SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Polymer
 Plastics and rubbers
 Dyes and ceramics
Mind map
พอลิเมอร์ (Polymer)
“พอลิมอร์” มาจากคากรีกสองคา คือ poly แปลว่าหลายๆ หรือ
มาก และ mer แปลว่าหน่วยหรือส่วน หน่วยย่อยซ้าๆ ของโมเลกุล
ที่เรียกว่า “เมอร์” และหากเป็นโมเลกุลที่มี “เมอร์” เพียง 1 หน่วยก็
จะเรียกว่า“มอนอเมอร์” (monomer) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของพอลิ
เมอร์
3
พอลิเมอร์ คือสารมวลโมเลกุลสูงที่มีโครงสร้างโมเลกุล
ประกอบด้วยหน่วยซ้า (repeating unit)
พอลิเมอร์ (Polymer)
 เป็นสารที่มีน้าหนักโมเลกุลสูง เกิดจากการรวมกันของมอนอเมอร์
(monomer) ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ที่มี
หน่วยซ้าหลายหน่วยมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะชนิดโคเวเลนต์
 มีสมบัติแตกต่างจากสารเคมีทั่วไป โดยเฉพาะในด้านการขึ้นรูปเป็น
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ
 บางชนิดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเรียกว่า ไบโอพอลิเมอร์ เช่นยาง
ธรรมชาติ โปรตีน เซลลูโลส และคาร์โบไฮเดรต
 บางชนิดได้จากการสังเคราะห์ เช่น พอลิโพรพิลีน พอลิเอทิลีน พอลิสไต
รีน และพอลิเมทิลเมทาคริเลต
4
ประเภทของพอลิเมอร์
 พอลิเมอร์ธรรมชาติ พอลิเมอร์ประเภทเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ได้แก่
แป้ ง ไกลโคเจน เซลลูโลส (ทั้งสามชนิดนี้มีน้าตาลกลูโคสเป็นมอนอเมอร์)
โปรตีน (มีกรดอะมิโนเป็นมอนอเมอร์) DNA, RNA (มีกรดนิวคลีโอไทด์
เป็นมอนอเมอร์) ยางธรรมชาติ เส้นใยธรรมชาติ เป็นต้น
 พอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเมอร์ประเภทนี้มนุษย์เป็นผู้สังเคราะห์ขึ้น
ได้แก่ พลาสติกชนิดต่างๆ ยางสังเคราะห์ เส้นใยสังเคราะห์
5
แบ่งตามชนิดของมอนอเมอร์ที่เป็นองค์ประกอบ
 โฮโมพอลิเมอร์ (homopolymer) เกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวมาต่อกัน
 โฮโมพอลิเมอร์ธรรมชาติ ได้แก่ เซลลูโลส (มอนอเมอร์คือ กลูโคส) ยาง
ธรรมชาติ (มอนอเมอร์คือไอโซพรีน)
 โฮโมพอลิเมอร์สังเคราะห์ ได้แก่ พอลีเอทิลีน (มอนอเมอร์คือ เอทิลีน)
พอลีสไตรีน (มอนอเมอร์คือสไตรีน)
เช่น มีมอนอเมอร์เป็น A จะได้โครงสร้างของพอลิเมอร์คือ
A-A-A-A-A-A-A-A-A
6
 โคพอลิเมอร์ (copolymer) เกิดจากมอนอเมอร์ต่างชนิดมาต่อกัน เช่น
โปรตีน พอลิเอสเทอร์ พอลิเอไมด์
A-B-A-B-A-B-A-B-A-B
แป้ ง
เซลลูโลส
พอลิเปปไทด์
7
พอลิเมอร์
โฮโมพอลิเมอร์
A-A-A-A-A-A
ธรรมชาติ
แป้ ง
เซลลูโลส
ยางธรรมชาติ
สังเคราะห์
ยางสังเคราะห์
พลาสติก
โคพอลิเมอร์
A-B-A-B-A-B
ธรรมชาติ
โปรตีน
สังเคราะห์
พอลิเอสเทอร์
พอลีเอไมด์
ยางเอสบีอาร์
8
โครงสร้างพอลิเมอร์ (Skeletal)
 พอลิเมอร์แบบเส้น (linear) โครงสร้างจะชิดกันมาก ทาให้ความ
หนาแน่นสูง จุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง เหนียว กว่าโครงสร้างอื่นๆ เมื่อ
ได้รับความร้อนจะอ่อนตัวและแข็งตัวเมื่ออุณหภูมิต่า
1) พอลิเมอร์ที่สายโซ่เรียงชิดกันมาก จะเป็นพอลิเมอร์ที่แข็งแรง
ขุ่นและเหนียว เช่นพอลิเอทิลีน
9
ตัวอย่างพอลิเมอร์แบบเส้น ได้แก่ พอลิไวนิลคลอไรด์ PVC (ท่อน้า),
