื น

พร้อมทั้งยกตัวอย่างประโยคที่ใช้สานวนเกิดใหม่เหล่านั้น
ํ
๒. รวบรวมสํานวนที่มีลกษณะเป็ นคําพังเพย แต่ไม่มีในพจนานุกรม
ั
เช่น พายเรื อให้โจรนัง คนตายขายคนเป็ น ฯลฯ
่
พร้อมด้วยตัวอย่างประโยคที่ใช้สานวนที่เกิดใหม่น้ ี
ํ
๓. รวบรวมสํานวนที่มีผใช้ผิดเพี้ยนไปจากเดิม
ู้
เช่น ถอยหลังลงคลอง (ถอยหลังเข้าคลอง) ถือศีลกินเจ (ถือศีลกิจเพล) ฯลฯ
พร้อมด้วยตัวอย่างประโยคที่ใช้สานวนที่เกิดใหม่น้ ี
ํ
(การรวบรวมให้ใช้วธีต่างคนต่างรวบรวมแล้วจึงหาเวลามารวมกันเข้าเป็ นชุดเดียวกัน
ิ
เพื่อเก็บไว้เป็ นความรู ้ต่อไป)

และอย่าลืมทําแบบฝึ กหัด
ท้ายบทด้วยนะค่ะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๖๑
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๒
จงตอบคาถามต่ อไปนี้
๑. จงอธิ บายความแตกต่างระหว่างคําพังเพยกับสุ ภาษิต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

่ ั
๒. มีสานวนใดบ้าง ที่แสดงให้เห็นว่าคนไทยมีชีวตผูกพันอยูกบนํ้า จงยกตัวอย่างมาให้มากที่สุด
ํ
ิ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๓. สํานวนมีประโยชน์ในการพูดและเขียนอย่างไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๔. หลักการใช้สานวนมีอะไรบ้าง
ํ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๕. จงบอกความหมายของสํานวนต่อไปนี้
(๑) จับปลาสองมือ
หมายถึง............................................................
(๒) เหยียบเรื อสองแคม หมายถึง............................................................
(๓) กินปูนร้อนท้อง
หมายถึง............................................................
(๔) วัวสันหลังหวะ
หมายถึง............................................................
(๕) กิ้งก่าได้ทอง
หมายถึง............................................................
(๖) วัวลืมตีน
หมายถึง............................................................

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๖๒
แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๒
คาชี้แจง
๑. ข้อสอบชุดนี้มี จํานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน
๒. ให้เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคําตอบ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดเป็ นหลักสําคัญที่สุด ของการใช้สานวนไทยเพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ผล
ํ
ก. ใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและสถานการณ์
ข. ใช้ให้ถูกต้องตรงกับความหมาย
ค. เพื่อช่วยให้ผรับสารเห็นภาพพจน์ได้ชดเจนมากขึ้น
ู้
ั
ง. ใช้เพื่อสนับสนุนแนวคิดให้มีน้ าหนักน่าเชื่ อถือ
ํ
๒. ข้อใดไม่ใช่ลกษณะของสุ ภาษิต
ั
ก. เป็ นประโยชน์แก่คนทัวไป
่
ข. ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องเข้าใจยาก
ค. คําพูดที่ถือเป็ นคติ
ง. ช่วยจรรโลงใจให้คิด พูด ทํา สิ่ งที่ดีงาม
๓. โวหาร คือ อะไร
ก. วัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียน
ข. ความรู้สึกของผูเ้ ขียน
ค. ท่วงทํานองในการเขียน
ง. ลีลาในการเขียน
๔. การพรรณนา แตกต่างจากการบรรยายในข้อใด
ก. การพรรณนาต้องใช้ภาษาคมคายกะทัดรัด
ข. การพรรณนาต้องใช้ความคิดของตนเองเรี ยบเรี ยงขึ้น
ค. การพรรณนาไม่มีการดําเนิ นเรื่ อง
ง. การพรรณนาต้องให้ผรับสารเกิดอารมณ์ร่วม
ู้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๖๓
๕. โวหารในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
่
ก. เสี ยงชะนีเหนี่ยวไม้อยูโหย ๆ ละห้อยวังเวงวิเวกดง
ข. พี่จรจากโฉมสุ รางค์ตองห่างเชย โอ้อกเอ๋ ยอกแทบพังเหมือนฝั่งชล
้
ค. ธรรมชาติรอบข้างต่างสลดหมดความคะนองทุกสิ่ งทุกอย่าง
ง. วันนี้แพรสี แสดของแดดกล้า ห่มทุ่งหญ้าป่ าเขาอย่างเหงาหงอย
๖. ข้อใดไม่ใช่สานวน
ํ
ก. ผีถึงป่ าช้า
ข. ผีถวยแก้ว
้
ค. ผีเข้าผีออก
ง. ผีตากผ้าอ้อม
๗. กลอนต่อไปนี้ สุ นทรภู่ตองการบอกสํานวนไทยว่าอย่างไร
้
“ถึงแสนคนมาวอนฉะอ้อนนํา สักแสนคําอย่าให้เคลื่อนจงเหมือนใจ”
ก. ปากว่าตาขยิบ
ข. ฟังหูไว้หู
ค. พกหิ นดีกว่าพกนุ่น
ง. ไม้หลักปักเลน
่
๘. สํานวนไทยที่วา “ปัดสวะให้พนหน้าบ้าน” มีความหมายตรงกับข้อใด
้
ก. การเกี่ยงงอนหรื อยกภาระของตนให้ผอื่นรับแทน
ู้
ข. การรักษาผลประโยชน์ของตนโดยไม่ใส่ ใจว่าผูอื่นจะเดือดร้อนเพราะการกระทํานั้น
้
ค. การไม่รับผิดชอบงานที่ตนได้รับมอบหมาย
ง. การมีนิสัยมักง่าย ปั ดภาระให้พนตัว
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๖๔
่
๙. “ภายนอกแสร้งทําใจดี แต่คิดร้ายอยูภายใน” กล่าวเป็ นสํานวนว่ากระไร
ก. เสื อเฒ่าจําศีล
ข. นํ้านิ่งไหลลึก
ค. ปากหวานก้นเปรี้ ยว
ง. ปากว่าตาขยิบ
๑๐. เกือบทุกข้อล้วนปลูกฝังคุณธรรมทํานองเดียวกัน ยกเว้นข้อใด
ก. ตัดไฟแต่ตนลม
้
ข. มือใครยาว สาวได้สาวเอา
ค. กันไว้ดีกว่าแก้
ง. นํ้าขึ้นให้รีบตัก

เวลาทําอย่าแอบดูเฉลยเราต้องมีความซื่ อสัตย์
ต่อตนเองนะขอให้โชคดีทุกคนคะ

พวกเราจะซื่อสั ตย์ ไม่ แอบดูคาเฉลย
เย้.. ทาเสร็จแล้ว
เราไปตรวจจากเฉลยกันดีกว่านะค่ะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๖๕
เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๒

สําหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๒
คาตอบ (ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน)

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๖๖
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๒
๑. จงอธิ บายความแตกต่างระหว่างคําพังเพยกับสุ ภาษิต
ตอบ คําพังเพย เป็ นคํากล่าวเปรี ยบเทียบไม่มุ่งสั่งสอน ส่ วนคําสุ ภาษิต เป็ นคํากล่าวที่มุ่งสั่ง
สอนเป็ นสําคัญ
่ ั
๒. มีสานวนใดบ้าง ที่แสดงให้เห็นว่าคนไทยมีชีวตผูกพันอยูกบนํ้า จงยกตัวอย่างมาให้มากที่สุด
ํ
ิ
ตอบ นํ้าขึ้นให้รีบตัก / ตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ / นํ้าเชี่ยวอย่าขวางเรื อ / นํ้ามาปลากินมด
นํ้าลดมดกินปลา / ตํานํ้าพริ กละลายแม่น้ า / ชักแม่น้ าทั้งห้า
ํ
ํ
๓. สํานวนมีประโยชน์ในการพูดและเขียนอย่างไรบ้าง
ตอบ ทําให้เกิดความหมายลึกซึ้ ง เป็ นอรรถรสทางภาษา ทําให้ภาษาเกิดความไพเราะในเชิง
เปรี ยบเทียบ
๔. หลักการใช้สานวนมีอะไรบ้าง
ํ
ตอบ ใช้ให้ถูกต้อง รักษาสํานวนเดิม ใช้ให้ตรงความหมาย ไม่ควรดัดแปลงสํานวน และอย่า
ใช้มากจนพรํ่าเพรื่ อ
๕. จงบอกความหมายของสํานวนต่อไปนี้
ตอบ
(๑) จับปลาสองมือ หมายถึง มุ่งประโยชน์ท้ ง ๒ ด้านอาจพลาดทั้ง ๒ อย่าง
ั
(๒) เหยียบเรื อสองแคม หมายถึง มุ่งหวังประโยชน์สองข้าง หรื อทั้งสองฝ่ ายอาจ
พลาดพลั้งได้
่
(๓) กินปูนร้อนท้อง หมายถึงมีความผิดอยูจึงเดือดร้อนใจ
(๔) วัวสันหลังหวะ หมายถึงมีความผิดอยู่
(๕) กิ้งก่าได้ทอง หมายถึงหลงตัวเอง
(๖) วัวลืมตีน
หมายถึงลืมตัว
ตรวจแบบฝึ กหัดจากเฉลยเสร็ จแล้ว
ถูกกันหมดทุกข้อหรื อเปล่าเอ่ย

