SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
POLYMER
By Monthira Kumsorn 6/2 No.30
เนื้อหา
▪ รู้จักกับพอลิเมอร์
▪ โคพอลิเมอร์(Copolymer) & โฮโมพอลิเมอร์(Homopolymer)
▪ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์
▪ ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติม (Addition polymerization reaction)
▪ ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น (Condensation polymerization reaction)
▪ โครงสร้างและคุณสมบัติของพอลิเมอร์
▪ ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์
▪ พลาสติก (Plastic)
▪ เส้นใย
▪ ยาง
▪ สารละลายและลาเทกซ์
รู้จักกับพอลิเมอร์
พอลิเมอร์ polymer) ความหมายของพอลิเมอร์นั้นก็มาจากรากศัพท์กรีกสาคัญ 2 คา คือ Poly (จานวนมาก) และ Meros (ส่วน หรือ หน่วย)
พอลิเมอร์เป็นสารโมเลกุลขนาดใหญ่ (Macromolecule) พอลิเมอร์จะประกอบไปด้วยหน่วยซ้ากัน (repeating unit) ของมอนอเมอร์ (Monomer)
หลายๆหน่วยมาทาปฏิกิริยากัน มอนอเมอร์นี้จัดเป็นสารไมโครโมเลกุล ( Micromolecule ) ชนิดหนึ่ง พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือมอนอเมอร์
ชนิดเดียวกันทั้งหมด จัดเป็นโฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) แต่ถ้ามีมอนอเมอร์ต่างกันตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป จัดเป็นโคพอลิเมอร์ (Copolymer)
สารบางอย่างที่มีสมบัติอย่างพอลิเมอร์ เช่น สารพวกไขมันที่มีแต่ละหน่วยที่ไม่ซ้ากันนั้นจะเป็นเพียงแค่สารแมคโครโมเลกุลเท่านั้น ไม่จัดเป็นพอลิเมอร์
รู้จักกับพอลิเมอร์
พอลิเมอร์มีทั้งที่เกิดเองในธรรมชาติ (Natural polymer)
และพอลิเมอร์สังเคราะห์ (Synthetic polymer) ตัวอย่างของ โพลิเมอร์ ธรรมชาติ
ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส โปรตีน กรดนิวคลีอิก และยางธรรมชาติ ส่วนพอลิเมอร์สังเคราะห์
เช่น พลาสติก เส้นใย โฟม และกาว พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดนี้เข้ามามีบทบาท
มากในชีวิตประจาวันเราต้องใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์
และพอลิเมอร์แต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน จึงนาหน้าที่หรือนาไปใช้งานที่ต่างกันได้
พอลิเมอร์ที่เป็นที่นิยมใช้มากที่สุดคือพลาสติก ซึ่งเป็นคาที่ใช้อ้างถึงกลุ่มของวัสดุธรรมชาติ
และสังเคราะห์กลุ่มใหญ่ที่มีคุณสมบัติและการใช้งานต่างกัน
พอลิเมอร์ธรรมชาติเช่น ชแล็ก และอาพันที่ใช้มาเป็นเวลากว่าศตวรรษ พอลิเมอร์ ชีวภาพ
เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิกที่มีบทบาทสาคัญในกระบวนการทางชีวภาพ
พอลิเมอร์ธรรมชาติอื่น ๆ เช่นเซลลูโลสที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดาษและไม้
พอลิเมอร์สังเคราะห์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ บาเกไลต์, นีโอพรีน, ไนลอน,
พีวีซี, พอลิสไตรีน, พอลิอคริโลไนไตรล์ และพีวีบี การศึกษาเกี่ยวกับพอลิเมอร์
ได้แก่ เคมีพอลิเมอร์, ฟิสิกส์พอลิเมอร์ และวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์
ฝ้าย
(Natural polymer)
พลาสติก (Synthetic polymer)
โคพอลิเมอร์(Copolymer) & โฮโมพอลิเมอร์(Homopolymer)
โคพอลิเมอร์ หรือ เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Copolymer)
คือพอลิเมอร์ที่ได้จากการสังเคราะห์สารมอนอเมอร์ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป
มีความหมายโดยทั่วไปตรงข้ามกับโฮโมพอลิเมอร์ซึ่งสังเคราะห์
จากมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว
กระบวนการสังเคราะห์โคพอลิเมอร์(Copolymerization)
ยังอ้างอิงไปถึงวิธีการสังเคราะห์ทางเคมีในการสังเคราะห์โคพอลิเมอร์
โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) คือ พอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์
ชนิดเดียวกันทั้งหมด เช่น แป้ง พอลิเมอร์ และพีวีซี เป็นต้น
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์
ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติม
(Addition polymerization reaction)
ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
(Condensation polymerization reaction)
ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติม
(Addition polymerization reaction)
คือปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันที่เกิดจากมอนอเมอร์ของสารอินทรีย์ชนิดเดียวกัน ที่มี C กับ C จับกัน ด้วยพันธะคู่มารวมตัวกันเกิดสารพอลิเมอร์เพียงชนิดเดียวเท่านั้น
ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
(Condensation polymerization reaction)
คือ ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันที่เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันมากกว่า 1 หมู่ ทาปฏิกิริยากันเป็นพอลิเมอร์และสารโมเลกุลเล็ก
เช่น น้า ก๊าซแอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ เมทานอล เกิดขึ้นด้วย
โครงสร้างและคุณสมบัติของพอลิเมอร์
พอลิเมอร์แบบเส้น (Chain length polymer)
เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ สร้าง
พันธะต่อกันเป็นสายยาว โซ่พอลิเมอร์เรียงชิดกัน
มากว่าโครงสร้างแบบอื่น ๆ จึงมีความหนาแน่น
และจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุ่นเหนียวกว่า
โครงสร้างอื่น ๆ ตัวอย่าง PVC พอลิสไตรีน พอลิ
เอทิลีน
พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched polymer)
เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์
ยึดกันแตกกิ่งก้านสาขา มีทั้งโซ่สั้นและโซ่ยาว
กิ่งที่แตกจาก พอลิเมอร์ของโซ่หลัก ทาให้ไม่
สามารถจัดเรียงโซ่พอลิเมอร์ให้
ชิดกันได้มาก จึงมีความหนาแน่นและจุด
หลอมเหลวต่ายืดหยุ่นได้ ความเหนียวต่า
โครงสร้างเปลี่ยนรูปได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น ตัวอย่าง พอลิเอทิลีน
ชนิดความหนาแน่นต่า
พอลิเมอร์แบบร่างแห (Croos -linking polymer)
เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ต่อเชื่อมกัน
เป็นร่างแห พอลิเมอร์ชนิดนี้มีความแข็งแกร่ง และเปราะ
หักง่าย ตัวอย่างเบกาไลต์ เมลามีนใช้ทาถ้วยชาม
ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์
พลาสติก (Plastic)
เทอร์มอพลาสติก (Thermoplastic)
เป็นพลาสติกที่อ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน และเมื่ออุณหภูมิ
ลดลงจะแข็งตัว ถ้าให้ความร้อนอีกก็จะอ่อนตัว และสามารถทาให้
กลับเป็นรูปร่างเดิม
หรือเปลี่ยนรูปร่างได้ โดยสมบัติของพลาสติกไม่เปลี่ยนแปลง จึง
สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ พอลิเมอร์แบบนี้มีโครงสร้างแบบเส้น
หรือโซ่กิ่ง
มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์น้อยมาก เช่น พอลิเอทิลีน พอ
ลิโพรพิลีน พอสไตรีน
พลาสติกเทอร์มอเซ็ต (Thermosetting Plastic)
เป็นพลาสติกที่ขึ้นรูปด้วยการผ่านความร้อนหรือแรงดันแล้วจะม่สามารถนา
กลับมาขึ้นรูปใหม่ได้อีก เพราะพอลิเมอร์ประเภทนี้ มีการเชื่อมต่อ
ระหว่างโซ่โมเลกุลแบบร่างแห เมื่อแข็งตัวแล้วจะมีความแข็งมาก ทนต่อความร้อนและ
ความดันได้ดีกว่าเทอร์มอพลาสติก ถ้าทาให้มีอุณหภูมิสูงมากจะแตกและไหม้เป็นเถ้า
เช่น พอลิฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์ พอลิเมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ และพอลิยูรีเทน
PE (POLYETHYLENE)
1.โพลิเอทิลินเป็นพลาสติกที่นิยมใช้มากที่สุดสาหรับเป็นบรรจุภัณฑ์ นิยมผลิตเป็นถุง,
ฟิล์ม ขวด และเครื่องใช้ในครัวเรือน พลาสติกในกลุ่มนี้แบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
1.LDPE (Low density polyethylene) นิยมผลิตเป็นถุง ฟิล์มหด (Shink film)
และฟิล์มยืด (Stretch film) หรือใช้เคลือบกับวัสดุภัณฑ์ชนิดอื่น เพื่อช่วยในการปิด
ผนึกและป้องกันไอน้า
2.HDPE (High density polyethylene) นิยมผลิตเป็นขวด ถาด เครื่องใช้ใน
ครัวเรือน เพราะเป็นพลาสติกที่มีความคงรูปได้ดีกว่า LDPE หรือใช้เคลือบกับวัสดุ
ภัณฑ์อื่น เพื่อเพิ่มความแข็งแรง และช่วยในการปิดผนึก
การใข้งาน : สามารถใช้บรรจุผลิตภัณฑ์อาหารที่มีต่อการซึมผ่านเข้าออกของก๊าซ