พอลิโพรพิลีน PP (ถุงพลาสติก,ขวดน้า), พอลิสไตรีน PS (โฟม),
 พอลิเมอร์ที่มีอะโรมาติกเป็นองค์ประกอบของสายโซ่ จะเป็นพอลิ
เมอร์ที่เกิดผลึกได้ยาก ทาให้มีความใสกว่าพอลิเมอร์แบบเส้นชนิดอื่น เช่น
เทเรฟทาเลต (PET)
10
 พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched polymer) โครงสร้างแบบนี้มีความ
หนาแน่นต่า ยึดหยุ่นได้ เนื่องจากมีโซ่แตกออกไปจากโซ่หลักทาให้โมเลกุล
ไม่สามารถจัดเรียงตัวชิดกันได้ จุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ากว่าแบบเส้น เช่น
พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่า (LDPE)
11
 พอลิเมอร์แบบร่างแห (Cross-linked polymer) เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจาก
พอลิเมอร์แบบเส้นหรือแบบกิ่งมาเชื่อมต่อกันเป็นร่างแห ถ้าพันธะเชื่อมระหว่าง
โซ่หลักมีน้อยก็จะยืดหยุ่นได้ แต่ถ้าเชื่อมมากจะแข็ง ไม่ยืดหยุ่น เช่นเมลานีน
12
พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)
“ปฏิกิริยาการรวมกันของมอนอเมอร์ เป็นโมเลกุลใหญ่ที่มี
น้าหนักโมเลกุลมากกว่ามอนอเมอร์หลายพันเท่า ซึ่งเรียกว่า
พอลิเมอร์”
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบ่งออกเป็น 4 ชนิด ได้แก่
 บัลค์พอลิเมอไรเซชัน
 อิมัลชันพอลิเมอไรเซชัน
 ซัสเพนชันพอลิเมอไรเซชัน
 โซลูชันพอลิเมอไรเซชัน
13
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์
14
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ คือปฏิกิริยาที่มอนอเมอร์มารวมกันเป็นพอลิเมอร์
เรียกว่า “ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน”
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน เกิดจากมอนอเมอร์มารวมตัวกันจานวนมากๆ
โดยต้องใช้ความร้อนและตัวคะตะไลท์ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
1) แบบรวมตัวหรือแบบเติม
2) แบบควบแน่น
พอลิเมอร์ไรเซชันแบบรวมตัวหรือแบบเติม
15
ปฏิกิริยาที่เกิดจากมอนอเมอร์ชนิด
เดียวกัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารประกอบ
ไม่อิ่มตัว (แอลคีน) หรือวงแหวนมา
รวมตัวกันได้เป็นสารโมเลกุลใหญ่ โดย
ไม่มีการกาจัดหรือควบแน่น ส่วนใด
ออกจากโมเลกุลของมอนอเมอร์ เช่น
การเกิดพอลิเอทิลีน (PE) พอลีสไตรีน
(PS) พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC)
พอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
16
ปฏิกิริยาที่เกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดมารวมกันหลาย
โมเลกุล แล้วเกิดสารโมเลกุลใหญ่ ขณะเดียวกันก็จะมีการปล่อยโมเลกุลเล็ก
อาจเป็น H2O , NH3 , CH3OH หรือ HCl เช่น การเกิดไนลอน 6, 6 จะมี H2O
เกิดขึ้นด้วย
สังเกตว่าอะตอม Cl และ H ในมอนอเมอร์ไม่ปรากฏในหน่วยซ้า
ของพอลิเมอร์แต่เป็นผลิตภัณฑ์อีกตัวหนึ่งจากปฏิกิริยาเป็น HCl
พลาสติก
17
 เป็นสารพอลิเมอร์
 เป็นสารสังเคราะห์ที่มนุษย์คิดขึ้นมา ประกอบด้วยธาตุสาคัญคือ
คาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน ละคลอรีน
 สมาคมวิศวกรพลาสติก และสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกแห่ง
สหรัฐอเมริกาได้จากัดความของพลาสติกไว้ดังนี้