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๖๗
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๒
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ข้ อ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

๑.

ง.

๖.

ง.

๑.

ง.

๖.

ง.

๒.

ง.

๗.

ก.

๒.

ง.

๗.

ก.

๓.

ข.

๘.

ค.

๓.

ข.

๘.

ค.

๔.

ข.

๙.

ก.

๔.

ข.

๙.

ก.

๕.

ง.

๑๐.

ง.

๕.

ง.

๑๐.

ง.

ภูมิปัญญา คื อ ความรู ้ ความสามารถที่ ได้รับการถ่ ายทอดและการ
เรี ยนรู ้ สั่งสมไว้มาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อการดําเนิ นชี วิตทั้งของ
ตนเองและสังคม

เกณฑ์ การตัดสิ น
ระดับ 0 – 4 คะแนน

ระดับคุณภาพ
ต้องปรับปรุ ง

ระดับ 5 – 6 คะแนน

พอใช้

ระดับ 7 – 8 คะแนน

ดี

ระดับ 9 – 10 คะแนน

ดีมาก

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

สรุ ปผลการประเมิน
่
 ผ่าน
 ไม่ผาน
คะแนนทีได้
่
……..

ระดับคุณภาพ
…….

หน้ า ๖๘

More Related Content

What's hot

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์Sumalee
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์Piroj Poolsuk
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6Parn Parai
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำchatchaisukhum1
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
บาลี 53 80
บาลี 53 80บาลี 53 80
บาลี 53 80Rose Banioki
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยRuangrat Watthanasaowalak
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลีคำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลีพัน พัน
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)kruteerapongbakan
 

What's hot (19)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
บาลี 53 80
บาลี 53 80บาลี 53 80
บาลี 53 80
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลีคำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 

Similar to 2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5Yota Bhikkhu
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2tayanon
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศาMooFlook Indy
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศาMooFlook Indy
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 

Similar to 2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68) (20)

Thai
ThaiThai
Thai
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา
 
kumprasom
kumprasomkumprasom
kumprasom
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 

More from อัมพร ศรีพิทักษ์

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียนอัมพร ศรีพิทักษ์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

More from อัมพร ศรีพิทักษ์ (12)

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
 
ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 

2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)