เช่น ผักผลไม้สด (LDPE) เพราะ LDPE
ยอมให้ออกซิเจนผ่านเข้าออกได้ ป้องกันความชื้น ได้ดี เหมาะสมกับอาหาร หรือ
อุตสาหกรรมทั่วไปที่ไม่ต้องการความชื้น ไม่เมาะสมสาหรับบรรจุของเหลวที่มีส่วนผสม
ของตัวทาละลาย (solent)
PE (POLYETHYLENE)
PP (POLYPROPYLENE)
โพลิโพรพิลินเป็นพลาสติกที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับ PE แต่มีความทนทานต่อความ
ร้อนได้สูงถึง 120บ C (ในขณะที่ LDPE ทนร้อนได้ 80บ C) ป้องกันการซึมผ่านของไอ
น้าได้ดี มีความทนทานต่อสารเคมี ตัวทาละลาย วิธีการผลิตฟิล์มทาให้เกิดฟิล์ม 2
ชนิด คือ
OPP (oriented polypropylene) และ CPP (cast polypropylene)
การใช้งาน : สามารถใช้บรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร สินค้าอุตสาหกรรมทุกชนิด ไม่
เหมาะสมกับอาหารสดจาพวกผักผลไม้ เพราะอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่า ใช้บรรจุ
อาหารร้อนได้
(CPP) นิยมเรียกว่า ถุงร้อน
OPP (oriented polypropylene)
CPP (cast polypropylene)
PVC (POLYVINYLCHLORIDE : U)
เป็นพลาสติกที่สามารถทาให้มีความยืดหยุ่น และปรับปรุงแต่งคุณสมบัติของพลาสติก
ได้มาก ดังนั้น จึงก่อให้เกิดปัญหาในการใช้งานกับอาหาร เนื่องจากสารที่เติม
(plasticizer) หรือ สรตั้งต้น (monomer) สามารถหลุด (migrate) ออกมาปนเปื้อน
กับอาหารได้
การใช้งาน : เพื่อผลิตเป็นฟิล์มใช้ห่อผักผลไม้ เพราะยอมให้ไอน้าซึมผ่านได้ดี และยอม
ให้ก๊าซออกซิเจนเข้าออกได้ดี ไม่เหมาะที่จะใช้อุณหภูมิสูงเกิน 80บ C
PS (POLYSTYRENE)
โพลิสไตรีนเป็นพลาสติกที่นิยมใช้มากชนิดหนึ่ง เนื่องจากเป็นฟิล์มที่มีความใส มีวามมัน
วาวและเหนียว ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซได้ต่า และมีความคงรูปดี จึงเหมาะสาหรับ
การผลิตด้วยเครื่องจักรที่มีความเร็วสูง
การใช้งาน : ใช้ห่อ หรือทาถุงบรรจุผลิตผลเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ไม้ตัดดอก เพราะ
ก๊าซและไอ้น้าเข้า-ออกได้ดี และนิยมทาเป็นหน้าต่างของกล่องกระดาษแข็ง เพื่อให้
สามารถมองเห็นสินค้าได้ดี เนื่องจากสามารถเคลือบด้วยไอของอะลูมิเนียม
(metallizing) ได้ดี จึงนิยมทาเป็นถุงสาหรับบรรจุอาหารสาเร็จรูป ทาให้สามารถคง
รูปได้ดี
PETE (POLYETHYLENE TEREPHALATE)
เป็นพลาสติกที่มีคุณสมบัติในด้านป้องกันการซึมผ่านของไอน้าที่มี ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ
ได้ดีมาก และป้องกันการซึมผ่านของไขมันได้ดี มีความใสและควมเหนียวสูง สามารถใช้เคลือบ
กับ ไอของอะลูมิเนียมได้ จึงนิยมผลิตเป็นถุงที่ต้องการใช้อุณหภูมิสูง
การใช้งาน : ได้รับความนิยมมากในการผลิตเป็นขวดสาหรับบรรจุของเหลว เช่น เครื่องดื่ม
น้าดื่ม และน้ามัน นอกจากนี้ยังใช้เคลือบกับวัสดุอื่น ผลิตเป็นถุงสาหรับใช้ต้ม, นิ่งฆ่าเชื้อด้วย
ความร้อนสูง
ปัจจุบันเราใช้พลาสติกฟุ่มเฟือย
มาก แต่ละปีประเทศไทยมีขยะ
พลาสติกจานวนมาก ซึ่งเป็น
ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมของโลก
จึงมีความพยายามคิดค้นทา
พลาสติกที่ย่อยสลายทางชีวภาพ
(Biodedradable) มาใช้แทน แต่
พลาสติกบางชนิดก้ยังไม่สามารถ
ย่อยสลายทางชีวภาพได้ ในทาง
ปฏิบัติยังคงกาจัดขยะพลาสติก
ด้วยวิธีฝังกลบใต้ดิน และเผา ซึ่ง
ก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
ตามมา วิธีที่ดีที่สุดในการดูแล
สิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับขยะพลาสติก
คือ ลดปริมาณการใช้ให้เหลือ
เท่าที่จาเป็น และมีการนา
พลาสติกบางชนิดกลับไปผ่าน
บางขั้นตอนในการผลิต แล้วนา
กลับมาใช้งานใหม่ได้ตามเดิม
•จุดเด่นของพลาสติกแต่ละชนิดเมื่อนามาทาเป็นฟิล์มประกบ หรือรีด
ร่วมกัน
•HA = วัสดุเชื่อมประสาน
•PP = ป้องกันความชื้นได้ดี
•LDPE = ปิดผนึก
•EVIH = ป้องกันกลิ่นและออกซิเจนได้ดี
•PET = ป้องกันไอน้า และก๊าซดีมาก
•PVDC = พิมพ์ได้ง่าย
•PS = มีความใส
•Lonomer = ป้องกันการซึมผ่านของไขมัน
•CPP = ทนความร้อน
•PA = มีความเหนียว และป้องกันการซึมผ่านก๊าซดี
ส่วนประกอบของพลาสติก ตัวอย่างการใช้งาน
กระดาษ/ LDPE / Al / LDPE อาหารแห้ง
PET / Al / LDPE อาหารที่ต้องฆ่าเชื้อด้วยความร้อน
OPP / LDPE บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป
PET / LDP อาหารแช่แข็ง
PET / PVDC / CPP แฮม, เนยแข็ง, นมผง
ส่วนประกอบของพลาสติก ตัวอย่างการใช้งาน
LDPE / LDPE น้านมสดพลาสเจอร์ไรซ์
PS / lonomer ไส้กรอก, เนยแข็ง
LDPE / EVA / PP อาหารแป้งปรุงรส
LDPE / HA/ PA / HA / LDE แฮม, เนยแข็ง, นมผง
พลาสติกประกบ (IAMINATED PLASTIC SLIM)
เป็นฟิล์มพลาสติกมากกว่าหนึ่งชนิดที่นามาประกบกัน (Iamination) หรือ นาพลาสติกไปประกบกับวัสดุอื่น เช่น กระดาษ แผ่นเปลวอะลูมิเนียม
ข้อดี : เพื่อเพิ่มคุณสมบัติของวัสดุภัณฑ์ให้มีความเหมาะสมต่อการนาไปใช้มากยิ่งขึ้น เพราะพลาสติกแต่ละชนิดจะมีข้อดีต่างกัน
ข้อเสีย : พลาสติกกลุ่มนี้ก่อให้เกิดปัญหาในการนาพลาสติกกลับมาแปรรูปใหม่ เพราะไม่สามารถแยกพลาสติกแต่ละชนิดออกจากกันได้
พลาสติกรีดร่วม
(CO-EXTRUDED PLASTIC FILM)
เป็นฟิล์มที่มีมากกว่าหนึ่งชั้น อาจเป็นพลาสติกชนิดเดียวกันหรือต่างกันก็ได้
พลาสติกที่ย่อยสลายได้ (BIODEGRADABLE PLASTIC)
พลาสติกที่ย่อยสลายได้ เป็นพลาสติกที่ดัดแปลงให้มีสารที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ แทรกเข้าไปในโมเลกุลของโพลีเมอร์ของ
พลาสติก เช่น แป้ง หรือ แป้งดัดแปร (modified starch)
พลาสติก เช่น PE แม้จะเติมแป้งลงไป แต่การย่อยสลายก็จะเริ่มจากการย่อยสลายโพลีเมอร์ของพลาสติก โดยการให้ถูก
ออกซิไดซ์แสง (Photo oxidation) ก่อน หลังจากนั้น แป้งจึงจะถูกย่อยสลาย พลาสติกกลุ่มนี้การนามาแรรูปใหม่จะเป็นไป
ไม่ได้
นอกจากนี้ ฟิล์มที่ใช้ห่ออาหารที่จัดเป็นฟิล์มที่ย่อยสลายได้ สามารถผลิตจากโปรตีนหรือแป้งจากวัตถุดิบทางการเกษตร เช่น
แป้งมันสาปะหลัง แป้งถั่วเขียว พลาสติกในกลุ่มนี้ สามารถใช้ห่ออาหาร ยา ฟิล์มจะสามารถบริโภคร่วมกับอาหารหรือยาได้
ข้อจากัด คือ ต้นทุนการผลิตยังสูง และการผลิตจานวนมากยังมีปัญหาด้านเครื่องจักร
เส้นใย
เส้นใย (Fibers) คือ พอลิเมอร์ชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างของโมเลกุลสามารถนามาเป็นเส้นด้าย หรือเส้นใย จาแนกตามลักษณะการเกิดได้ดังนี้
ประเภทของเส้นใย
•เส้นใยธรรมชาติ ที่รู้จักกันดีและใกล้ตัว คือ
- เส้นใยเซลลูโลส เช่น ลินิน ปอ เส้นใยสับปะรด
- เส้นใยโปรตีน จากขนสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ
- เส้นใยไหม เป็นเส้นใยจากรังไหม
•เส้นใยสังเคราะห์ มีหลายชนิดที่ใช้กันทั่วไปคือ
- เซลลูโลสแอซีเตด เป็นพอลิเมอร์ที่เตรียมได้จากการใช้เซลลูโลสทาปฏิกิริยากับกรดอซิติกเข้มข้น โดยมีกรอซัลฟูริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การใช้ประโยชน์จาก
เซลลูโลสอะซีเตด เช่น ผลิตเป้นเส้นใยอาร์แนล 60 ผลิตเป็นแผ่นพลาสติกที่ใช้ทาแผงสวิตช์และหุ้มสายไฟ
- ไนลอน (Nylon) เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์จาพวกเส้นใย เรียกว่า “ เส้นใยพอลิเอไมด์” มีหลายชนิด เช่น ไนลอน 6,6 ไนลอน 6,10 ไนลอน 6 ซึ่งตัวเลขที่เขียน
กากับหลังชื่อจะแสดงจานวนคาร์บอนอะตอมในมอนอเมอร์ของเอมีนและกรดคาร์บอกซิลิก ไนลอนจัดเป็นพวกเทอร์มอพลาสติก มีความแข็งมากกว่าพอลิเมอร์
แบบเติมชนิดอื่น (เพราะมีแรงดึงดูดที่แข็งแรงของพันธะเพปไทด์) เป็นสารที่ติดไฟยาก (เพราะไนลอนมีพันธะ C-H ในโมเลกุลน้อยกว่าพอลิเมอร์แบบเติมชนิดอื่น)
ไนลอนสามารถทดสอบโดยผสมโซดาลาม (NaOH + Ca(OH) 2) หรือเผาจะให้ก๊าซแอมโมเนีย
- ดาครอน (Dacron) เป็นเส้นใยสังเคราะห์พวกพอลิเอสเทอร์ ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Mylar มีประโยชน์ทาเส้นใยทาเชือก และฟิล์ม
- Orlon เป็นเส้นใยสังเคราะห์ ที่เตรียมได้จาก Polycrylonitrile
ยาง
ยางพารา เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์เป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว น้ายางสดจากต้นยางมีลักษณะข้นสีขาวคล้ายน้านม มีสารหลายชนิดผสมอยู่ด้วยกัน
เมื่อทิ้งไว้จะบูดเน่าได้ ถ้าต้องการเก็บน้ายางดิบไว้เป็นเวลานานจะต้องเติมแอมโมเนียลงไปเพื่อเป็นสารกันบูดและป้องกันการจับตัวของน้ายาง