“พลาสติกคือวัสดุที่ประกอบด้วยสารหลายอย่าง มีน้าหนัก
โมเลกุลสูง ลักษณะอ่อนตัวขณะทาการผลิต ซึ่งโดยมากใช้กรรมวิธี
การผลิตด้วยความร้อนหรือแรงอัดหรือทั้งสองอย่าง”
แหล่งกาเนิดพลาสติกธรรมชาติ
18
 ผลิตผลทางการเกษตร เช่น Cellulose, Nitrate, Cellulose Acetate,
Cellulose Acetate-Butyrate, Ethyl Cellulose, Casein
 ผลิตผลทางเกษตรและน้ามันมีน้อยมากเช่น Furan
 น้ามันและถ่านหิน เป็ นแหล่งที่ใช้ผลิตพลาสติกได้มากที่สุด เช่น
Polystyrene, Phenol-Formaldehyde, Melamine-Formaldehyde,
Polythylene, Urea-Formaldehyde,Nylon , Poliester, Epoxy
 น้ามันและสินแร่ เช่น Polyvinyl Butyral, Polyvinyl Carbazole, Polyvinyl
Acetate, Polyvinyl Alcohol, Silicone, Polyvinvyl Acetate-Choride
 สินแร่ มีน้อย เช่น Calcium-Aluminium Silicate
สมบัติของพลาสติก
19
• แข็ง
• ทนต่อการสึกกร่อน
• อ่อนนุ่ม
• ทนต่อสารเคมี
• ยืดตัว
• เป็นฉนวนไฟฟ้ า
• เหนียวทนทาน
• กันน้า
• ใส
• ไม่ติดง่าย
• ทึบ
• ลื่นในตัว
• เบา
• ทาเป็นสีต่างๆได้
• ลอยน้าได้
• ทนความร้อน
ประเภทพลาสติกพลาสติก
เทอร์โมพลาสติก
- แข็งตัวโดยไม่อาศัยปฏิกิริยาทางเคมี แต่อาศัย
คุณสมบัติทางกายภาพ
- หลอมขึ้นรูปใหม่ได้
- เช่น โพลีเอทธิลีน (PE) โพลีโพรพิลีน (PP) โพลีส
ไตรลีน (PS) โพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC)
เทอร์โมเซตติ้งพลาสติก
- เป็นพลาสติกที่มีรูปคงทนถาวร
- หลอมขึ้นรูปใหม่ไม่ได้
- เช่น เมลามีน (melamine) อีพอกซี่ (epoxy)
- ดูโรพลาสติก (ประเทศอังกฤษ)
รหัสของพลาสติก
21
เป็นรหัส บอกชนิดพลาสติกที่ใช้ทาผลิตภัณฑ์นั้นๆ ซึ่งแสดงไว้เพื่อช่วยในเรื่อง
การคัดแยกพลาสติกสาหรับการรีไซเคิล กาหนดโดย NA Society of the
Plastics Industry ในปี ค.ศ.1988 โดยมีทั้งหมด 7 รหัส
โพลีเอทิลีนเทเรฟทาเลท (PET)
22
 สัญลักษณ์สาหรับพลาสติกชนิดโพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET),
(PETE)
 เป็นพลาสติกที่ส่วนใหญ่มีความใส มองทะลุได้
 มีความแข็งแรงทนทานและเหนียว ป้ องกันการผ่านของก๊าซได้ดี ฃ
 มีจุดหลอมเหลว 250-260 C มีความหนาแน่น 1.38-1.39 นิยม
นามาใช้ทาบรรจุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ขวดน้าดื่ม ขวดน้าเปล่า ขวด
น้ามันพืช เป็นต้น
โพลีเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (HDPE)
23
 เป็นพลาสติกชนิดโพลิเอทิลินชนิดความหนาแน่นสูง
 เป็นพลาสติกที่เหมาะสาหรับทาถุงหิ้ว ขวดน้าดื่มหรือถังน้า เป็นต้น
 มีความยืดหยุ่นสูงและป้ องกันการซึมผ่านได้ดี
Chemical
structure
โพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC)
24
 พลาสติกชนิดโพลิไวนิลคลอไรด์
 เป็นพลาสติกที่เหมาะสาหรับใช้ทาท่อ
น้า ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้ า กระเป๋ าหนัง
เทียม ประตูพีวีซี เป็นต้น
 มีคุณสมบัติแข็งแรง ทนสารเคมี
 สามารถทาเป็นสีได้ไม่จากัด และทน
น้าได้ดี
Chemical structure
พลาสติกชนิดโพลิไวนิลคลอไรด์ สามารถนามารีไซเคิล
เป็น ท่อน้าประปาหรือรางน้าสาหรับการเกษตร กรวย
จราจร เฟอร์นิเจอร์ ม้านั่งพลาสติก ตลับเทป เคเบิล แผ่น
ไม้เทียม
โพลีเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่า (LDPE)
25
 เป็นพลาสติกชนิดโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่า
 เป็นพลาสติกที่เหมาะสาหรับนามาเป็นถึงเย็น ถึงใส่อาหารแช่
แข็ง เพราะมีความยืดหยุ่นสูง เหนียว ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี
 พลาสติกชนิดนี้ไม่เหมาะที่จะบรรจุอาหารร้อน
 สามารถนามารีไซเคิลเป็น ถุงดาสาหรับใส่ขยะ ถุงหูหิ้ว ถังขยะ
กระเบื้องปูพื้น เฟอร์นิเจอร์ แท่งไม้เทียม
Chemical structure
โพลีโพรพิลีน (PP)
26
 เป็นพลาสติกที่เหมาะสาหรับทาถุงร้อนบรรจุอาหารหรือผลิตกล่อง
บรรจุอาหารสาหรับนาเข้าไมโครเวฟ เพราะมีความยืดหยุ่นสูง ทน
สารเคมี และสามารถใช้งานกับอุณหภูมิที่สูงถึง 175 C
 สามารถนามารีไซเคิลเป็น กล่องแบตเตอรี่ในรถยนต์ ชิ้นส่วน
รถยนต์ เช่น กันชนและกรวยสาหรับน้ามัน ไฟท้าย ไม้กวาด
พลาสติก แปรง
Chemical structure
โพลีสไตรีน (PS)
27
• เป็นพลาสติกที่เหมาะสาหรับทาเป็นโฟม กล่อง ถ้วยและ
จาน เนื่องจากง่ายต่อการขึ้นรูป สามารถพิมพ์สีสันและลวดลาย
ให้สวยงามได้
• สามารถใช้งานกับอุณหภูมิตั้งแต่ -10 ถึง 80 องศาเซลเซียส
• สามารถนามารีไซเคิลเป็นไม้แขวนเสื้อ กล่องวิดีโอ ไม้บรรทัด
กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์ แผงสวิตช์ไฟ ฉนวนความร้อน ถาดใส่ไข่
เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
Other
28
 เป็นสัญลักษณ์สาหรับสาหรับพลาสติก
อื่นๆ หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทาจาก
พลาสติกหลายชนิด
พลาสติกชีวภาพ (Bio-plastic)
29
 พลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ (Biodegradable plastic) หมายถึงพลาสติกที่
ผลิตขึ้นจากวัสดุธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นพืช สามารถย่อยสลายได้ใน
ธรรมชาติ
 วัสดุธรรมชาติที่สามารถนามาผลิตเป็นพลาสติกชีวภาพมีหลายชนิด เช่น
cellulose collagen casein polyester แป้ ง (starch) โปรตีนจากถั่ว และ
ข้าวโพด เป็นต้น
ประโยชน์ของพลาสติกชีวภาพ
30
1. ด้านการแพทย์ โดยการนาพลาสติกชีวภาพมาผลิตเป็นวัสดุทางการแพทย์ เช่น
ผิวหนังเทียม ไหมละลาย อุปกรณ์ประเภทสกรู และแผ่นดามกระดูกที่ฝังอยู่ในร่างกาย
ที่สามารถย่อยสลายได้เอง
2. ด้านบรรจุภัณฑ์เพื่อการบริโภค เช่น สารเคลือบกระดาษสาหรับห่ออาหาร หรือแก้วน้า
ชนิดใช้แล้วทิ้ง ถุงสาหรับใส่ของ ถ้วยหรือถาดย่อยสลายได้สาหรับบรรจุอาหาร
สาเร็จรูปและอาหารจานด่วน ฟิล์มและถุงพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพสาหรับใช้
ใส่ขยะเศษอาหาร โฟมเม็ดกันกระแทก เป็นต้น
3. ด้านการเกษตร นิยมนามาผลิตเป็นแผ่นฟิล์มสาหรับคลุมดิน และวัสดุสาหรับ
การเกษตร เช่น แผ่นฟิล์มป้ องกันการเติบโตของวัชพืชและรักษาความชื้นในดิน
รวมทั้งถุงหรือกระถางสาหรับเพาะต้นกล้า
กระบวนการผลิตพลาสติกชีวภาพ
31
32
กลไกการย่อยสลายของพลาสติก
33
 การย่อยสลายได้โดยแสง (Photodegradation)
 การย่อยสลายทางกล (Mechanical Degradation)
 การย่อยสลายผ่านปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidative
Degradation)
 การย่อยสลายผ่านปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (Hydrolytic