  • 1. บทที่ ๒ ภูมิปัญญาทางภาษาไทยในสานวนโวหาร วันนี้เรามาเรี ยนบทที่ ๒ กันนะจ๊ะ สวัสดีครับคุณครู ...ภาษาไทย เรายังมีอะไรที่ น่ารู ้อีกมากเลย ใช่ไหมครับ ๑. ความหมายของภูมิปัญญา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ (๒๕๔๖: ๘๒๖) ให้ความหมายว่า ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู ้ความสามารถ ยุพยงค์ โสรัสประสพสันติ (๒๕๔๘: ๒๓) ให้ความหมายว่า ภูมิปัญญา หมายถึ ง ความรู้ ความคิด ความสามารถ และประสบการณ์ที่เกิดจากการเรี ยนรู ้สั่งสมไว้ ผสมผสานกับ ความรู ้ ใหม่ ๆ เพื่อการแก้ปัญหาและสร้ างประโยชน์ใ นการดําเนิ นชี วิตให้ปรั บตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมและสังคม ่ จากความหมายดังกล่าว สรุ ปได้วา ภูมิปัญญา คือ ความรู ้ความสามารถที่ได้รับจาก การถ่ายทอดและการเรี ยนรู ้ แล้วนําความรู้ที่มีและได้สั่งสมไว้น้ นมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ ั ต่อการดําเนินชีวตทั้งของตนเองและสังคม ิ
  • 2. ระดับของภูมิปัญญา ภูมิปัญญา แบ่งเป็ น ๓ ระดับ ได้แก่ ่ ๑) ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือ ความรู ้ ความคิด ความสามารถที่ได้สั่งสมอยูในตัวตน เช่ น คุ ณยายเก็ บ มี ค วามรู ้ เรื่ องการบี บ นวดคลายเส้ น ส่ วนคุ ณตาบุ ญ มี ความรู ้ เรื่ องยา สมุนไพร ่ ๒) ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ ความรู ้ ความสามารถที่มีอยูในกลุ่มหรื อชุ มชนย่อย ๆ ใน ท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น ความรู้เรื่ องผ้ามัดย้อมสี ธรรมชาติ บ้านคี รีวง จังหวัดนครศรี ธรรมราช การทอผ้าพื้นเมืองบ้านมะม่วงปลายแขน จังหวัดนครศรี ธรรมราช การจักสานกระจูด จังหวัดนครศรี ธรรมราช จักสานย่านลิเพา จังหวัดนครศรี ธรรมราช ๓) ภูมิปัญญาไทย คือความรู้ ความสามารถในระดับประเทศเป็ นเอกลักษณ์ที่แสดง ้ ถึงความเป็ นไทย เช่น ภาษาไทย รําไทย ต้มยํากุง ผ้าไหม มวยไทย ใครรู้ จักภูมิปัญญากันบ้ างคะ ที่บานจุกพ่อกับแม่ จักสานย่านลิเพาครับ ้ เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น เขาทํากันมาแต่สมัยปู่ ย่า ตายายนะครับ เก่ งมากคะ เข้ าใจถูกต้ องแล้ วจุก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๔๑
  • 3. ๒. ความหมายของภูมปัญญาทางภาษาไทย ิ ภูมิปัญญาทางภาษาไทย หมายถึง พื้นความรู ้ความสามารถทางภาษาของคนไทยใน การสร้ างสรรค์ภาษาไทยขึ้นมาใช้ติดต่อสื่ อสารกันภายในกลุ่ม ภาษาไทยจึงเป็ นเอกลักษณ์ ที่ แสดงถึ ง ความเป็ นไทย ซึ่ งเป็ นสิ่ ง ที่ ค นไทยทุ ก คนควรภาคภู มิ ใ จ จึ ง ควรร่ ว มกันอนุ รัก ษ์ ภาษาไทยและถ่ า ยทอดมรดกทางภาษานี้ ไปสู่ ค นรุ่ น หลัง ได้ร่ ว มภาคภู มิ ใ จ และได้ใ ช้ ประโยชน์จากภาษาไทยอย่างคุมค่าทั้งต่อตนเองและสังคม ้ ใครอยากรู้ อะไรเพิมเติมกันหรือเปล่ าคะ ่ ประเทศอื่น ๆ เขามีภูมิปัญญากัน หรื อเปล่าครับครู ยกตัวอย่ างภูมิปัญญาทางภาษา ในบางประเทศเขาก็ไม่ มีภาษา เป็ นของตัวเอง บางประเทศต้ องใช้ ภาษาของประเทศอืนเขา ่ แต่ คนไทยโชคดีนะ ทีมีภาษาเป็ นของตนเอง ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๔๒
  • 4. ๓. สานวน ๓.๑ ความหมายของสานวน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคําว่าสํานวน ไว้ดงนี้ ั สานวน ถ้อยคําที่เรี ยบเรี ยง, โวหาร, บางที ก็ใช้คาว่า สํานวนโวหาร : ถ้อยคํา ํ ที่ไม่ถูกไวยากรณ์แต่รับใช้เป็ นภาษาที่ถูกต้อง โดยทัวไปเข้าใจกันในความหมายรวม ๆ ว่า “ข้อความที่มีความหมายไม่ตรง ่ ตามถ้อยคําที่ ปรากฏแต่แฝงความหมายอย่างอื่นไว้” คําว่า “สํานวนโวหาร” จึงมีความหมาย ครอบคลุมถึงคําต่อไปนี้ดวย ้ สํานวน กับภาษิต เหมือนกันไหมคะคุณครู ไม่เหมือนกันหรอกนะค่ะ อัมพร เดี๋ยวครู จะอธิบายให้ฟังนะ (๑) ภาษิต หมายถึง “คํากล่าว เป็ นคํากลาง ๆ ใช้ท้ งทางดีทางชัว แต่โดยความหมายแล้ว ั ่ ประสงค์คากล่าวที่ถือว่าเป็ นคติ” ภาษิต แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ ํ (ก) สุ ภาษิต คือ คํากล่าวที่มุ่งสอนใจผูฟัง เช่น ซื่ อกินไม่หมดคดกินไม่นาน ตามใจ ้ ปากมากหนี้ ฯลฯ (ข) คําพังเพย เป็ นคํากล่าวเชิงเปรี ยบเทียบไม่ได้มุ่งตักเตือนสั่งสอน เช่น ตกบันได พลอยโจน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน อ้อยเข้าปากช้าง ฯลฯ ั ่ (๒) สานวน หมายถึ ง ข้อความพิเศษที่ มิได้มี ความหมายตรงตัว แต่รู้กนทัวไป เช่ น เจ้าชูไก่แจ้ ยกเครื่ อง ฯลฯ ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๔๓
  • 5. ขออนุญาตครับคุณครู ผมสงสัยจังว่า แล้วสํานวนมีที่มาไหมครับ ผมก็สงสัยเหมือนเพื่อนละครับ ผมด้วยครับ ทีมาของสานวนก็ต้องมีสิคะ ่ ๓.๒ ทีมาของสานวน ่ สํ า นวนเกิ ดจากการที่ ผู ้ ใ ช้ ภ าษาพู ด จะ เป็ นชั้ นเชิ งไม่ ตรงไปตรงมา แต่แฝงความหมายอย่างอื่นในที่ผฟังซึ่ งมีประสบการณ์ร่วมใน ู้ เรื่ องเดี ยวกันก็จะเข้าใจความหมายได้และใช้ต่อไปจนแพร่ หลาย โดยเหตุที่ ั ้ สํานวนจะใช้ได้กบผูที่มีประสบการณ์ ร่วมกันเท่านั้นสํานวนไทยจึ งมี ที่มา จากสิ่ งแวดล้อมและวิถีชีวตของคนไทยโดยทัวไป ิ ่ ได้เลยค่ะ ครู อธิ บาย ช่วยเล่าที่มาให้ผมฟังหน่อยครับ ให้ฟังต่อนะ.. กล่าวคือ (๑) สานวนทีมีทมาจากธรรมชาติ ่ ี่ ตื่นแต่ไก่โห่ ข้าวยากหมากแพง นํ้าตาลใกล้มด คลื่นกระทบฝั่ง ปลาหมอตายเพราะปาก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๔๔