การแยกเนื้อยางจากน้ายางทาได้โดยเติมกรดบางชนิด เช่น กรดแอซีติก (CH3COOH) หรือ กรดฟอร์มิก (HCOOH) เจือจาง เพื่อทาให้เนื้อยางรวมตัวเป็นก้อนตกตะกอน
แยกออกมา โดยทั่วไปน้ายางสดมีเนื้อยางอยู่ประมาณร้อยละ 25-45 ทั้งนี้ ขึ้นกับพันธุ์ยาง อายุของต้นยาง และฤดูกาลกรีดยาง เนื้อยางที่ได้เรียกว่า ยางดิบ
สารละลายและลาเทกซ์
สารละลายและลาเทกซ์ ใช้งานในรูปของพอลิเมอร์ที่กระจายตัวในของเหลวอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นตัวทาละลายของพอลิเมอร์เอง หรือกระจายตัวเป็นอิมัลชันในน้า
ลักษณะการใช้งานคือเป็น กาว สีทาบ้าน เชลแล็ค หรือ สารเคลือบผิวอื่น ๆ พอลิเมอร์ในกลุ่มนี้ควรจะกระจายตัวได้ดี และมีความสามารถในการเชื่อม
ขวางได้ในสภาวะที่มีแสง หรือแก๊สออกซิเจนได้ หรือไม่ก็สามารถที่จะนาตัวเองไปเกี่ยวพัน (entanglement) กับวัสดุอื่น ๆ ได้
LIPID
By Monthira Kumsorn 6/2 No.30
ทาความรู้จักลิพิด
ฟอสโฟลิพิด หรือ กลีเซอโรฟอสโฟลิพิด เป็นไขมันที่เป็นองค์ประกอบหลักของเยื่อหุ้มต่างๆในสิ่งมีชีวิต โครงสร้างคล้ายไตรกลีเซอไรด์ แต่มีกรดไขมันเพียงสอง
โมเลกุล โดยอีกตาแหน่งหนึ่งจะมีหมู่ฟอสเฟตมาเกาะและจะมีสารอื่นมาเกาะที่หมู่ฟอสเฟตอีกต่อหนึ่งซึ่งเป็นการกาหนดชนิดของฟอสโฟลิพิด เช่น โคลีน (choline)
หรือ เซอรีน (serine) ถูกสร้างบนแกนกลางที่เป็น กลีเซอรอล (glycerol) ซึ่งเชื่อมต่อกับหางสองเส้นที่เป็นอนุพันธ์ของกรดไขมันโดยรูปแบบการเชื่อมต่อที่เป็นเอ
สเตอร์ (ester) และหนึ่งหัวที่มีรูปแบบการเชื่อมต่อเป็นฟอสเฟตเอสเตอร์
•กรดไขมัน เป็นสายโซ่ไฮโดรคาร์บอนที่ไม่มีสาขาและเชื่อมต่อกันด้วย
• พันธะเดี่ยว (single bonds) ตามลาพัง เช่น กรดไขมันอิ่มตัว
• ทั้งพันธะเดี่ยว (single bonds) และ พันธะคู่ (double bond) เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ส่วนหัวของฟอสโฟลิพิด ที่พบใน เมมเบรน ทางชีวภาพ
(biological membrane) คือ
•ฟอสฟาติดิลคอลีน (phosphatidylcholine-lecithin)
•ฟอสฟาติดิลเอตทาโนลามีน (phosphatidylethanolamine)
•ฟอสฟาติดิลเซอรีน (phosphatidylserine)
•ฟอสฟาติดิลอินโนซิทอล (phosphatidylinositol)
ทาความรู้จักลิพิด
ลิพิด (Lipid) หรือไขมัน คือ สารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุหลัก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน บางครั้งอาจมีไนโตรเจนและ
ฟอสฟอรัสประกอบด้วย มีคุณสมบัติที่สาคัญต่างจากคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนคือ มีคุณสมบัติไม่ละลายน้า แต่จะละลายได้ดีในตัวทาละลายอินทรีย์
(organic solvent) เช่น อีเทอร์ คลอโรฟอร์ม เบนซิน อะซิโตน เอธานอล และคาร์บอนเตตระคลอไรด์ เป็นต้น ดังนั้นในการสกัดแยกลิพิดออกจาก
เซลล์หรือเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตสามารถทาได้โดยใช้ตัวทาละลายอินทรีย์เหล่านี้ ลิพิดจะพบมากในเนื้อเยื่อของพืชและสัตว์ และจะทาหน้าที่แตกต่างกันไป
ตามชนิดและโครงสร้างทางเคมี
ลิพิดแบ่งออกเป็น ดังนี้
1.ไขมันและน้ามัน 3.ไข (waxes)
2.ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) 4.สเตรอยด์ (steroids)
ไตรกลีเซอไรด์
ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
เป็นไขมันที่ประกอบด้วยกรดไขมัน
สามโมเลกุลรวมตัวกับกลีเซ
อรอล หนึ่งโมเลกุล เป็นโมเลกุลที่
ไม่ละลายน้า เป็นพลังงานสะสมใน
สัตว์ และใช้สะสมใต้ผิวหนังเพื่อ
รักษาอุณหภูมิของร่างกาย
ตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) หรือไตรเอซิลกลีเซอรอล (Triacylglycerol) เป็นไขมันที่ประกอบด้วยกรดไขมันสามโมเลกุลรวมตัวกับกลีเซอรอลหนึ่งโมเลกุล
กรดไขมันที่มาประกอบเป็นไตรกลีเซอไรด์นั้นอาจจะเป็นกรดไขมันชนิดเดียวกัน เช่น ไตรสเตียริน มีกรดสเตียริกเป็นองค์ประกอบเท่านั้น หรือเป็นกรดไขมันคนละ
ชนิด เช่น 1-พาล์มิโทสเตียริน (1-Palmitostearin) หมายถึงไตรกลีเซอไรด์ที่กรดไขมันตัวแรกเป็นกรดพาล์มมิติก ส่วนกรดไขมันตัวที่ 2 และ 3 เป็นกรดสเตียริก
เป็นพลังงานสะสมในสัตว์ และใช้สะสมใต้ผิวหนังเพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกาย โดยสะสมในเซลล์ไขมัน (Adipocyte หรือ Fat cell) ในรูปเม็ดไขมัน หรืออยู่ในรูป
ไมเซลล์ (Micelle)
ไขมัน และน้ามัน
ไขมันและน้ามันพบได้ทั้งในพืชและสัตว์ โดยในพืชส่วนใหญ่จะพบอยู่ในเมล็ดและในผล เช่น มะพร้าว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง มะกอก ปาล์ม เมล็ดฝ้าย และเมล็ด
ทานตะวันเป็นต้นในสัตว์จะพบในไขมันสัตว์ซึ่งสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อไขมันเช่นไขมันวัวหมู แกะ เป็นต้น ไขมันและน้ามันมีหน้าที่สาคัญคือ เป็นโครงสร้างที่สาคัญของเยื่อ
หุ้มเซลล์ และเป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญ โดยที่การเผาผลาญไขมันอย่างสมบูรณ์จะให้พลังงานประมาณ 9 Kcal/g เราพบลิพิดในอาหารที่มีน้ามันเป็น
ส่วนประกอบ เช่น เนย น้ากะทิ หรืออาหารที่ทอดด้วยน้ามัน ไขมัน 1 โมเลกุล เกิดจากกลีเซอรอล 1 โมเลกุล รวมตัวกับ กรดคาร์บอกซิลิกสายยาวซึ่ง เรียกว่า
กรดไขมัน 3 โมเลกุล ดังสมการ
ไขมันที่พบส่วนใหญ่เป็นไตรเอสเทอร์ของกลีเซอรอลจึงเรียกว่า
ไตรกลีเซอไรด์ หรือไตรเอซิล - กลีเซอรอลซึ่งมีสูตรโครงสร้าง
ทั่วไปดังนี้
กรดไขมัน
กรดไขมันเป็นส่วนสาคัญที่มีบทบาทต่อสมบัติของไขมันและน้ามันมาก กรดไขมันเป็นกรดอินทรีย์ดังนั้นจึงมีหมู่ - COOH เขียนสูตร
ทั่วไปเป็น R - COOH เหมือนกรดอินทรีย์ ลักษณะโมเลกุลของไขมันส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอน (-R) มักมีคาร์บอนต่อกันเป็นสายตรง
ค่อนข้างยาว อาจจะเป็นประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว (มีพันธะคู่) ก็ได้ จึงสามารถแบ่งกรดไขมันได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid) เป็นกรดไขมันซึ่งหมู่แอลคิลมีเฉพาะพันธะเดี่ยว
2. กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acid) เป็นกรดไขมันซึ่งหมู่แอลคิล มีพันธะคู่อย่างน้อย 1 พันธะ
ตัวอย่างกรดไขมันอิ่มตัวบางชนิด ตัวอย่างกรดไขมันไม่อิ่มตัวบางชนิด
ตัวอย่างกรดไขมันในไขมันสัตว์และพืช
การเหม็นหืนของไขมัน
เกิดมาจาก 2 สาเหตุ คือ
1. เกิดจากออกซิเจนในอากาศเข้าทาปฏิกิริยาตรงตาแหน่งพันธะคู่ระหว่างอะตอม ของคาร์บอนในโมเลกุล ของกรดไขมัน ได้แอลดีไฮด์และกรดไขมันโมเลกุล
เล็กๆ ซึ่งมีกลิ่นเหม็นหืน
2. เกิดจากปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสระหว่างไขมันกับน้า โดยมีเอนไซม์จากจุลินทรีย์ในอากาศเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกรดไขมันโมเลกุลเล็ก
โดยปกติน้ามันพืชจะเหม็นหืนง่ายกว่าไขมันสัตว์ เพราะน้ามันพืชประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว อยู่มากกว่ากรดไขมันอิ่มตัว แต่ในธรรมชาติน้ามันพืชจะมี
วิตามินอีที่ช่วยป้องกันการเหม็นหืนของน้ามันพืชได้ และน้ามันพืชที่ขายทั่วไปมีการเติมสารเคมีบางชนิด เช่น BHA, BHT เพื่อป้องกันการเหม็นหืน
การใช้ประโยชน์จากน้ามัน
ถ้ามีการให้ความร้อนนานๆ เช่น การทอด ควรใช้น้ามันแบบอิ่มตัวเพราะจะเกิดปฏิกิริยากับสารอื่นได้ยาก แต่ถ้ามีการให้ความร้อนในระยะเวลาสั้นๆ เช่น
การผัด ควรใช้น้ามันแบบไม่อิ่มตัว การนาน้ามันประเภทไม่อิ่มตัวไปใช้ทอด ทาให้เกิดอนุมูลอิสระได้มาก ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ และไม่ควรนาน้ามันที่
ใช้แล้วกลับมาให้ความร้อนซ้าๆ หลายครั้ง เพราะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็ง
ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (saponification) ของไขมัน
เนื่องจากไขมันและน้ามันเป็นเอสเทอร์ ดังนั้นจึงเกิดปฏิกิริยาเคมีในทานองเดียวกับเอสเทอร์ คือ เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์
เป็นกลีเซอรอลและกรดไขมัน ในกรณีที่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในสารละลายเบส (NaOH) จะเรียกว่า ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกลีเซ
อรอล และเกลือโซเดียมของกรดไขมัน ซึ่งเรียกว่า สบู่
สบู่
โครงสร้างของสบู่ เป็นดังนี้
สิ่งสกปรกต่าง ๆ สามารถเกาะติดกับเสื้อผ้าและผิวหนังได้ก็เพราะสิ่งสกปรก