  • 6. (๒) สานวนทีมีทมาจากการกระทา ่ ี่ แกว่งเท้าหาเสี้ ยน ขวานผ่าซาก พายเรื อคนละที งอมืองอเท้า ปากว่ามือถึง (๓) สานวนทีมีทมาจากสิ่ งแวดล้อม ่ ี่ ตีววกระทบคราด ั ติเรื อทั้งโกลน ก้นหม้อไม่ทนดํา ั เกี่ยวแฝกมุงป่ า (๔) สานวนทีมีทมาจากอุบัติเหตุ ่ ี่ ตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ตกกระไดพลอยโจน นํ้าเชี่ยวอย่าขวางเรื อ ก้มนักมักชน (๕) สานวนทีมีทมาจากแบบแผนประเพณีและความเชื่อ ่ ี่ ผีซ้ าดํ้าพลอย ํ คู่สร้างคู่สม ผีเข้าผีออก พระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก ที่มาของสํานวนมีมาก จังเลยนะครับ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั (๖) ทีมีทมาจากลัทธิศาสนา ่ ี่ ชัวช่างชี ดีช่างสงฆ์ ่ ทําคุณบูชาโทษ โปรดสัตว์ได้บาป ปล่อยนกปล่อยปลา พระอิฐพระปูน หน้ า ๔๕
  • 7. (๗) สานวนทีมีทมาจากความประพฤติ ่ ี่ ตํานํ้าพริ กละลายแม่น้ า ํ วัวเห็นแก่หญ้า ขี้ขาเห็นแก่กิน ้ ยกตนข่มท่าน คบคนจรหมอนหมิ่น (๘) สานวนทีมีทมาจากการเล่น หรือ กีฬา ่ ี่ เข้าตาจน ไม่ดูตาม้าตาเรื อ สู้จนยิบตา (๙) สานวนทีมีทมาจากนิยายนิทาน หรือตานาน ่ ี่ กระต่ายตื่นตูม กิ้งก่าได้ทอง (มโหสถชาดก) ดอกพิกุลร่ วง (นางพิกุลทอง) ชักแม่น้ าทั้งห้า ํ (เวสสันดร) กินจนพุงแตก (เวสสันดร) (๑๐) สานวนทีมีทมาจากพงศาวดารหรือประวัติศาสตร์ ่ ี่ เห็นกงจักรเป็ นดอกบัว กรุ งศรี อยุธยาไม่สิ้นคนดี ทํามิชอบเข้าลอบตนเอง (พงศาวดารเหนือ) ผมขอสรุ ปให้นะครับ ถูกต้องคะ เก่งจัง ดัง จะเห็ น ได้ว่ า มู ล เหตุ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด สํานวนนั้นมีหลายประการและสามารถจัด ห ม ว ด ห มู่ พ อ สั ง เ ข ป เ พื่ อ ใ ห้ ง่ า ย ต่ อ การศึกษาถึงที่มาของสํานวนได้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๔๖
  • 8. ๓.๓ ประเภทของสานวน แบ่งออกเป็ นสองประเภท คือ (๑) สํา นวนที่ ใ ช้ก ัน มานานมัก เป็ นวลี ห รื อ ประโยคที่ ส ละสลวยคมคายมี ล ัก ษณะ สัมผัสคล้องจองกัน เช่น ข้าวยากหมากแพง พระศุกร์ เข้าพระเสาร์ แทรก เป็ นต้น (๒) สํานวนสมัยใหม่ ถ้อยคําจะไม่ค่อยนุ่มนวลเหมือนประเภทแรก มักเป็ นคําสั้น ๆ เช่น ชักดาบ ม้ามืด ตีนผี ตีนแมว เป็ นต้น เอ.. แล้วสํานวน เกิดขึ้น ได้อย่างไรละครับคุณครู ถ้าอย่างนั้น ครู จะพาไปเด็ก ๆ ไปถามผูรู้นะจ๊ะ ้ ว่าสาเหตุที่ทาให้เกิดสํานวน เป็ นอย่างไรกันบ้าง ํ นี่ไง ผูรอบรู ้ ้ สวัสดีครับคุณครู และ เด็กที่น่ารักทุกคน ๓.๔ สาเหตุทเี่ กิดสานวน (๑) ต้องการคําเพื่อสื่ อสารความรู ้สึกให้เพียงพอ เมื่อเกิดความต้องการคํามาใช้ จึง ต้อ งคิ ด หาคํา ใหม่ อาจจะอ้า งอิ ง คํา เดิ ม แต่ เ ปลี่ ย นความหมายไปบ้า ง หรื อ คล้า ย ความหมายเดิมก็มี (๒) ต้องการหลีกเลี่ยงการใช้คาบางคํา คําที่อาจจะหยาบคายหรื อก่อให้เกิดความ ํ ไม่สบายใจ เช่ น คําว่าตาย อาจใช้สํานวนว่าไปค้าถ่าน หรื อไปสวรรค์ แทน หรื อคําว่า ไปปั สสาวะ อาจใช้สานวน ว่าไปเก็บดอกไม้ ไปป่ า ยิงกระต่าย เป็ นต้น ํ (๓) เพื่อให้สุภาพเหมาะสมกับฐานะหรื อบุคคล (๔) เป็ นการทําให้คาพูดมีรสชาติหรื อเกิดมโนภาพ ํ ้ เช่น วิงจนลิ้นห้อย ผอมเป็ นกุงแห้ง ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๔๗
  • 9. การนําเอาใจความสั้น ๆ มาพูดทําให้ ได้ใจความและเกิ ดความหมายที่ สามารถทํา ให้การพูด หรื อการเขียน (ถ้านําไปใช้ในงาน เขียน) เป็ นที่น่าสนใจมากขึ้น ผูรอบรู ้ มีตวอย่างเล่าให้เด็ก ๆ ฟังอีกสักนิดนะคะ ้ ั ได้เลยคะ มีตวอย่างด้วยนะคะ ั เล่าเลยคะพวกเราอยากรู ้ค่ะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๔๘
  • 10. ตัวอย่าง สานวนและความหมาย สานวน ก่อร่ างสร้างตัว ไก่ได้พลอย ก่อแล้วต้องสาน กอดเข่าเจ่าจุก แกว่งเท้าหาเสี้ ยน ขว้างงูไม่พนคอ ้ เข้านอกออกใน ข่าวโคมลอย คดในข้องอในกระดูก คมในฝัก เงาตามตัว จนแต้ม จระเข้ฟาดหาง แฉโพย โตฟักโตแฟง เถียงไม่ตกฟาก นอนนก เบาเต็ง ปากแข็ง พกหิน มาก่อนไก่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั ความหมาย ทําให้ตวเองเจริ ญขึ้นทีละน้อยจนมีฐานะมันคง ั ่ คนที่ไม่รู้จกค่าของสิ่ งที่ตนมี ั เมื่อทําอะไรลงไปแล้วก็ตองทําต่อไปจนสําเร็ จ ้ นังเป็ นทุกข์ ่ หาเรื่ องเดือดร้อนใส่ ตวเอง ั ปั ดเรื่ องร้ายไม่พนตัว ้ คุนเคย สนิทมาก ้ เรื่ องไม่จริ ง มีสันดานคดโกง มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดแต่ไม่แสดงออกให้ใครรู ้ ไปด้วยกันเสมอ หมดปัญญา ใช้อานาจหรื อกําลังระรานโดยไม่เลือกหน้า ํ ใช้อานาจหรื อกําลังระรานโดยไม่เลือกหน้า ํ โตแต่กาย แต่สติปัญญามีนอย ้ โต้เถียงไม่หยุดปาก นังหลับ ่ สติไม่ดี บ้า ๆ บอ ๆ พูดดึงดันไม่ยอมรับผิด ใจหนักแน่นมันคง ่ มาแต่เช้ามืดตั้งแต่ไก่ยงไม่ขน ั ั หน้ า ๔๙
  • 11. ไหน ๆ ก็เล่าเรื่ องสํานวนแล้ว ขอเล่าต่อเรื่ องการแบ่งประเภทเลยนะคะ ๓.๕ การแบ่ งประเภทสานวน สานวนอาจแบ่ งเป็ นประเภทตามลักษณะเนือหา ได้ ดังนี้ ้ (๑) ภาษิตทีมีคติม่ ุงสั่ งสอนอบรม ภาษิตประเภทนี้ใช้คาสั้นฟังแล้วเข้าใจทันที เช่น ่ ํ อย่าสนุกตามเพื่อน ตื่นแต่ดึก สึ กแต่หนุ่ม ่ (๒) สานวนเปรียบเทียบภาษิต ประเภทนี้มีความหมายเปรี ยบเทียบ อยูในตัวแต่ไม่ตรง ทีเดียวบางทีเป็ นแบบคําพังเพยก็มี เช่น ใหญ่มะพร้าวเฒ่ามะละกอ หมายถึง อายุมากแต่ไม่มีลกษณะเป็ นผูใหญ่ ั ้ ยิงช้างอย่าหมายช้าง หมายถึง การทํางานใหญ่ๆ อย่าหวังจะได้ผลตามคิด วัวใครเข้าคอกคนนั้น หมายถึง ใครทํากรรมดี, ชัว ก็จะได้รับตามที่ตนทํา ่ (๓) สานวนทีเ่ ป็ นอุปมาอุปไมย เป็ นสํานวนที่นาสิ่ งต่าง ๆ มาอ้างเปรี ยบเทียบ เช่น ํ ร้ายเหมือนฟ้ าเดือนหก หมายถึง ดุร้ายน่ากลัวมาก จืดเหมือนหืดยักษ์ หมายถึง รสจืดชืด ไม่มีรสชาติ ่ ่ ยุงเหมือนยุงเข้ารั้ว หมายถึง ยุงเหยิงสับสนสิ้ นดี (๔) ประเภทคาอ้ างอิง เป็ นการนําเอาความจริ งมาเปรี ยบเทียบ เช่น คนผิดเสี ยหน้า คนบ้าเสี ยจริ ต หมายถึง คนที่มีอะไรบกพร่ องย่อมมีพิรุธ ยิงหยุดยิงไหล ยิงไปยิงแก่ หมายถึง ยิงทํายิงไกลความสําเร็ จยิงทิ้งไว้ก็ยงช้า ิ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ เป็ นอย่างไรบ้างคะ มีใครสงสัยยกมือถามได้เลยคะ พวกเราเข้าใจทุกคนเลยคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๐