เหล่านี้เกาะติดอยู่กับไขมัน ดังนั้นถ้าสามารถละลายไขมันแยกออกไปจาก
เสื้อผ้าหรือผิวหนัง สิ่งสกปรกก็จะหลุดออกไปด้วยเป็นการทาความสะอาด
เสื้อผ้าและผิวหนัง แต่เนื่องจากไขมันเป็นโมเลกุลที่ไม่ละลายน้า ถ้าใช้น้าล้าง
อย่างเดียวสิ่งที่ติดอยู่กับไขมันก็จะไม่หลุดออกไป ถ้าใช้สบู่จะช่วยให้ทาความ
สะอาดได้ง่าย เนื่องจากโมเลกุลของสบู่ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่ไม่มี
ขั้ว (ส่วนที่เป็นสายยาวของไฮโดรคาร์บอน) และส่วนที่มีขั้ว (ปลายด้าน -
COO- Na+ )
รูปที่ 1 โครงสร้างของสบู่โซเดียมสเตียเรต
ส่วนไม่มีขั้วของสบู่จะละลายในไขมันซึ่งไม่มีขั้วได้ และส่วนที่มีขั้วจะละลายในน้าซึ่งมีขั้วได้ ดังนั้นสบู่จึงสามารถละลายได้ทั้ง
ไขมันและน้า
เมื่อสบู่ละลายน้าจะแตกตัวออกเป็นโซเดียมและคาร์บอกซิเลตไอออน
โซเดียมไอออนจะถูกล้อมรอบด้วยน้า ในขณะที่ส่วนที่เหลือของสบู่ซึ่งมีประจุลบจะเข้ามาจับกันเป็นกลุ่มโดยหันปลายด้านขั้ว
ลบไปยังโมเลกุลของน้าที่อยู่ล้อมรอบ และหันปลายด้านที่เป็นไฮโดรคาร์บอนมารวมกันตรงกลางด้านใน เรียกว่ากลุ่ม
สบู่
การที่สบู่สามารถชะล้างสิ่งสกปรกที่มีไขมันและน้ามันฉาบอยู่ได้ ก็เนื่องจาก
กลุ่มสบู่ในน้าจะหันปลายส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอนซึ่งไม่มีขั้ว เข้าไปยังส่วน
ของไขมันและน้ามันซึ่งไม่มีขั้วเหมือนกัน และดึงน้ามันออกมาเป็นหยด
เล็ก ๆ ล้อมรอบด้วยโมเลกุลสบู่ (ส่วนของคาร์บอกซีเลตจะละลายในน้า )
หยดน้ามันแต่ละหยดที่ถูกดึงออกมาจึงมีประจุลบล้อมรอบและเกิดการผลัก
กัน จึงกระจายออกไปอยู่ในน้ามีลักษณะเป็นอิมัลชั่น หลุดออกไปจาก
ผิวหน้าของสิ่งที่ต้องการทาความสะอาด
ข้อดี-ข้อด้อยของสบู่
1.สบู่ ใช้ชาระล้างสิ่งสกปรกที่ติดตามร่างกายหรือเสื้อผ้าได้
2.สบู่ใช้ทดสอบน้าอ่อน-น้ากระด้างได้
3.ในน้าอ่อนสบู่จะเกิดฟองมาก
4.ในน้ากระด้างจะเกิดไคลสบู่ (เกลือของกรดไขมันที่ไม่ละลายน้า)
ผงซักฟอก
ผงซักฟอก เป็นสารเคมีที่นักวิทยาศาสตร์สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อใช้แทนสบู่ เนื่องจากมีสมบัติดีกว่าสบู่ เมื่อใช้สบู่ในน้ากระด้างที่มี Ca2+ หรือ Mg2+ อยู่จะทาให้
ไม่เกิดฟองหรือทาให้เกิดฟองน้อย ถ้าต้องการให้เกิดฟองมากจะต้องใช้สบู่จานวนมาก ซึ่งเป็นการสิ้นเปลือง ทั้งนี้เพราะเมื่อสบู่ทาปฏิกิริยากับไอออนที่อยู่ในน้า
กระด้าง จะเกิดตะกอน หรือเกิดสารที่ไม่ละลายน้าลักษณะเป็นฝ้าลอยอยู่
แต่เมื่อใช้ผงซักฟอกแทนสบู่ เมื่อทาปฏิกิริยากับ Ca2+ หรือ Mg2+ จะเกิดเป็นสารประกอบที่ละลายน้าได้ทาให้ไม่มีฝ้าเกิดขึ้น ดังนั้นผงซักฟอกจึงมีสมบัติใน
การซักล้างได้ดีกว่าสบู่ สามารถเกิดฟองกับน้าได้ดีกว่าสบู่ทาให้สิ้นเปลืองน้อยกว่า
โครงสร้างของผงซักฟอกทั่ว ๆ ไป ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ไม่มีขั้ว ซึ่งเป็นไฮโดรคาร์บอน และส่วนที่มีขั้ว ซึ่งส่วนมากเป็นพวกเกลือซัลโฟเนต เขียน
เป็นแผนภาพทั่ว ๆ ไปได้ดังนี้
ส่วนที่ไม่มีขั้วสามารถละลายในน้ามันหรือสารอินทรีย์ที่ไม่มีขั้วได้ จึงทาให้กาจัด
พวกไขมันออกได้ ส่วนที่มีขั้วจะละลายได้ในน้า ทาให้ผงซักฟอกสามารถทา
ความสะอาดได้ทั้งสิ่งสกปรกที่มีขั้ว และไม่มีขั้ว
ผงซักฟอกบริสุทธิ์มีหลายชนิด แต่ละชนิดอาจจะมีสมบัติแตกต่างกันได้
ตามชนิดและโครงสร้างของสาร อาจจะมีจานวนคาร์บอนเท่ากัน หรือไม่เท่ากันก็
ได้ อะตอมของคาร์บอนในหมู่อัลคิลหรือในส่วนไฮโดรคาร์บอน (R-) อาจจะต่อ
เป็นสายตรงไม่มีสาขาหรืออาจจะต่อกันแบบมีสาขาก้ได้ หรืออาจจะมีวงแหวนเบน
ซีนอยู่ด้วยก็ได้
โครงสร้างของหมู่แอลคิลบนผงซักฟอก แบ่งออกเป็น3 แบบ
ฟอสโฟลิพิด
เป็นลิพิดที่เกิดจากการรวมตัวของกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับกรดไขมัน 2 โมเลกุล และ
หมู่ฟอสเฟตอีก 1 หมู่ พบมากทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เนื่องจากเป็นองค์ประกอบ
หลักของเยื่อหุ้มเซลล์ มีโครงสร้างเป็น ดังนี้
เมื่อฟอสโฟลิพิดอยู่ในน้า หรือในสารละลายที่มีน้าเป็นตัวทาละลาย อาจเกิดเป็นโครงสร้าง 2 ชั้นโดยมีส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอนหันเข้าหากัน และส่วนที่มีขั้ว
หันเข้าหาโมเลกุลของน้า ถ้าฟอสโฟลิพิดมีโมเลกุลใหญ่ โครงสร้าง 2 ชั้นจะเชื่อมต่อกันเกิดเป็นวง
โครงสร้าง 2 ชั้นจะเชื่อมต่อกันเกิดเป็นวง
ไข
ไขเป็นเอสเทอร์ เกิดจากกรดไขมัน และแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลสูง และเป็นแอลกอฮอล์ที่มีหมู่ไฮดรอกซิลเพียงหนึ่งหมู่ต่ออยู่กับโซ่
ไฮโดรคาร์บอน มีสถานะเป็นของแข็ง เช่น ขี้ผึ้ง (Bees wax)
ไขเป็นของแข็งที่มีจุดหลอมเหลวต่า มีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของกรดและแอลกอฮอล์ ที่เป็นองค์ประกอบ ไขทุกชนิดไม่ละลายน้า ไขที่พบมักเคลือบอยู่ที่ผิวของ
ใบไม้ หรือผลไม้ และที่ผิวหนังหรือขนสัตว์ ไขทาหน้าที่หล่อลื่นหรือป้องกันการสูญเสียน้าได้ดีมา ปัจจุบันมีการนาไขมาเคลือบผิวผลไม้เพื่อช่วยยืดอายุในการเก็บ
รักษา
สเตรอยด์
เป็นกลุ่มของลิพิดที่มีโครงสร้างเฉพาะ ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นวงคาร์บอน 6 เหลี่ยม 3 วงกับ 5
เหลี่ยม 1 วงกัน สเตรอยด์ไม่ละลายน้า แต่ละลายได้ในไขมันหรือตัวทาละลายอินทรีย์ สารประเภทสเตรอยด์มีหลาย
ชนิดอาจแบ่งเป็นกลุ่มได้ เช่น คอเลสเทอรอลฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมนเพศ และกรดน้าดี
ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติคอยด์เกี่ยวข้องกับกระบวนการควบคุมสมดุลของน้า และอิเล็กโทรไลต์รวมทั้งกระบวนการเผาผลาญโปรตีน และคาร์โบไฮเดรต ตัวอย่างเช่น
คอร์ติซอล จะทาหน้าที่ชะลอการสร้างโปรตีน
กรดน้าดี
ผลิตจากคอเลสเทอรอลที่ตับ และเก็บสะสมในถุงน้าดีกรดน้าดีที่สาคัญ ได้แก่ กรดโคลิก
กรดน้าดี เป็นกรดที่พบอยู่ในน้าดี ได้แก่ กรดคอลิก (cholic acid) และ กรดคีโนดีออกซีคอลิก (chenodeoxycholic acid) ตับมีหน้าที่
สังเคราะห์ กรดน้าดี จากคอเลสเตอรอล และมีบทบาทสาคัญในการย่อยและดูดซึมไขมันและน้ามันในลาไส้เล็ก
คอเลสเตอรอล
มักพบในสัตว์ คอเลสเทอรอลที่สังเคราะห์ขึ้นในร่างกาย ทาหน้าที่เป็นสารตั้งต้น
สาหรับการสังเคราะห์ สเตรอยด์อื่นในร่างกาย เช่น การสังเคราะห์กรดน้าดีที่ตับ
การสังเคราะห์ฮอร์โมนเอสโตรเจนโพรเจสเทอโรน และเทสโทสเทอโรน รวมทั้งการ
สังเคราะห์วิตามินดีที่ผิวหนัง ฮอร์โมนเอสโตรเจนโพรเจสเทอโรน และ เทสโทสเทอโรน
รวมทั้งการสังเคราะห์วิตามินดีที่ผิวหนัง
คอเลสเทอรอล มีความจาเป็นสาหรับการดารงชีวิต ถ้ามีปริมาณมากจะสะสม
และเกาะที่ผนังเส้นเลือด ทาให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือด ถ้าเกิดกับเส้นเลือดใหญ่ที่
นาเส้นเลือด เข้าสู่หัวใจจะทาให้เกิดโรคหัวใจ
ฮอร์โมนเพศ
ฮอร์โมนเพศชายที่สาคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน ทาหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์การพัฒนากล้ามเนื้อ และลักษณะเสียงของเพศ
ชาย ฮอร์โมนเพศหญิงได้แก่ โพรเจสเทอโรน ทาหน้าที่ควบคุมเยื่อบุผนังมดลูกในระหว่างที่มีการตั้งครรภ์หรือมีประจาเดือน กลุ่มของเอสโตรเจนมีหน้าที่
ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศและแสดงลักษณะเพศหญิง ควบคุมการสร้างและการหลุดลอกของเยื่อบุมดลูกก่อนและหลังมีประจาเดือน
Tips form WiKi
ไขมันอื่นๆที่มีบทบาทในสิ่งมีชีวิต
นอกจากไตรกลีเซอไรด์และฟอสโฟลิพิดแล้ว ในสิ่งมีชีวิตยังมีสารกลุ่มไขมันที่มีบทบาทสาคัญอีกหลายชนิด เช่น
•สฟิงโกลิพิด (sphingolipids) เป็นการรวมตัวของสฟิงโกซายน์ (sphingosine) กับกรดไขมันและหมู่ฟอสเฟต เป็นไขมันที่เป็นองค์ประกอบในเยื่อหุ้ม และมี
บทบาทในการจดจาระหว่างเซลล์
•สเตอรอล (sterols) เป็นไขมันที่พบในเยื่อหุ้มของเซลล์ยูคาริโอต สเตอรอลชนิดหนึ่งคือคอเลสเตอรอล พบมากในเซลล์สัตว์
•ไขมันที่เป็นตัวส่งสัญญาณระหว่างเซลล์ เช่น ฟอสฟาทิดิลอิโนซิทอล (phosphatidylinositol) เป็นตัวส่งสัญญาณเกี่ยวกับการรวมตัวของเยื่อหุ้มระหว่างเกิดการหลั่งสารออก
นอกเซลล์ หรืออีโคซานอย (eicosanoi) เป็นตัวส่งสัญญาณระหว่างเซลล์ที่อยู่ใกล้เคียงกัน
•ไขมันที่เป็นฮอร์โมน ได้แก่ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ ไขมันที่เป็นวิตามิน ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค
วิตามินเอ
วิตามินเค 1
ฟอสฟาทิดิลอิโนซิทอล

More Related Content

What's hot

บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
Wichai Likitponrak
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
netzad
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
Tanchanok Pps
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to Polymer and lipid (6)

Wcs polymer-120402100823-phpapp01
Wcs polymer-120402100823-phpapp01Wcs polymer-120402100823-phpapp01
Wcs polymer-120402100823-phpapp01
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
Plastic1
Plastic1Plastic1
Plastic1
 
Bowl recycle
Bowl recycleBowl recycle
Bowl recycle
 
Recycle plastic
Recycle plasticRecycle plastic
Recycle plastic
 
Plastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติกPlastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติก
 

Polymer and lipid

  • 2. เนื้อหา ▪ รู้จักกับพอลิเมอร์ ▪ โคพอลิเมอร์(Copolymer) & โฮโมพอลิเมอร์(Homopolymer) ▪ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ▪ ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติม (Addition polymerization reaction) ▪ ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น (Condensation polymerization reaction) ▪ โครงสร้างและคุณสมบัติของพอลิเมอร์ ▪ ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ ▪ พลาสติก (Plastic) ▪ เส้นใย ▪ ยาง ▪ สารละลายและลาเทกซ์
  • 3. รู้จักกับพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ polymer) ความหมายของพอลิเมอร์นั้นก็มาจากรากศัพท์กรีกสาคัญ 2 คา คือ Poly (จานวนมาก) และ Meros (ส่วน หรือ หน่วย) พอลิเมอร์เป็นสารโมเลกุลขนาดใหญ่ (Macromolecule) พอลิเมอร์จะประกอบไปด้วยหน่วยซ้ากัน (repeating unit) ของมอนอเมอร์ (Monomer) หลายๆหน่วยมาทาปฏิกิริยากัน มอนอเมอร์นี้จัดเป็นสารไมโครโมเลกุล ( Micromolecule ) ชนิดหนึ่ง พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือมอนอเมอร์ ชนิดเดียวกันทั้งหมด จัดเป็นโฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) แต่ถ้ามีมอนอเมอร์ต่างกันตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป จัดเป็นโคพอลิเมอร์ (Copolymer) สารบางอย่างที่มีสมบัติอย่างพอลิเมอร์ เช่น สารพวกไขมันที่มีแต่ละหน่วยที่ไม่ซ้ากันนั้นจะเป็นเพียงแค่สารแมคโครโมเลกุลเท่านั้น ไม่จัดเป็นพอลิเมอร์
  • 4. รู้จักกับพอลิเมอร์ พอลิเมอร์มีทั้งที่เกิดเองในธรรมชาติ (Natural polymer) และพอลิเมอร์สังเคราะห์ (Synthetic polymer) ตัวอย่างของ โพลิเมอร์ ธรรมชาติ ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส โปรตีน กรดนิวคลีอิก และยางธรรมชาติ ส่วนพอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น พลาสติก เส้นใย โฟม และกาว พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดนี้เข้ามามีบทบาท มากในชีวิตประจาวันเราต้องใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์ และพอลิเมอร์แต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน จึงนาหน้าที่หรือนาไปใช้งานที่ต่างกันได้ พอลิเมอร์ที่เป็นที่นิยมใช้มากที่สุดคือพลาสติก ซึ่งเป็นคาที่ใช้อ้างถึงกลุ่มของวัสดุธรรมชาติ และสังเคราะห์กลุ่มใหญ่ที่มีคุณสมบัติและการใช้งานต่างกัน พอลิเมอร์ธรรมชาติเช่น ชแล็ก และอาพันที่ใช้มาเป็นเวลากว่าศตวรรษ พอลิเมอร์ ชีวภาพ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิกที่มีบทบาทสาคัญในกระบวนการทางชีวภาพ พอลิเมอร์ธรรมชาติอื่น ๆ เช่นเซลลูโลสที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดาษและไม้ พอลิเมอร์สังเคราะห์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ บาเกไลต์, นีโอพรีน, ไนลอน, พีวีซี, พอลิสไตรีน, พอลิอคริโลไนไตรล์ และพีวีบี การศึกษาเกี่ยวกับพอลิเมอร์ ได้แก่ เคมีพอลิเมอร์, ฟิสิกส์พอลิเมอร์ และวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ ฝ้าย (Natural polymer) พลาสติก (Synthetic polymer)
  • 5. โคพอลิเมอร์(Copolymer) & โฮโมพอลิเมอร์(Homopolymer) โคพอลิเมอร์ หรือ เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Copolymer) คือพอลิเมอร์ที่ได้จากการสังเคราะห์สารมอนอเมอร์ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป มีความหมายโดยทั่วไปตรงข้ามกับโฮโมพอลิเมอร์ซึ่งสังเคราะห์ จากมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว กระบวนการสังเคราะห์โคพอลิเมอร์(Copolymerization) ยังอ้างอิงไปถึงวิธีการสังเคราะห์ทางเคมีในการสังเคราะห์โคพอลิเมอร์ โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) คือ พอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ ชนิดเดียวกันทั้งหมด เช่น แป้ง พอลิเมอร์ และพีวีซี เป็นต้น
  • 7. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติม (Addition polymerization reaction) คือปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันที่เกิดจากมอนอเมอร์ของสารอินทรีย์ชนิดเดียวกัน ที่มี C กับ C จับกัน ด้วยพันธะคู่มารวมตัวกันเกิดสารพอลิเมอร์เพียงชนิดเดียวเท่านั้น
  • 8. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น (Condensation polymerization reaction) คือ ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันที่เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันมากกว่า 1 หมู่ ทาปฏิกิริยากันเป็นพอลิเมอร์และสารโมเลกุลเล็ก เช่น น้า ก๊าซแอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ เมทานอล เกิดขึ้นด้วย
  • 9. โครงสร้างและคุณสมบัติของพอลิเมอร์ พอลิเมอร์แบบเส้น (Chain length polymer) เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ สร้าง พันธะต่อกันเป็นสายยาว โซ่พอลิเมอร์เรียงชิดกัน มากว่าโครงสร้างแบบอื่น ๆ จึงมีความหนาแน่น และจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุ่นเหนียวกว่า โครงสร้างอื่น ๆ ตัวอย่าง PVC พอลิสไตรีน พอลิ เอทิลีน พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched polymer) เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ ยึดกันแตกกิ่งก้านสาขา มีทั้งโซ่สั้นและโซ่ยาว กิ่งที่แตกจาก พอลิเมอร์ของโซ่หลัก ทาให้ไม่ สามารถจัดเรียงโซ่พอลิเมอร์ให้ ชิดกันได้มาก จึงมีความหนาแน่นและจุด หลอมเหลวต่ายืดหยุ่นได้ ความเหนียวต่า โครงสร้างเปลี่ยนรูปได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิ เพิ่มขึ้น ตัวอย่าง พอลิเอทิลีน ชนิดความหนาแน่นต่า พอลิเมอร์แบบร่างแห (Croos -linking polymer) เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ต่อเชื่อมกัน เป็นร่างแห พอลิเมอร์ชนิดนี้มีความแข็งแกร่ง และเปราะ หักง่าย ตัวอย่างเบกาไลต์ เมลามีนใช้ทาถ้วยชาม
  • 11. พลาสติก (Plastic) เทอร์มอพลาสติก (Thermoplastic) เป็นพลาสติกที่อ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน และเมื่ออุณหภูมิ ลดลงจะแข็งตัว ถ้าให้ความร้อนอีกก็จะอ่อนตัว และสามารถทาให้ กลับเป็นรูปร่างเดิม หรือเปลี่ยนรูปร่างได้ โดยสมบัติของพลาสติกไม่เปลี่ยนแปลง จึง สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ พอลิเมอร์แบบนี้มีโครงสร้างแบบเส้น หรือโซ่กิ่ง มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์น้อยมาก เช่น พอลิเอทิลีน พอ ลิโพรพิลีน พอสไตรีน พลาสติกเทอร์มอเซ็ต (Thermosetting Plastic) เป็นพลาสติกที่ขึ้นรูปด้วยการผ่านความร้อนหรือแรงดันแล้วจะม่สามารถนา กลับมาขึ้นรูปใหม่ได้อีก เพราะพอลิเมอร์ประเภทนี้ มีการเชื่อมต่อ ระหว่างโซ่โมเลกุลแบบร่างแห เมื่อแข็งตัวแล้วจะมีความแข็งมาก ทนต่อความร้อนและ ความดันได้ดีกว่าเทอร์มอพลาสติก ถ้าทาให้มีอุณหภูมิสูงมากจะแตกและไหม้เป็นเถ้า เช่น พอลิฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์ พอลิเมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ และพอลิยูรีเทน
  • 12.