  • 12. ยังไม่จบนะคะ ขอเล่าถึงการแบ่งเนื้ อหาของสุ ภาษิต ของท่าน อาจารย์เจือ สตะเวทิน เคยได้ยนชื่อกันไหมคะ ิ การเบ่งเนื้อหาของสุ ภาษิต ของอาจารย์เจือ สตะเวทิน แบ่งไว้แบบไหนกันหรื อคะท่านผูรู้ ้ ได้จดแบ่งเนื้อหาของสุ ภาษิต ภาษิตไว้ดงเช่น ั ั (๑) ว่ าด้ วยหมวดครอบครัว เช่ น พ่อแม่คือพระของลูก อย่าเห็นขี้ดีกว่าไส้ ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น เป็ นลูกผูหญิงต้องมีความอาย ้ (๒) ว่ าด้ วยการศึกษาอบรม เมื่อน้อยให้เรี ยนวิชา ความรู ้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด ไม้อ่อนดัดง่ายไม้แก่ดดยาก ั (๓) ว่ าด้ วยความรักและการครองเรือน ั คู่กนแล้วไม่แคล้วกัน ผัวเป็ นช้างเท้าหน้า เมียเป็ นช้างเท้าหลัง โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๑
  • 13. เป็ นอย่างไรกันบ้างเด็ก ๆ เริ่ มจะเข้าใจสุ ภาษิตไทย กันบ้างหรื อยังเอ่ย อย่าลืมเรี ยนต่อให้จบนะคะ (๔) ว่ าด้ วยการทามาหากิน จับปลาสองมือ เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน (๕) ว่ าด้ วยเศรษฐกิจและการครองชี พ เสี ยน้อยเสี ยยาก เสี ยมากเสี ยง่าย มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท (๖) ว่ าด้ วยตน เช่ น ลืมตัวเหมือนวัวลืมตีน ขี้ขลาดตาขาว (๗) ว่ าด้ วยสั งคม-การสมาคม คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่ อ (๘) ว่ าด้ วยเรื่องวาจา พูดดีเป็ นศรี แก่ตว ั พูดชัวอัปราชัย ่ พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตําลึงทอง เด็ก ๆ เข้าใจกันหรื อเปล่าคะ สงสัย ตรงไหน ถามได้นะคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๒
  • 14. ยังไม่จบนะคะ เรามาเรี ยนกันต่อเลยดีกว่า อย่ารอช้านะคะ เวลามีนอย วัยรุ่ นแถวนี้ ้ ั คงใจร้อนอยากรู ้กนแล้วสิ ... ๓.๖ หลักการใช้ สานวน การใช้สํานวนช่ วยให้การสื่ อสารเป็ นไปด้วยดี แต่ถาใช้อย่างไม่เหมาะสมก็จะเกิ ด ้ ผลเสี ยคือ ทําให้สํานวนนั้น มีความหมายผิดเพี้ยนไปและการสื่ อสารก็อาจผิดพลาดได้ หลักการใช้สานวนมีดงนี้ ํ ั ใช้ ให้ ถูกต้ อง โดยการปฏิบัติดังนี้ (๑) ใช้ โดยรั กษารูปคาของสานวนเดิม เช่ น “ถือศีลกินเพล” ไม่ ใช่ “ถือศีลกินเจ” “ดูววให้ ดูหาง ดูนางให้ ดูแม่ ” ไม่ ใช่ “ดูช้างให้ ดูหาง ดูนางให้ ดูแม่ ” ั “ถอยหลังเข้ าคลอง” ไม่ ใช่ “ถอยหลังลงคลอง” ฯลฯ (๒) ใช้ ให้ ตรงความหมายของสานวนนั้น เช่ น “ฉันอยากจะเลือกเขาเป็ นหัวหน้าเหมือนกัน แต่ได้ยนมาว่าเขาเป็ นคนโกง ิ มิ ห นํา ซํ้ายัง เป็ นคนเจ้า ชู้อี ก ด้ว ย ฉั น จึ ง รู้ สึ ก เหมื อ นน้ า ท่ ว มปากอย่ า งนั้น แหละ” “นาท่วมปาก” มีความหมายว่า “พูดไม่ออกเพราะเกรงจะมีภย” ซึ่ งเป็ นการใช้สํานวนที่ ้ ั ไม่ถูกต้อง ควรใช้ว่า “กินน้าเห็นปลิง ” ซึ่ งหมายความว่า “รู ้ สึกตะขิ ดตะขวงใจ, ไม่ สนิทใจ, นึกรังเกียจ” หรื อ “คุณอย่าถี่ลอดตาช้ างห่ างลอดตาเล็น ไปหน่อยเลย อยาก ปรับปรุ งทุกอย่างให้ดี โครงการออกใหญ่โตแต่กลัวเสี ยเงินมาก จะทําสําเร็ จได้อย่างไร” “ถี่ลอดตาช้ าง ห่ างลอดตาเล็น” ซึ่ งหมายความว่า “ประหยัดในสิ่ งที่ไม่ควรประหยัด ไม่ ่ ประหยัดในสิ่ งที่ควรประหยัด” เป็ นการใช้สํานวนอย่างไม่ถูกต้อง ควรใช้วา “ฆ่ าควาย เสี ยดายพริก” ซึ่งหมายความว่า “ทาการใหญ่แต่ กลับตระหนี่” โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๓
  • 15. (๓) ไม่ ดัดแปลงสำนวนมำใช้ ตำมใจชอบ เช่ น “ไก่ได้พลอย” ดัดแปลงเป็ น “ไก่แจ้ได้พลอย” “วัวเห็นแก่หญ้า ขี้ขาเห็นแก่กิน” ดัดแปลงเป็ น ้ “วัวเห็นแก่หญ้า ขี้ขาเห็นแก่เงิน” ดังนี้เป็ นการ ไม่สมควร ้ (๔) อย่ ำใช้ พร่ำเพรื่ อ หรื อ ยกสำนวนมำใช้ ติด ๆ กัน เช่ น “ผมว่าอย่าเอาไม้ ซีกไปงัดไม้ ซุงจะดีกว่า ในสถานการณ์อย่างนี้ ไม่ ควรหักด้ ามพร้ าด้ วยเข่ า ทนให้ หนามยอกอกไปก่อน วันพระไม่ มีหนเดียว เชื่อผมดีกว่า” เรื่ องของสํานวน ๆ ก็จบลงเท่านี้ ขอให้เด็ก ๆ สอบได้คะแนนเต็มนะคะ พวกเราทุกคน ขอบคุณท่านผูรู้ ้ ั มากเลยนะค่ะที่มาให้ความรู ้กบเรา ครู ขอขอบคุณ ผูรอบรู้ดวยนะคะ ้ ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๔
  • 16. ๔. โวหาร วันนี้ครู จะอธิ บายเรื่ องโวหาร นะจ๊ะ มีใครตอบได้บางว่า ้ โวหารหมายถึงอะไร โวหารหมายถึงอะไรครับครู ๔.๑ ความหมายของโวหาร โวหาร หมายถึ ง กระบวนความในการพูดหรื อการเขียนที่ใช้ช้ นเชิ งหรื อกลวิธี ั ในการเรี ยบเรี ยงถ้อยคํา หรื อข้อความ ทําให้ขอความนั้นกะทัดรัด เข้าใจง่าย ้ ๔.๒ ประเภทของโวหาร โวหารในการเขี ย นความเรี ย งร้ อยแก้วประเภทต่ า ง ๆ ในปั จจุ บ ัน นิ ย มแบ่ ง ออกเป็ น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑) โวหารบรรยาย (Narration)โวหารประเภทนี้ หมายถึง การชี้ แจง การอธิ บาย การเล่าเหตุการณ์ ทั้งที่เป็ นเรื่ องจริ งและจินตนาการโดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อให้ผฟังหรื อ ู้ ผูอ่านได้รู้จกเรื่ องเหล่านั้นอย่างชัดเจน ้ ั ลัก ษณะที่ สํ า คัญ ของโวหารประเภทนี้ คื อ ผูเ้ ขี ย นจะใช้ค วามจริ ง เป็ นหลัก กล่าวถึงสิ่ งที่ตองการจะกล่าวนั้นอย่างตรงไปตรงมาโดยที่ผเู ้ ขียนจะไม่แทรกอารมณ์ หรื อ ้ ความรู ้สึกส่ วนตัวลงไปในการกล่าวนั้น โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๕
  • 17. ๒) โวหารพรรณนา (Descriptive) โวหารประเภทนี้ เป็ นโวหารที่สร้างสรรค์ ข้อความถ่ ายทอดสิ่ งที่ ได้เห็ นได้สัมผัส รวมทั้งอารมณ์ ความรู ้ สึกของผูพูดผูเ้ ขี ยน หรื อ ้ ถ่ายทอดความประทับใจในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งไปสู่ ผอ่านผูฟัง โดยการให้รายละเอียดที่มุ่ง ู้ ้ ให้ผูฟั ง ผูอ่า นเกิ ดรสเกิ ด อารมณ์ ข้ ึ น โวหารประเภทนี้ ซ่ ึ งประกอบไปด้วยรายละเอี ย ด ้ ้ ที่ถูกต้องชัดเจนทําให้ผอ่าน เกิดมโนภาพและอารมณ์คล้อยตามเรา อาจพบโวหารประเภท ู้ นี้ได้จากการพรรณนารู ปร่ างหน้าตา ของตัวละครในเรื่ องสั้น หรื อนวนิยาย การพรรณนา สถานที่ การพรรณนาอารมณ์ ฯลฯ ๓) โวหารอธิบาย (Explain oration) โวหารประเภทนี้ เป็ นโวหารสําหรั บ การชี้ แจงขั้นต้นหรื อรายละเอียด ในการดําเนิ นงานหรื อกิ จกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผฟังเข้าใจ ู้ แจ่มแจ้ง สามารถปฏิบติ ตามคําอธิ บายนั้นได้ ั ๔) โวหารวิจารณ์ (Criticism) โวหารประเภทนี้ หมายถึง การแสดงความคิดเห็น ที่ มี ต่ อ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง อย่า งมี หลัก เกณฑ์ท างวิ ช าการที่ เ กี่ ย วข้อ งเป็ นองค์ป ระกอบสํ า คัญ สําหรับการแสดงความคิดเห็น การเขียนโดยโวหารบรรยาย มีหลักการดังนี้ (๑) กําหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตของเรื่ องที่จะเขียนให้ชดเจน ั (๒) เลื อ กสรรข้อ มู ล มาประกอบการเขี ย นโดยให้ ข ้อ มู ล นั้ น น่าเชื่อถือ มีหลักฐานเพียงพอให้ตรวจสอบได้ทนสมัย และน่าสนใจ ั (๓) ลําดับเรื่ องราวให้เป็ นลําดับ เข้าใจง่ าย ไม่สับสนวกวนมี การแบ่งตอนแบ่งหัวข้อที่ชดเจน ั (๔) ใช้ถอยคําภาษาที่เข้าใจได้ง่ายเหมาะแก่วยและระดับความรู ้ ้ ั ของผูอ่าน ้ (๕) มีวธีบรรยายที่ชวนให้สนใจติดตาม ิ คุณครู ช่วยยกตัวอย่างโวหารบรรยายให้ ฟังสิ ครับ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๖
  • 18. ตัวอย่างโวหารบรรยาย คืนวันนั้นฝนตกหนักพายุพดอย่างแรงกระหนํ่าเม็ดฝน ให้สาดลงสู่ พ้ืนดินและท้อง ั นํ้าประดุจเม็ดฝนนั้นเป็ นของแข็ง เรื อเมล์โดยสารลําหนึ่ งแล่นออกจากบ้านแพน มุ่งหน้าสู่ พระนครบรรทุกคนโดยสารเต็มเพียบ แล่นฝ่ ากระแสนํ้าท่ามกลางเสี ยงฝน และพายุที่เพิ่ม กําลังรุ นแรงขึ้นทุกที ขณะนั้นเป็ นเวลาคํ่ามืดสนิท คนโดยสารบางคน งอตัวเอนลงหลับใน เนื้ อที่เท่าที่พอจะหาได้ บางคนก็นงกอดเข่าเหม่อมองไปข้างหน้า ซึ่ งมีแต่ความมืดเสี ยงฝน ั่ ั เสี ยงลมกระทบผ้าใบที่ก้ นข้างเรื อเกือบจะดัง กลบเครื่ องยนต์น้ นเสี ยสิ้ น แต่เรื อยนต์ลานั้นก็ ั ํ ยังแล่ น ก้าวหน้าคื บคลาน ออกไปด้วยความพยายามเหมื อนกับ ว่าเป็ นสัตว์มีชี วิต ที่ ถู ก บรรทุกด้วยสัมภาระ อันหนักและถูกต้อนตีให้เดินตามทางที่ลาบากกันดาร เสี ยงพูด เสี ยง ํ คุยในหมู่ผูโดยสาร ซึ่ งดังอยู่เมื่อเรื อเริ่ มออกจากนั้นค่อย ๆ เงียบลงไป คงเหลื อแต่เสี ยงลม ้ ่ เสี ยงฝน และ ความกระเทือนแห่ งเครื่ องยนต์ที่แสดงให้รู้ได้วาเรื อลํานั้นยังเดินอยู่ นานๆ ก็ มี เสี ยงคนหาวดัง ๆ หรื อถอนหายใจ เสี ยงคนเปลี่ยนท่านัง หรื อหยิบข้าวของที่ติดตัว มาดัง ่ สลับขึ้น เป็ นครั้งคราว เรื อลํานั้นแล่นผ่านบ้านเรื อนที่คบคังในบริ เวณอําเภอ แสงไฟฟ้ าฉาย ั ่ ออกมาจากโรงสี ขางลํานํ้ากระทบเม็ดฝนที่สาดลงมามิรู้สิ้นสุ ด แลดูเหมือนม่านที่ทาด้วยนํ้า ้ ํ ่ มากั้นไว้ พอเรื อเริ่ มผ่านบ้านเรื อนที่มีประปรายอยูนอกอําเภอออกสู่ ทองทุ่งสายลมและสาย ้ ฝน ก็กระหนํ่าลงมาแรงขึ้ นกว่าเก่า คนโดยสารจํานวนมากที่นั่งหรื อนอนอยู่ในเรื อพากัน ขยับตัวเหลียวซ้ายแลขวามองดูหน้ากันอย่างไม่สบายใจ พอเรื อแล่นต่อมาอีกจะเข้าหัวเลี้ยว ที่เรี ยกว่าคุ มสําเภา กําลังแรงของพายุก็เข้ามาปะทะเข้ากลางลํา เสี ยงใครหวีดร้ องเสี ยงคน ้ ํ ่ ตะโกน เสี ยงเด็กร้ องจ้าขึ้นด้วยความตกใจที่กาลังหลับอยูก็ทะลึ่งตัวขึ้นสุ ดแรงทุกคนถลัน ตัว พุ่ ง เข้า ใส่ ก ราบที่ มิ ไ ด้เ อี ย ง ทัน ใดนั้น เรื อ ก็ โ คลงกลับ มาอี ก ทางหนึ่ ง ด้วยกํา ลัง ถ่ ว ง สุ ดเหวี่ยงท่ามกลางเสี ยงร้ องที่ ฟังไม่ได้ศพท์ และเสี ยงรั วกระดิ่ งของนายท้าย ซึ่ งดึ งสาย ั กระดิ่งด้วยความตกใจ ปราศจากสัญญาณใด ๆ และเรื อนั้นก็ควํ่าลงทันที เครื่ องยนต์ในเรื อ คงเดินต่อไป อีกครู่ หนึ่งสั่นสะท้านอย่างแรงแล้วก็หยุดเงียบเหมือนกับหัวใจสัตว์ที่เต้นต่อสู ้ อย่างแรงเป็ นครั้งสุ ดท้ายแล้วก็ตองหยุดลงเมื่อความตาย มาถึงตัว ้ ผูแต่ง : คึกฤทธิ์ ปราโมช ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๗
  • 19. ตัวอย่างโวหารพรรณนา คืนวันหนึ่งพระเสมชําระกายสะอาดแล้ว เตรี ยมตัวจะเข้านอนก่อนจะนอนพระเสมก็ จุดธู ปเทียนลงกราบพระพุทธรู ปจะสวดมนต์ตามปรกติ แสงเทียนจับพระพักตร์ พระพุทธรู ป องค์น้อยนั้นกระจ่างจับตา พระเสมเงยหน้าขึ้นมองดูโดยมิได้ต้ งใจ เมื่อแลเห็ นความงามของ ั พระพุทธรู ปจับด้วยแสงเทียน พระเสมก็นึกถึงพระพุทธคุณ ยิ่งนึ กไปก็ยิ่งปิ ติอิ่มเอิบใจ พระเสม ่ ภาวนาอยูในใจว่า “พุทธํสรณํคจฉามิ” และภาวนาซํ้าอยูเ่ ช่ นนั้น มิได้มีความปรารถนาต้องการ สิ่ งใดโดยเฉพาะ จับเอาพระพุทธคุณ นั้นมาเป็ นจุดศูนย์กลางแห่ งความนึ กคิดกิเลสตัณหาต่าง ๆ หลุ ด ลอยไปไกลพระเสมรู ้ ต ัว บริ บู ร ณ์ ว่ า นั่ง อยู่ ห น้ า พระในกุ ฎิ มิ ไ ด้เ ลื่ อ นลอยไปไหน มี ความรู ้ สึกเป็ นเอกัตตา หรื อสมาธิ ในกุฎิ ที่พระเสมนังอยู่น้ นรู ้ สึกว่ามีแสงสว่างไปทัว แต่แสง ั ่ ่ นั้นเป็ นแสงที่เยือกเย็น ปราศจากความร้ อน มิใช่ แสงที่เกิ ดจากดวงอาทิ ตย์หรื อแสงไฟ และก็ เป็ นแสงที่เกิดขึ้นเองมิใช่แสงสะท้อน อย่างแสงจันทร์ พระเสมรู ้สึกว่ามีความสุ ขเป็ นอย่างยอด เยี่ยม และเป็ นความสุ ขทั้งรู ้ ความสุ ขอันเกิ ดจากการระงับ แต่มิใช่ การระงับเยี่ยงสลบลื มตัว ความสุ ขเช่นนั้นจะเกิดได้จากทางเดียว คือจากสมาธิ ที่หมดกิเลส ผูแต่ง : คึกฤทธิ์ ปราโมช ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๘