  • 13. PE (POLYETHYLENE) 1.โพลิเอทิลินเป็นพลาสติกที่นิยมใช้มากที่สุดสาหรับเป็นบรรจุภัณฑ์ นิยมผลิตเป็นถุง, ฟิล์ม ขวด และเครื่องใช้ในครัวเรือน พลาสติกในกลุ่มนี้แบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ 1.LDPE (Low density polyethylene) นิยมผลิตเป็นถุง ฟิล์มหด (Shink film) และฟิล์มยืด (Stretch film) หรือใช้เคลือบกับวัสดุภัณฑ์ชนิดอื่น เพื่อช่วยในการปิด ผนึกและป้องกันไอน้า 2.HDPE (High density polyethylene) นิยมผลิตเป็นขวด ถาด เครื่องใช้ใน ครัวเรือน เพราะเป็นพลาสติกที่มีความคงรูปได้ดีกว่า LDPE หรือใช้เคลือบกับวัสดุ ภัณฑ์อื่น เพื่อเพิ่มความแข็งแรง และช่วยในการปิดผนึก การใข้งาน : สามารถใช้บรรจุผลิตภัณฑ์อาหารที่มีต่อการซึมผ่านเข้าออกของก๊าซ เช่น ผักผลไม้สด (LDPE) เพราะ LDPE ยอมให้ออกซิเจนผ่านเข้าออกได้ ป้องกันความชื้น ได้ดี เหมาะสมกับอาหาร หรือ อุตสาหกรรมทั่วไปที่ไม่ต้องการความชื้น ไม่เมาะสมสาหรับบรรจุของเหลวที่มีส่วนผสม ของตัวทาละลาย (solent) PE (POLYETHYLENE)
  • 14. PP (POLYPROPYLENE) โพลิโพรพิลินเป็นพลาสติกที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับ PE แต่มีความทนทานต่อความ ร้อนได้สูงถึง 120บ C (ในขณะที่ LDPE ทนร้อนได้ 80บ C) ป้องกันการซึมผ่านของไอ น้าได้ดี มีความทนทานต่อสารเคมี ตัวทาละลาย วิธีการผลิตฟิล์มทาให้เกิดฟิล์ม 2 ชนิด คือ OPP (oriented polypropylene) และ CPP (cast polypropylene) การใช้งาน : สามารถใช้บรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร สินค้าอุตสาหกรรมทุกชนิด ไม่ เหมาะสมกับอาหารสดจาพวกผักผลไม้ เพราะอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่า ใช้บรรจุ อาหารร้อนได้ (CPP) นิยมเรียกว่า ถุงร้อน OPP (oriented polypropylene) CPP (cast polypropylene)
  • 15. PVC (POLYVINYLCHLORIDE : U) เป็นพลาสติกที่สามารถทาให้มีความยืดหยุ่น และปรับปรุงแต่งคุณสมบัติของพลาสติก ได้มาก ดังนั้น จึงก่อให้เกิดปัญหาในการใช้งานกับอาหาร เนื่องจากสารที่เติม (plasticizer) หรือ สรตั้งต้น (monomer) สามารถหลุด (migrate) ออกมาปนเปื้อน กับอาหารได้ การใช้งาน : เพื่อผลิตเป็นฟิล์มใช้ห่อผักผลไม้ เพราะยอมให้ไอน้าซึมผ่านได้ดี และยอม ให้ก๊าซออกซิเจนเข้าออกได้ดี ไม่เหมาะที่จะใช้อุณหภูมิสูงเกิน 80บ C
  • 16. PS (POLYSTYRENE) โพลิสไตรีนเป็นพลาสติกที่นิยมใช้มากชนิดหนึ่ง เนื่องจากเป็นฟิล์มที่มีความใส มีวามมัน วาวและเหนียว ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซได้ต่า และมีความคงรูปดี จึงเหมาะสาหรับ การผลิตด้วยเครื่องจักรที่มีความเร็วสูง การใช้งาน : ใช้ห่อ หรือทาถุงบรรจุผลิตผลเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ไม้ตัดดอก เพราะ ก๊าซและไอ้น้าเข้า-ออกได้ดี และนิยมทาเป็นหน้าต่างของกล่องกระดาษแข็ง เพื่อให้ สามารถมองเห็นสินค้าได้ดี เนื่องจากสามารถเคลือบด้วยไอของอะลูมิเนียม (metallizing) ได้ดี จึงนิยมทาเป็นถุงสาหรับบรรจุอาหารสาเร็จรูป ทาให้สามารถคง รูปได้ดี
  • 17. PETE (POLYETHYLENE TEREPHALATE) เป็นพลาสติกที่มีคุณสมบัติในด้านป้องกันการซึมผ่านของไอน้าที่มี ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ ได้ดีมาก และป้องกันการซึมผ่านของไขมันได้ดี มีความใสและควมเหนียวสูง สามารถใช้เคลือบ กับ ไอของอะลูมิเนียมได้ จึงนิยมผลิตเป็นถุงที่ต้องการใช้อุณหภูมิสูง การใช้งาน : ได้รับความนิยมมากในการผลิตเป็นขวดสาหรับบรรจุของเหลว เช่น เครื่องดื่ม น้าดื่ม และน้ามัน นอกจากนี้ยังใช้เคลือบกับวัสดุอื่น ผลิตเป็นถุงสาหรับใช้ต้ม, นิ่งฆ่าเชื้อด้วย ความร้อนสูง
  • 18. ปัจจุบันเราใช้พลาสติกฟุ่มเฟือย มาก แต่ละปีประเทศไทยมีขยะ พลาสติกจานวนมาก ซึ่งเป็น ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมของโลก จึงมีความพยายามคิดค้นทา พลาสติกที่ย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodedradable) มาใช้แทน แต่ พลาสติกบางชนิดก้ยังไม่สามารถ ย่อยสลายทางชีวภาพได้ ในทาง ปฏิบัติยังคงกาจัดขยะพลาสติก ด้วยวิธีฝังกลบใต้ดิน และเผา ซึ่ง ก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ตามมา วิธีที่ดีที่สุดในการดูแล สิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับขยะพลาสติก คือ ลดปริมาณการใช้ให้เหลือ เท่าที่จาเป็น และมีการนา พลาสติกบางชนิดกลับไปผ่าน บางขั้นตอนในการผลิต แล้วนา กลับมาใช้งานใหม่ได้ตามเดิม
  • 19. •จุดเด่นของพลาสติกแต่ละชนิดเมื่อนามาทาเป็นฟิล์มประกบ หรือรีด ร่วมกัน •HA = วัสดุเชื่อมประสาน •PP = ป้องกันความชื้นได้ดี •LDPE = ปิดผนึก •EVIH = ป้องกันกลิ่นและออกซิเจนได้ดี •PET = ป้องกันไอน้า และก๊าซดีมาก •PVDC = พิมพ์ได้ง่าย •PS = มีความใส •Lonomer = ป้องกันการซึมผ่านของไขมัน •CPP = ทนความร้อน •PA = มีความเหนียว และป้องกันการซึมผ่านก๊าซดี ส่วนประกอบของพลาสติก ตัวอย่างการใช้งาน กระดาษ/ LDPE / Al / LDPE อาหารแห้ง PET / Al / LDPE อาหารที่ต้องฆ่าเชื้อด้วยความร้อน OPP / LDPE บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป PET / LDP อาหารแช่แข็ง PET / PVDC / CPP แฮม, เนยแข็ง, นมผง ส่วนประกอบของพลาสติก ตัวอย่างการใช้งาน LDPE / LDPE น้านมสดพลาสเจอร์ไรซ์ PS / lonomer ไส้กรอก, เนยแข็ง LDPE / EVA / PP อาหารแป้งปรุงรส LDPE / HA/ PA / HA / LDE แฮม, เนยแข็ง, นมผง พลาสติกประกบ (IAMINATED PLASTIC SLIM) เป็นฟิล์มพลาสติกมากกว่าหนึ่งชนิดที่นามาประกบกัน (Iamination) หรือ นาพลาสติกไปประกบกับวัสดุอื่น เช่น กระดาษ แผ่นเปลวอะลูมิเนียม ข้อดี : เพื่อเพิ่มคุณสมบัติของวัสดุภัณฑ์ให้มีความเหมาะสมต่อการนาไปใช้มากยิ่งขึ้น เพราะพลาสติกแต่ละชนิดจะมีข้อดีต่างกัน ข้อเสีย : พลาสติกกลุ่มนี้ก่อให้เกิดปัญหาในการนาพลาสติกกลับมาแปรรูปใหม่ เพราะไม่สามารถแยกพลาสติกแต่ละชนิดออกจากกันได้ พลาสติกรีดร่วม (CO-EXTRUDED PLASTIC FILM) เป็นฟิล์มที่มีมากกว่าหนึ่งชั้น อาจเป็นพลาสติกชนิดเดียวกันหรือต่างกันก็ได้
  • 20. พลาสติกที่ย่อยสลายได้ (BIODEGRADABLE PLASTIC) พลาสติกที่ย่อยสลายได้ เป็นพลาสติกที่ดัดแปลงให้มีสารที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ แทรกเข้าไปในโมเลกุลของโพลีเมอร์ของ พลาสติก เช่น แป้ง หรือ แป้งดัดแปร (modified starch) พลาสติก เช่น PE แม้จะเติมแป้งลงไป แต่การย่อยสลายก็จะเริ่มจากการย่อยสลายโพลีเมอร์ของพลาสติก โดยการให้ถูก ออกซิไดซ์แสง (Photo oxidation) ก่อน หลังจากนั้น แป้งจึงจะถูกย่อยสลาย พลาสติกกลุ่มนี้การนามาแรรูปใหม่จะเป็นไป ไม่ได้ นอกจากนี้ ฟิล์มที่ใช้ห่ออาหารที่จัดเป็นฟิล์มที่ย่อยสลายได้ สามารถผลิตจากโปรตีนหรือแป้งจากวัตถุดิบทางการเกษตร เช่น แป้งมันสาปะหลัง แป้งถั่วเขียว พลาสติกในกลุ่มนี้ สามารถใช้ห่ออาหาร ยา ฟิล์มจะสามารถบริโภคร่วมกับอาหารหรือยาได้ ข้อจากัด คือ ต้นทุนการผลิตยังสูง และการผลิตจานวนมากยังมีปัญหาด้านเครื่องจักร
  • 21. เส้นใย เส้นใย (Fibers) คือ พอลิเมอร์ชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างของโมเลกุลสามารถนามาเป็นเส้นด้าย หรือเส้นใย จาแนกตามลักษณะการเกิดได้ดังนี้ ประเภทของเส้นใย •เส้นใยธรรมชาติ ที่รู้จักกันดีและใกล้ตัว คือ - เส้นใยเซลลูโลส เช่น ลินิน ปอ เส้นใยสับปะรด - เส้นใยโปรตีน จากขนสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ - เส้นใยไหม เป็นเส้นใยจากรังไหม •เส้นใยสังเคราะห์ มีหลายชนิดที่ใช้กันทั่วไปคือ - เซลลูโลสแอซีเตด เป็นพอลิเมอร์ที่เตรียมได้จากการใช้เซลลูโลสทาปฏิกิริยากับกรดอซิติกเข้มข้น โดยมีกรอซัลฟูริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การใช้ประโยชน์จาก เซลลูโลสอะซีเตด เช่น ผลิตเป้นเส้นใยอาร์แนล 60 ผลิตเป็นแผ่นพลาสติกที่ใช้ทาแผงสวิตช์และหุ้มสายไฟ - ไนลอน (Nylon) เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์จาพวกเส้นใย เรียกว่า “ เส้นใยพอลิเอไมด์” มีหลายชนิด เช่น ไนลอน 6,6 ไนลอน 6,10 ไนลอน 6 ซึ่งตัวเลขที่เขียน กากับหลังชื่อจะแสดงจานวนคาร์บอนอะตอมในมอนอเมอร์ของเอมีนและกรดคาร์บอกซิลิก ไนลอนจัดเป็นพวกเทอร์มอพลาสติก มีความแข็งมากกว่าพอลิเมอร์ แบบเติมชนิดอื่น (เพราะมีแรงดึงดูดที่แข็งแรงของพันธะเพปไทด์) เป็นสารที่ติดไฟยาก (เพราะไนลอนมีพันธะ C-H ในโมเลกุลน้อยกว่าพอลิเมอร์แบบเติมชนิดอื่น) ไนลอนสามารถทดสอบโดยผสมโซดาลาม (NaOH + Ca(OH) 2) หรือเผาจะให้ก๊าซแอมโมเนีย - ดาครอน (Dacron) เป็นเส้นใยสังเคราะห์พวกพอลิเอสเทอร์ ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Mylar มีประโยชน์ทาเส้นใยทาเชือก และฟิล์ม - Orlon เป็นเส้นใยสังเคราะห์ ที่เตรียมได้จาก Polycrylonitrile
  • 22. ยาง ยางพารา เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์เป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว น้ายางสดจากต้นยางมีลักษณะข้นสีขาวคล้ายน้านม มีสารหลายชนิดผสมอยู่ด้วยกัน เมื่อทิ้งไว้จะบูดเน่าได้ ถ้าต้องการเก็บน้ายางดิบไว้เป็นเวลานานจะต้องเติมแอมโมเนียลงไปเพื่อเป็นสารกันบูดและป้องกันการจับตัวของน้ายาง การแยกเนื้อยางจากน้ายางทาได้โดยเติมกรดบางชนิด เช่น กรดแอซีติก (CH3COOH) หรือ กรดฟอร์มิก (HCOOH) เจือจาง เพื่อทาให้เนื้อยางรวมตัวเป็นก้อนตกตะกอน แยกออกมา โดยทั่วไปน้ายางสดมีเนื้อยางอยู่ประมาณร้อยละ 25-45 ทั้งนี้ ขึ้นกับพันธุ์ยาง อายุของต้นยาง และฤดูกาลกรีดยาง เนื้อยางที่ได้เรียกว่า ยางดิบ
  • 23. สารละลายและลาเทกซ์ สารละลายและลาเทกซ์ ใช้งานในรูปของพอลิเมอร์ที่กระจายตัวในของเหลวอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นตัวทาละลายของพอลิเมอร์เอง หรือกระจายตัวเป็นอิมัลชันในน้า ลักษณะการใช้งานคือเป็น กาว สีทาบ้าน เชลแล็ค หรือ สารเคลือบผิวอื่น ๆ พอลิเมอร์ในกลุ่มนี้ควรจะกระจายตัวได้ดี และมีความสามารถในการเชื่อม ขวางได้ในสภาวะที่มีแสง หรือแก๊สออกซิเจนได้ หรือไม่ก็สามารถที่จะนาตัวเองไปเกี่ยวพัน (entanglement) กับวัสดุอื่น ๆ ได้
  • 25. ทาความรู้จักลิพิด ฟอสโฟลิพิด หรือ กลีเซอโรฟอสโฟลิพิด เป็นไขมันที่เป็นองค์ประกอบหลักของเยื่อหุ้มต่างๆในสิ่งมีชีวิต โครงสร้างคล้ายไตรกลีเซอไรด์ แต่มีกรดไขมันเพียงสอง โมเลกุล โดยอีกตาแหน่งหนึ่งจะมีหมู่ฟอสเฟตมาเกาะและจะมีสารอื่นมาเกาะที่หมู่ฟอสเฟตอีกต่อหนึ่งซึ่งเป็นการกาหนดชนิดของฟอสโฟลิพิด เช่น โคลีน (choline) หรือ เซอรีน (serine) ถูกสร้างบนแกนกลางที่เป็น กลีเซอรอล (glycerol) ซึ่งเชื่อมต่อกับหางสองเส้นที่เป็นอนุพันธ์ของกรดไขมันโดยรูปแบบการเชื่อมต่อที่เป็นเอ สเตอร์ (ester) และหนึ่งหัวที่มีรูปแบบการเชื่อมต่อเป็นฟอสเฟตเอสเตอร์ •กรดไขมัน เป็นสายโซ่ไฮโดรคาร์บอนที่ไม่มีสาขาและเชื่อมต่อกันด้วย • พันธะเดี่ยว (single bonds) ตามลาพัง เช่น กรดไขมันอิ่มตัว • ทั้งพันธะเดี่ยว (single bonds) และ พันธะคู่ (double bond) เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ส่วนหัวของฟอสโฟลิพิด ที่พบใน เมมเบรน ทางชีวภาพ (biological membrane) คือ •ฟอสฟาติดิลคอลีน (phosphatidylcholine-lecithin) •ฟอสฟาติดิลเอตทาโนลามีน (phosphatidylethanolamine) •ฟอสฟาติดิลเซอรีน (phosphatidylserine) •ฟอสฟาติดิลอินโนซิทอล (phosphatidylinositol)
  • 26. ทาความรู้จักลิพิด ลิพิด (Lipid) หรือไขมัน คือ สารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุหลัก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน บางครั้งอาจมีไนโตรเจนและ ฟอสฟอรัสประกอบด้วย มีคุณสมบัติที่สาคัญต่างจากคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนคือ มีคุณสมบัติไม่ละลายน้า แต่จะละลายได้ดีในตัวทาละลายอินทรีย์ (organic solvent) เช่น อีเทอร์ คลอโรฟอร์ม เบนซิน อะซิโตน เอธานอล และคาร์บอนเตตระคลอไรด์ เป็นต้น ดังนั้นในการสกัดแยกลิพิดออกจาก เซลล์หรือเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตสามารถทาได้โดยใช้ตัวทาละลายอินทรีย์เหล่านี้ ลิพิดจะพบมากในเนื้อเยื่อของพืชและสัตว์ และจะทาหน้าที่แตกต่างกันไป ตามชนิดและโครงสร้างทางเคมี ลิพิดแบ่งออกเป็น ดังนี้ 1.ไขมันและน้ามัน 3.ไข (waxes) 2.ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) 4.สเตรอยด์ (steroids)
  • 27. ไตรกลีเซอไรด์ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) เป็นไขมันที่ประกอบด้วยกรดไขมัน สามโมเลกุลรวมตัวกับกลีเซ อรอล หนึ่งโมเลกุล เป็นโมเลกุลที่ ไม่ละลายน้า เป็นพลังงานสะสมใน สัตว์ และใช้สะสมใต้ผิวหนังเพื่อ รักษาอุณหภูมิของร่างกาย ตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) หรือไตรเอซิลกลีเซอรอล (Triacylglycerol) เป็นไขมันที่ประกอบด้วยกรดไขมันสามโมเลกุลรวมตัวกับกลีเซอรอลหนึ่งโมเลกุล กรดไขมันที่มาประกอบเป็นไตรกลีเซอไรด์นั้นอาจจะเป็นกรดไขมันชนิดเดียวกัน เช่น ไตรสเตียริน มีกรดสเตียริกเป็นองค์ประกอบเท่านั้น หรือเป็นกรดไขมันคนละ ชนิด เช่น 1-พาล์มิโทสเตียริน (1-Palmitostearin) หมายถึงไตรกลีเซอไรด์ที่กรดไขมันตัวแรกเป็นกรดพาล์มมิติก ส่วนกรดไขมันตัวที่ 2 และ 3 เป็นกรดสเตียริก เป็นพลังงานสะสมในสัตว์ และใช้สะสมใต้ผิวหนังเพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกาย โดยสะสมในเซลล์ไขมัน (Adipocyte หรือ Fat cell) ในรูปเม็ดไขมัน หรืออยู่ในรูป ไมเซลล์ (Micelle)
  • 28. ไขมัน และน้ามัน ไขมันและน้ามันพบได้ทั้งในพืชและสัตว์ โดยในพืชส่วนใหญ่จะพบอยู่ในเมล็ดและในผล เช่น มะพร้าว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง มะกอก ปาล์ม เมล็ดฝ้าย และเมล็ด ทานตะวันเป็นต้นในสัตว์จะพบในไขมันสัตว์ซึ่งสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อไขมันเช่นไขมันวัวหมู แกะ เป็นต้น ไขมันและน้ามันมีหน้าที่สาคัญคือ เป็นโครงสร้างที่สาคัญของเยื่อ หุ้มเซลล์ และเป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญ โดยที่การเผาผลาญไขมันอย่างสมบูรณ์จะให้พลังงานประมาณ 9 Kcal/g เราพบลิพิดในอาหารที่มีน้ามันเป็น ส่วนประกอบ เช่น เนย น้ากะทิ หรืออาหารที่ทอดด้วยน้ามัน ไขมัน 1 โมเลกุล เกิดจากกลีเซอรอล 1 โมเลกุล รวมตัวกับ กรดคาร์บอกซิลิกสายยาวซึ่ง เรียกว่า กรดไขมัน 3 โมเลกุล ดังสมการ ไขมันที่พบส่วนใหญ่เป็นไตรเอสเทอร์ของกลีเซอรอลจึงเรียกว่า ไตรกลีเซอไรด์ หรือไตรเอซิล - กลีเซอรอลซึ่งมีสูตรโครงสร้าง ทั่วไปดังนี้
  • 29. กรดไขมัน กรดไขมันเป็นส่วนสาคัญที่มีบทบาทต่อสมบัติของไขมันและน้ามันมาก กรดไขมันเป็นกรดอินทรีย์ดังนั้นจึงมีหมู่ - COOH เขียนสูตร ทั่วไปเป็น R - COOH เหมือนกรดอินทรีย์ ลักษณะโมเลกุลของไขมันส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอน (-R) มักมีคาร์บอนต่อกันเป็นสายตรง ค่อนข้างยาว อาจจะเป็นประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว (มีพันธะคู่) ก็ได้ จึงสามารถแบ่งกรดไขมันได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid) เป็นกรดไขมันซึ่งหมู่แอลคิลมีเฉพาะพันธะเดี่ยว 2. กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acid) เป็นกรดไขมันซึ่งหมู่แอลคิล มีพันธะคู่อย่างน้อย 1 พันธะ ตัวอย่างกรดไขมันอิ่มตัวบางชนิด ตัวอย่างกรดไขมันไม่อิ่มตัวบางชนิด
  • 31. การเหม็นหืนของไขมัน เกิดมาจาก 2 สาเหตุ คือ 1. เกิดจากออกซิเจนในอากาศเข้าทาปฏิกิริยาตรงตาแหน่งพันธะคู่ระหว่างอะตอม ของคาร์บอนในโมเลกุล ของกรดไขมัน ได้แอลดีไฮด์และกรดไขมันโมเลกุล เล็กๆ ซึ่งมีกลิ่นเหม็นหืน 2. เกิดจากปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสระหว่างไขมันกับน้า โดยมีเอนไซม์จากจุลินทรีย์ในอากาศเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกรดไขมันโมเลกุลเล็ก โดยปกติน้ามันพืชจะเหม็นหืนง่ายกว่าไขมันสัตว์ เพราะน้ามันพืชประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว อยู่มากกว่ากรดไขมันอิ่มตัว แต่ในธรรมชาติน้ามันพืชจะมี วิตามินอีที่ช่วยป้องกันการเหม็นหืนของน้ามันพืชได้ และน้ามันพืชที่ขายทั่วไปมีการเติมสารเคมีบางชนิด เช่น BHA, BHT เพื่อป้องกันการเหม็นหืน การใช้ประโยชน์จากน้ามัน ถ้ามีการให้ความร้อนนานๆ เช่น การทอด ควรใช้น้ามันแบบอิ่มตัวเพราะจะเกิดปฏิกิริยากับสารอื่นได้ยาก แต่ถ้ามีการให้ความร้อนในระยะเวลาสั้นๆ เช่น การผัด ควรใช้น้ามันแบบไม่อิ่มตัว การนาน้ามันประเภทไม่อิ่มตัวไปใช้ทอด ทาให้เกิดอนุมูลอิสระได้มาก ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ และไม่ควรนาน้ามันที่ ใช้แล้วกลับมาให้ความร้อนซ้าๆ หลายครั้ง เพราะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็ง
  • 32. ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (saponification) ของไขมัน เนื่องจากไขมันและน้ามันเป็นเอสเทอร์ ดังนั้นจึงเกิดปฏิกิริยาเคมีในทานองเดียวกับเอสเทอร์ คือ เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์ เป็นกลีเซอรอลและกรดไขมัน ในกรณีที่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในสารละลายเบส (NaOH) จะเรียกว่า ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกลีเซ อรอล และเกลือโซเดียมของกรดไขมัน ซึ่งเรียกว่า สบู่