  • 20. ตัวอย่างโวหารอธิบาย ลูกมะกอนนั้นมีลกษณะเป็ นลูกสี่ เหลี่ยมคล้าย ๆ กับหมอนหรื ออาจมีลกษณะเป็ นลูก ั ั กลม ๆ คล้า ยกับลู ก ฟุ ตบอลก็ได้ แต่ส่วนมากแล้วนิ ย มลู กมะกอนชนิ ดที่ มีล ักษณะเป็ นลู ก สี่ เหลี่ยมซึ่ งคล้ายคลึงกับหมอนมากกว่า ภายในของลูกมะกอน หรื อภายในผ้าที่ใช้เย็บลูกมะ กอนนั้นบรรจุเมล็ดมะขามดิบ ๆ ดุจเดี ยวกับที่เราบรรจุนุ่นใส่ หมอนนันแหละ บางทีเขาอาจ ่ ั ใส่ ลูกกระพรวนเข้าไปปะปนอยู่กบเมล็ดมะขามภายในลูกมะกอน เพื่อที่จะให้เกิ ดเสี ยงกรุ๋ งกริ๋ ง ขึ้ น ในเวลาที่ โ ยนลู ก มะกอนนั้น แต่ สิ่ ง ที่ สํ า คัญ ที่ สุ ด ก็ คื อ ต้อ งให้ ลู ก มะกอน นั้ น ั พอเหมาะพอดีกบมือของผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายด้วยวิธีการเล่นมะกอนนั้นมีลีลา การเล่นคล้ายคลึง ่ กับการเล่นโยนห่ วงยางของเราดี ๆ นี่ เองต่างกันก็ตรงที่วาเขาใช้ลูกมะกอนโยนแทนห่ วงยาง เท่านั้น กล่าวคือผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายจะต้องยืนอยู่ห่างกันพอสมควรโดย ที่สามารถโยนลูกมะ ั ั กอนให้กนถึ งเริ่ มต้นด้วยการที่ ฝ่ายหญิงเป็ นผูที่โยนลูกมะกอนให้กบฝ่ ายชายก่อน ข้างฝ่ าย ้ ชายนั้นเล่าจะต้องพยายามรับลูกมะกอนที่ฝ่ายหญิงโยนมาให้ได้ก่อนที่ลูกมะกอนนั้นจะหล่น ลงสู่ พ้ืนดิ นเมื่อรับลูกมะกอนจากหญิงโยนมาให้ได้แล้ว ฝ่ ายชายก็จะโยนลูกมะกอนที่รับไว้ ได้น้ นคืนกลับไปยังฝ่ ายหญิงอีกดุจเดิม และเมื่อฝ่ ายหญิงได้รับลูกมะกอนคืนมาจากฝ่ ายชาย ั แล้ว ก็จะโยนลูกมะกอนนี้ ไปให้ฝ่ายชายอีก ผลัดกันโยนไปโยนมาเช่ นนี้ อยู่เรื่ อย ๆ ถ้าฝ่ าย หนึ่งฝ่ ายใดไม่สามารถที่จะรับลูกมะกอนนั้นไว้ได้ก็ดี หรื อว่ารับได้แล้วแต่ทว่าลูกมะกอนนั้น พลัดหล่นลงสู่ พ้ืนดิน ก็ดีถือว่าฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายแพ้ ซึ่ งจะต้องถูกฝ่ ายตรงกันข้าม คือฝ่ ายโยนลูก มะกอนให้น้ ันปรั บเอาสิ่ งของที่ มีอยู่ในตัวของผูแพ้ในขณะนั้นไว้เป็ นของประกันหนึ่ งสิ่ ง ้ ภายหลังจากการเล่นแล้วผูแพ้จะต้องนําสิ่ งของมาขอไถ่คืนหนึ่งสิ่ งดุจกัน แล้วการเล่นมะกอน ้ ก็ดาเนินต่อไปอีกจนกว่าฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดจะถูกปรับจนกระทัง ไม่มีสิ่งของที่จะให้ฝ่ายตรงข้าม ํ ่ ปรับอีกต่อไปแล้วนันแหละเกมส์การเล่นจึงจะยุติลง การโยนหรื อการรับลูกมะกอนนั้น จะใช้ ่ มือขวาหรื อมือซ้ายก็ได้ไม่สําคัญ แต่ที่สําคัญก็คือจะใช้ท้ งสองมือมิได้ จะใช้ได้ก็แต่เพียงมือ ั เดียวเท่านั้นเอง ผูแต่ง : ราเพย ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๕๙
  • 21. ตัวย่ างโวหารวิจารณ์ “...ชายคาพระอุโบสถที่ยื่นออกมานั้นมีทวยไม้จาหลักลวดลายคํ้ายันอยู่ ทวยเหล่านี้ ํ มีสัดส่ วน เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยทางโครงสร้างเป็ นอย่างยิ่ง หลังคามุขหน้า และมุข หลังของพระอุโบสถตั้งอยู่บนเสาสี่ เหลี่ ยมสี่ ตนด้วยกันเหนื อ และส่ วนคานของเสาด้านใน ้ สองต้นขึ้นไปนั้นเป็ นหน้าบัน ซึ่ งตกแต่งอย่างมันคงอลังการด้วยลาย จําหลักไม้อนมีลกษณะ ั ั ่ แข็งแรงฝี มือกล้า ลายจําหลักนูนนั้น จําหลักให้สูงขึ้นมาเพื่อเน้น ให้เห็นถึงความเด่นชัด ที่จะ ให้เกิ ดความสมดุลกับเงาของหลังคามุขซึ่ งทอดลงมา บนลวดลาย..ตามปรกติ หน้าบันของ วัดอื่นนั้นมี ขนาดใหญ่กว่าของที่ วดนี้ แต่สําหรั บหน้าบันของวัดนี้ สถาปนิ กมี วิจารณญาณ ั อย่า งลึ ก ซึ้ ง เข้า ใจเป็ นอย่า งดี ว่า ถ้า สร้ า งหน้า บันให้ ใ หญ่ ก็ จ ะทํา ให้เ สี ย ความประสาน กลมกลืนของตัวอาคารทั้งหมด...” ผูแต่ง : ศิลป์ พีระศรี ้ อย่าลืมทํากิจกรรม และแบบฝึ กหัดด้วยนะ ต้องทําให้เสร็ จก่อน อย่าเปิ ดเฉลยดูนะ เรา จบบทที่ ๒ แล้ว โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั ั ต้องมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์กบตัวเอง นะคะ หน้ า ๖๐
  • 22. เรามาทํากิจกรรมเสนอแนะ ท้ายบทที่ ๒ กันนะคะ กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๒ ๑. ให้รวบรวมสํานวนเกิดใหม่ เช่น ถนนบันเทิง = วิถีชีวตของผูมีอาชีพนักแสดง ิ ้ ป่ าคอนกรี ต = บ้านเมืองที่เต็มไปด้วยอาคารคอนกรี ต ไข้โป้ ง = ถูกลอบสังหารด้วยปื น พร้อมทั้งยกตัวอย่างประโยคที่ใช้สานวนเกิดใหม่เหล่านั้น ํ ๒. รวบรวมสํานวนที่มีลกษณะเป็ นคําพังเพย แต่ไม่มีในพจนานุกรม ั เช่น พายเรื อให้โจรนัง คนตายขายคนเป็ น ฯลฯ ่ พร้อมด้วยตัวอย่างประโยคที่ใช้สานวนที่เกิดใหม่น้ ี ํ ๓. รวบรวมสํานวนที่มีผใช้ผิดเพี้ยนไปจากเดิม ู้ เช่น ถอยหลังลงคลอง (ถอยหลังเข้าคลอง) ถือศีลกินเจ (ถือศีลกิจเพล) ฯลฯ พร้อมด้วยตัวอย่างประโยคที่ใช้สานวนที่เกิดใหม่น้ ี ํ (การรวบรวมให้ใช้วธีต่างคนต่างรวบรวมแล้วจึงหาเวลามารวมกันเข้าเป็ นชุดเดียวกัน ิ เพื่อเก็บไว้เป็ นความรู ้ต่อไป) และอย่าลืมทําแบบฝึ กหัด ท้ายบทด้วยนะค่ะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๖๑
  • 23. แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๒ จงตอบคาถามต่ อไปนี้ ๑. จงอธิ บายความแตกต่างระหว่างคําพังเพยกับสุ ภาษิต …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ่ ั ๒. มีสานวนใดบ้าง ที่แสดงให้เห็นว่าคนไทยมีชีวตผูกพันอยูกบนํ้า จงยกตัวอย่างมาให้มากที่สุด ํ ิ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. สํานวนมีประโยชน์ในการพูดและเขียนอย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. หลักการใช้สานวนมีอะไรบ้าง ํ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕. จงบอกความหมายของสํานวนต่อไปนี้ (๑) จับปลาสองมือ หมายถึง............................................................ (๒) เหยียบเรื อสองแคม หมายถึง............................................................ (๓) กินปูนร้อนท้อง หมายถึง............................................................ (๔) วัวสันหลังหวะ หมายถึง............................................................ (๕) กิ้งก่าได้ทอง หมายถึง............................................................ (๖) วัวลืมตีน หมายถึง............................................................ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๖๒
  • 24. แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๒ คาชี้แจง ๑. ข้อสอบชุดนี้มี จํานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน ๒. ให้เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคําตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดเป็ นหลักสําคัญที่สุด ของการใช้สานวนไทยเพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ผล ํ ก. ใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและสถานการณ์ ข. ใช้ให้ถูกต้องตรงกับความหมาย ค. เพื่อช่วยให้ผรับสารเห็นภาพพจน์ได้ชดเจนมากขึ้น ู้ ั ง. ใช้เพื่อสนับสนุนแนวคิดให้มีน้ าหนักน่าเชื่ อถือ ํ ๒. ข้อใดไม่ใช่ลกษณะของสุ ภาษิต ั ก. เป็ นประโยชน์แก่คนทัวไป ่ ข. ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องเข้าใจยาก ค. คําพูดที่ถือเป็ นคติ ง. ช่วยจรรโลงใจให้คิด พูด ทํา สิ่ งที่ดีงาม ๓. โวหาร คือ อะไร ก. วัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียน ข. ความรู้สึกของผูเ้ ขียน ค. ท่วงทํานองในการเขียน ง. ลีลาในการเขียน ๔. การพรรณนา แตกต่างจากการบรรยายในข้อใด ก. การพรรณนาต้องใช้ภาษาคมคายกะทัดรัด ข. การพรรณนาต้องใช้ความคิดของตนเองเรี ยบเรี ยงขึ้น ค. การพรรณนาไม่มีการดําเนิ นเรื่ อง ง. การพรรณนาต้องให้ผรับสารเกิดอารมณ์ร่วม ู้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๖๓
  • 25. ๕. โวหารในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น ่ ก. เสี ยงชะนีเหนี่ยวไม้อยูโหย ๆ ละห้อยวังเวงวิเวกดง ข. พี่จรจากโฉมสุ รางค์ตองห่างเชย โอ้อกเอ๋ ยอกแทบพังเหมือนฝั่งชล ้ ค. ธรรมชาติรอบข้างต่างสลดหมดความคะนองทุกสิ่ งทุกอย่าง ง. วันนี้แพรสี แสดของแดดกล้า ห่มทุ่งหญ้าป่ าเขาอย่างเหงาหงอย ๖. ข้อใดไม่ใช่สานวน ํ ก. ผีถึงป่ าช้า ข. ผีถวยแก้ว ้ ค. ผีเข้าผีออก ง. ผีตากผ้าอ้อม ๗. กลอนต่อไปนี้ สุ นทรภู่ตองการบอกสํานวนไทยว่าอย่างไร ้ “ถึงแสนคนมาวอนฉะอ้อนนํา สักแสนคําอย่าให้เคลื่อนจงเหมือนใจ” ก. ปากว่าตาขยิบ ข. ฟังหูไว้หู ค. พกหิ นดีกว่าพกนุ่น ง. ไม้หลักปักเลน ่ ๘. สํานวนไทยที่วา “ปัดสวะให้พนหน้าบ้าน” มีความหมายตรงกับข้อใด ้ ก. การเกี่ยงงอนหรื อยกภาระของตนให้ผอื่นรับแทน ู้ ข. การรักษาผลประโยชน์ของตนโดยไม่ใส่ ใจว่าผูอื่นจะเดือดร้อนเพราะการกระทํานั้น ้ ค. การไม่รับผิดชอบงานที่ตนได้รับมอบหมาย ง. การมีนิสัยมักง่าย ปั ดภาระให้พนตัว ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๖๔
  • 26. ่ ๙. “ภายนอกแสร้งทําใจดี แต่คิดร้ายอยูภายใน” กล่าวเป็ นสํานวนว่ากระไร ก. เสื อเฒ่าจําศีล ข. นํ้านิ่งไหลลึก ค. ปากหวานก้นเปรี้ ยว ง. ปากว่าตาขยิบ ๑๐. เกือบทุกข้อล้วนปลูกฝังคุณธรรมทํานองเดียวกัน ยกเว้นข้อใด ก. ตัดไฟแต่ตนลม ้ ข. มือใครยาว สาวได้สาวเอา ค. กันไว้ดีกว่าแก้ ง. นํ้าขึ้นให้รีบตัก เวลาทําอย่าแอบดูเฉลยเราต้องมีความซื่ อสัตย์ ต่อตนเองนะขอให้โชคดีทุกคนคะ พวกเราจะซื่อสั ตย์ ไม่ แอบดูคาเฉลย เย้.. ทาเสร็จแล้ว เราไปตรวจจากเฉลยกันดีกว่านะค่ะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๖๕
  • 27. เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๒ สําหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๒ คาตอบ (ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๖๖
  • 28. เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๒ ๑. จงอธิ บายความแตกต่างระหว่างคําพังเพยกับสุ ภาษิต ตอบ คําพังเพย เป็ นคํากล่าวเปรี ยบเทียบไม่มุ่งสั่งสอน ส่ วนคําสุ ภาษิต เป็ นคํากล่าวที่มุ่งสั่ง สอนเป็ นสําคัญ ่ ั ๒. มีสานวนใดบ้าง ที่แสดงให้เห็นว่าคนไทยมีชีวตผูกพันอยูกบนํ้า จงยกตัวอย่างมาให้มากที่สุด ํ ิ ตอบ นํ้าขึ้นให้รีบตัก / ตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ / นํ้าเชี่ยวอย่าขวางเรื อ / นํ้ามาปลากินมด นํ้าลดมดกินปลา / ตํานํ้าพริ กละลายแม่น้ า / ชักแม่น้ าทั้งห้า ํ ํ ๓. สํานวนมีประโยชน์ในการพูดและเขียนอย่างไรบ้าง ตอบ ทําให้เกิดความหมายลึกซึ้ ง เป็ นอรรถรสทางภาษา ทําให้ภาษาเกิดความไพเราะในเชิง เปรี ยบเทียบ ๔. หลักการใช้สานวนมีอะไรบ้าง ํ ตอบ ใช้ให้ถูกต้อง รักษาสํานวนเดิม ใช้ให้ตรงความหมาย ไม่ควรดัดแปลงสํานวน และอย่า ใช้มากจนพรํ่าเพรื่ อ ๕. จงบอกความหมายของสํานวนต่อไปนี้ ตอบ (๑) จับปลาสองมือ หมายถึง มุ่งประโยชน์ท้ ง ๒ ด้านอาจพลาดทั้ง ๒ อย่าง ั (๒) เหยียบเรื อสองแคม หมายถึง มุ่งหวังประโยชน์สองข้าง หรื อทั้งสองฝ่ ายอาจ พลาดพลั้งได้ ่ (๓) กินปูนร้อนท้อง หมายถึงมีความผิดอยูจึงเดือดร้อนใจ (๔) วัวสันหลังหวะ หมายถึงมีความผิดอยู่ (๕) กิ้งก่าได้ทอง หมายถึงหลงตัวเอง (๖) วัวลืมตีน หมายถึงลืมตัว ตรวจแบบฝึ กหัดจากเฉลยเสร็ จแล้ว ถูกกันหมดทุกข้อหรื อเปล่าเอ่ย โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๖๗
  • 29. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ข้ อ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เฉลย ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ๑. ง. ๖. ง. ๑. ง. ๖. ง. ๒. ง. ๗. ก. ๒. ง. ๗. ก. ๓. ข. ๘. ค. ๓. ข. ๘. ค. ๔. ข. ๙. ก. ๔. ข. ๙. ก. ๕. ง. ๑๐. ง. ๕. ง. ๑๐. ง. ภูมิปัญญา คื อ ความรู ้ ความสามารถที่ ได้รับการถ่ ายทอดและการ เรี ยนรู ้ สั่งสมไว้มาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อการดําเนิ นชี วิตทั้งของ ตนเองและสังคม เกณฑ์ การตัดสิ น ระดับ 0 – 4 คะแนน ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุ ง ระดับ 5 – 6 คะแนน พอใช้ ระดับ 7 – 8 คะแนน ดี ระดับ 9 – 10 คะแนน ดีมาก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั สรุ ปผลการประเมิน ่  ผ่าน  ไม่ผาน คะแนนทีได้ ่ …….. ระดับคุณภาพ ……. หน้ า ๖๘