  • 33. สบู่ โครงสร้างของสบู่ เป็นดังนี้ สิ่งสกปรกต่าง ๆ สามารถเกาะติดกับเสื้อผ้าและผิวหนังได้ก็เพราะสิ่งสกปรก เหล่านี้เกาะติดอยู่กับไขมัน ดังนั้นถ้าสามารถละลายไขมันแยกออกไปจาก เสื้อผ้าหรือผิวหนัง สิ่งสกปรกก็จะหลุดออกไปด้วยเป็นการทาความสะอาด เสื้อผ้าและผิวหนัง แต่เนื่องจากไขมันเป็นโมเลกุลที่ไม่ละลายน้า ถ้าใช้น้าล้าง อย่างเดียวสิ่งที่ติดอยู่กับไขมันก็จะไม่หลุดออกไป ถ้าใช้สบู่จะช่วยให้ทาความ สะอาดได้ง่าย เนื่องจากโมเลกุลของสบู่ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่ไม่มี ขั้ว (ส่วนที่เป็นสายยาวของไฮโดรคาร์บอน) และส่วนที่มีขั้ว (ปลายด้าน - COO- Na+ )
  • 34. รูปที่ 1 โครงสร้างของสบู่โซเดียมสเตียเรต ส่วนไม่มีขั้วของสบู่จะละลายในไขมันซึ่งไม่มีขั้วได้ และส่วนที่มีขั้วจะละลายในน้าซึ่งมีขั้วได้ ดังนั้นสบู่จึงสามารถละลายได้ทั้ง ไขมันและน้า เมื่อสบู่ละลายน้าจะแตกตัวออกเป็นโซเดียมและคาร์บอกซิเลตไอออน โซเดียมไอออนจะถูกล้อมรอบด้วยน้า ในขณะที่ส่วนที่เหลือของสบู่ซึ่งมีประจุลบจะเข้ามาจับกันเป็นกลุ่มโดยหันปลายด้านขั้ว ลบไปยังโมเลกุลของน้าที่อยู่ล้อมรอบ และหันปลายด้านที่เป็นไฮโดรคาร์บอนมารวมกันตรงกลางด้านใน เรียกว่ากลุ่ม สบู่ การที่สบู่สามารถชะล้างสิ่งสกปรกที่มีไขมันและน้ามันฉาบอยู่ได้ ก็เนื่องจาก กลุ่มสบู่ในน้าจะหันปลายส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอนซึ่งไม่มีขั้ว เข้าไปยังส่วน ของไขมันและน้ามันซึ่งไม่มีขั้วเหมือนกัน และดึงน้ามันออกมาเป็นหยด เล็ก ๆ ล้อมรอบด้วยโมเลกุลสบู่ (ส่วนของคาร์บอกซีเลตจะละลายในน้า ) หยดน้ามันแต่ละหยดที่ถูกดึงออกมาจึงมีประจุลบล้อมรอบและเกิดการผลัก กัน จึงกระจายออกไปอยู่ในน้ามีลักษณะเป็นอิมัลชั่น หลุดออกไปจาก ผิวหน้าของสิ่งที่ต้องการทาความสะอาด
  • 36. ผงซักฟอก ผงซักฟอก เป็นสารเคมีที่นักวิทยาศาสตร์สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อใช้แทนสบู่ เนื่องจากมีสมบัติดีกว่าสบู่ เมื่อใช้สบู่ในน้ากระด้างที่มี Ca2+ หรือ Mg2+ อยู่จะทาให้ ไม่เกิดฟองหรือทาให้เกิดฟองน้อย ถ้าต้องการให้เกิดฟองมากจะต้องใช้สบู่จานวนมาก ซึ่งเป็นการสิ้นเปลือง ทั้งนี้เพราะเมื่อสบู่ทาปฏิกิริยากับไอออนที่อยู่ในน้า กระด้าง จะเกิดตะกอน หรือเกิดสารที่ไม่ละลายน้าลักษณะเป็นฝ้าลอยอยู่ แต่เมื่อใช้ผงซักฟอกแทนสบู่ เมื่อทาปฏิกิริยากับ Ca2+ หรือ Mg2+ จะเกิดเป็นสารประกอบที่ละลายน้าได้ทาให้ไม่มีฝ้าเกิดขึ้น ดังนั้นผงซักฟอกจึงมีสมบัติใน การซักล้างได้ดีกว่าสบู่ สามารถเกิดฟองกับน้าได้ดีกว่าสบู่ทาให้สิ้นเปลืองน้อยกว่า โครงสร้างของผงซักฟอกทั่ว ๆ ไป ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ไม่มีขั้ว ซึ่งเป็นไฮโดรคาร์บอน และส่วนที่มีขั้ว ซึ่งส่วนมากเป็นพวกเกลือซัลโฟเนต เขียน เป็นแผนภาพทั่ว ๆ ไปได้ดังนี้ ส่วนที่ไม่มีขั้วสามารถละลายในน้ามันหรือสารอินทรีย์ที่ไม่มีขั้วได้ จึงทาให้กาจัด พวกไขมันออกได้ ส่วนที่มีขั้วจะละลายได้ในน้า ทาให้ผงซักฟอกสามารถทา ความสะอาดได้ทั้งสิ่งสกปรกที่มีขั้ว และไม่มีขั้ว ผงซักฟอกบริสุทธิ์มีหลายชนิด แต่ละชนิดอาจจะมีสมบัติแตกต่างกันได้ ตามชนิดและโครงสร้างของสาร อาจจะมีจานวนคาร์บอนเท่ากัน หรือไม่เท่ากันก็ ได้ อะตอมของคาร์บอนในหมู่อัลคิลหรือในส่วนไฮโดรคาร์บอน (R-) อาจจะต่อ เป็นสายตรงไม่มีสาขาหรืออาจจะต่อกันแบบมีสาขาก้ได้ หรืออาจจะมีวงแหวนเบน ซีนอยู่ด้วยก็ได้
  • 38. ฟอสโฟลิพิด เป็นลิพิดที่เกิดจากการรวมตัวของกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับกรดไขมัน 2 โมเลกุล และ หมู่ฟอสเฟตอีก 1 หมู่ พบมากทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เนื่องจากเป็นองค์ประกอบ หลักของเยื่อหุ้มเซลล์ มีโครงสร้างเป็น ดังนี้
  • 39. เมื่อฟอสโฟลิพิดอยู่ในน้า หรือในสารละลายที่มีน้าเป็นตัวทาละลาย อาจเกิดเป็นโครงสร้าง 2 ชั้นโดยมีส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอนหันเข้าหากัน และส่วนที่มีขั้ว หันเข้าหาโมเลกุลของน้า ถ้าฟอสโฟลิพิดมีโมเลกุลใหญ่ โครงสร้าง 2 ชั้นจะเชื่อมต่อกันเกิดเป็นวง
  • 41. ไข ไขเป็นเอสเทอร์ เกิดจากกรดไขมัน และแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลสูง และเป็นแอลกอฮอล์ที่มีหมู่ไฮดรอกซิลเพียงหนึ่งหมู่ต่ออยู่กับโซ่ ไฮโดรคาร์บอน มีสถานะเป็นของแข็ง เช่น ขี้ผึ้ง (Bees wax) ไขเป็นของแข็งที่มีจุดหลอมเหลวต่า มีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของกรดและแอลกอฮอล์ ที่เป็นองค์ประกอบ ไขทุกชนิดไม่ละลายน้า ไขที่พบมักเคลือบอยู่ที่ผิวของ ใบไม้ หรือผลไม้ และที่ผิวหนังหรือขนสัตว์ ไขทาหน้าที่หล่อลื่นหรือป้องกันการสูญเสียน้าได้ดีมา ปัจจุบันมีการนาไขมาเคลือบผิวผลไม้เพื่อช่วยยืดอายุในการเก็บ รักษา
  • 42. สเตรอยด์ เป็นกลุ่มของลิพิดที่มีโครงสร้างเฉพาะ ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นวงคาร์บอน 6 เหลี่ยม 3 วงกับ 5 เหลี่ยม 1 วงกัน สเตรอยด์ไม่ละลายน้า แต่ละลายได้ในไขมันหรือตัวทาละลายอินทรีย์ สารประเภทสเตรอยด์มีหลาย ชนิดอาจแบ่งเป็นกลุ่มได้ เช่น คอเลสเทอรอลฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมนเพศ และกรดน้าดี ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติคอยด์เกี่ยวข้องกับกระบวนการควบคุมสมดุลของน้า และอิเล็กโทรไลต์รวมทั้งกระบวนการเผาผลาญโปรตีน และคาร์โบไฮเดรต ตัวอย่างเช่น คอร์ติซอล จะทาหน้าที่ชะลอการสร้างโปรตีน
  • 43. กรดน้าดี ผลิตจากคอเลสเทอรอลที่ตับ และเก็บสะสมในถุงน้าดีกรดน้าดีที่สาคัญ ได้แก่ กรดโคลิก กรดน้าดี เป็นกรดที่พบอยู่ในน้าดี ได้แก่ กรดคอลิก (cholic acid) และ กรดคีโนดีออกซีคอลิก (chenodeoxycholic acid) ตับมีหน้าที่ สังเคราะห์ กรดน้าดี จากคอเลสเตอรอล และมีบทบาทสาคัญในการย่อยและดูดซึมไขมันและน้ามันในลาไส้เล็ก
  • 44. คอเลสเตอรอล มักพบในสัตว์ คอเลสเทอรอลที่สังเคราะห์ขึ้นในร่างกาย ทาหน้าที่เป็นสารตั้งต้น สาหรับการสังเคราะห์ สเตรอยด์อื่นในร่างกาย เช่น การสังเคราะห์กรดน้าดีที่ตับ การสังเคราะห์ฮอร์โมนเอสโตรเจนโพรเจสเทอโรน และเทสโทสเทอโรน รวมทั้งการ สังเคราะห์วิตามินดีที่ผิวหนัง ฮอร์โมนเอสโตรเจนโพรเจสเทอโรน และ เทสโทสเทอโรน รวมทั้งการสังเคราะห์วิตามินดีที่ผิวหนัง คอเลสเทอรอล มีความจาเป็นสาหรับการดารงชีวิต ถ้ามีปริมาณมากจะสะสม และเกาะที่ผนังเส้นเลือด ทาให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือด ถ้าเกิดกับเส้นเลือดใหญ่ที่ นาเส้นเลือด เข้าสู่หัวใจจะทาให้เกิดโรคหัวใจ
  • 45. ฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนเพศชายที่สาคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน ทาหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์การพัฒนากล้ามเนื้อ และลักษณะเสียงของเพศ ชาย ฮอร์โมนเพศหญิงได้แก่ โพรเจสเทอโรน ทาหน้าที่ควบคุมเยื่อบุผนังมดลูกในระหว่างที่มีการตั้งครรภ์หรือมีประจาเดือน กลุ่มของเอสโตรเจนมีหน้าที่ ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศและแสดงลักษณะเพศหญิง ควบคุมการสร้างและการหลุดลอกของเยื่อบุมดลูกก่อนและหลังมีประจาเดือน
  • 46. Tips form WiKi ไขมันอื่นๆที่มีบทบาทในสิ่งมีชีวิต นอกจากไตรกลีเซอไรด์และฟอสโฟลิพิดแล้ว ในสิ่งมีชีวิตยังมีสารกลุ่มไขมันที่มีบทบาทสาคัญอีกหลายชนิด เช่น •สฟิงโกลิพิด (sphingolipids) เป็นการรวมตัวของสฟิงโกซายน์ (sphingosine) กับกรดไขมันและหมู่ฟอสเฟต เป็นไขมันที่เป็นองค์ประกอบในเยื่อหุ้ม และมี บทบาทในการจดจาระหว่างเซลล์ •สเตอรอล (sterols) เป็นไขมันที่พบในเยื่อหุ้มของเซลล์ยูคาริโอต สเตอรอลชนิดหนึ่งคือคอเลสเตอรอล พบมากในเซลล์สัตว์
  • 47. •ไขมันที่เป็นตัวส่งสัญญาณระหว่างเซลล์ เช่น ฟอสฟาทิดิลอิโนซิทอล (phosphatidylinositol) เป็นตัวส่งสัญญาณเกี่ยวกับการรวมตัวของเยื่อหุ้มระหว่างเกิดการหลั่งสารออก นอกเซลล์ หรืออีโคซานอย (eicosanoi) เป็นตัวส่งสัญญาณระหว่างเซลล์ที่อยู่ใกล้เคียงกัน •ไขมันที่เป็นฮอร์โมน ได้แก่ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ ไขมันที่เป็นวิตามิน ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค วิตามินเอ วิตามินเค 1 ฟอสฟาทิดิลอิโนซิทอล