Degradation)
 การย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodegradation)
กิจกรรม
ยาง (Rubbers)
35
 เป็นวัสดุพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอน
 ยางที่มีต้นกาเนิดจากธรรมชาติจะมาจากของเหลวของพืชบางชนิด ซึ่งมี
ลักษณะเป็นของเหลวสีขาว คล้ายน้านม มีสมบัติเป็นคอลลอยด์ อนุภาค
เล็ก มีตัวกลางเป็นน้า ยางในสภาพของเหลวเรียกว่า น้ายาง
 ยางที่เกิดจากพืชนี้เรียกว่า ยางธรรมชาติ (Natural rubbers, NR)
 ยางที่เกิดจากสังเคราะห์จากปิโตรเลียม เรียกว่า ยางสังเคราะห์
(Synthesis rubbers, SR)
สมบัติทั่วไปของยาง
36
 ความยืดหยุ่น (elasticity) หรือยืดหดได้
 ความเหนียว (toughness)
 ต้านทานการขัดถู (abrasion resistance)
 เชื่อมติดกับวัสดุอื่นๆได้ (bonding)
ยางธรรมชาติ (natural rubber)
37
 ยางธรรมชาติเป็นพอลิเมอร์ที่มีมวลโมเลกุลสูงเกิด
จากโมโนเมอร์ที่เรียกว่า ไอโซพรีน (isoprene,
C5H8) ยางธรรมชาติที่เกิดขึ้นจึงเรียกว่า พอลิไอ
โซพรีน (polyisoprene)
 ยางธรรมชาติมีชื่อทางเคมี คือ cis-1,4-
polyisoprene โดยที่ n มีค่าตั้งแต่ 15-20,000
หน่วย เนื่องจากส่วนประกอบของยางธรรมชาติ
เป็นไฮโดรคาร์บอนที่ไม่มีขั้ว ดังนั้นยางจึงละลายได้
ดีในตัวทาละลายที่ไม่มีขั้ว เช่น เบนซีน เฮกเซน
เป็นต้น
cis-1,4-polyisoprene
น้ายาง(latex)30%
ยางแห้ง
ยางแผ่นรมควัน
- ยางรถยนต์
- ยางรถบรรทุก
- ยางล้อเครื่องบิน
ยางแท่ง STR - ยางรถยนต์
- ชิ้นส่วนรถยนต์
น้ายางข้น 60%
ถุงยางอนามัย
ถุงมือยาง
จุกหัวนม
- NH3
ยางสังเคราะห์ (synthetic rubber, SR)
39
 เป็นยางเทียมที่สังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาเคมีและมีลักษณะทางเคมีและ
สมบัติกายภาพคล้ายคลึงกับยางธรรมชาติ
 การผลิตยางสังเคราะห์ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ (1)
ขั้นตอนการผลิตโมโนเมอร์ และ (2) ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยา
พอลิเมอไรเซชัน
 ยางสังเคราะห์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันที่ชนิดของโมโนเมอร์
 เป็นโฮโมโพลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์ได้เป็นยางโพลิบิวตาไดอีน
(polybutadiene, BR) หรือยางโพลิไอโซพรีน (polyisoprene, IR)
เป็นต้น
 เป็นโคโพลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์ได้เป็นยางสไตรีน บิวตาไดอีน (styrene-
butadiene rubber, SBR) เป็นต้น
ยางสังเคราะห์โมโนเมอร์
ยางสังเคราะห์
SBR ยางล้อรถยนต์
BR
NBR ยางท่อน้ามัน, ประเก็น
น้ามัน
CR สายพาน, ท่อยาง, กาว
ยาง, ยางขอบหน้าต่าง
EPDM ยางชิ้นส่วนรถยนต์
Others ซิลิโคน, IIR
-polymerization
ยางสังเคราะห์ IR หรือ cis-1,4-polyisoprene
41
 ปี ค.ศ. 1954 Goodrich ได้ประสบความสาเร็จในการสังเคราะห์ยาง IR
(isoprene rubber) จากไอโซพรีนโมโนเมอร์โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโพลิเมอ
ไรเซชันชนิด Ziegler-Natta และได้ตั้งชื่อยางชนิดนี้ว่า “synthetic natural
rubber”
 ยาง IR มีสมบัติเชิงกล เช่น ความทนทานต่อแรงดึง (tensile strength)
ต่ากว่ายางธรรมชาติเล็กน้อย และราคาก็สูงกว่า
 มีข้อดีคือ คุณภาพของยางสม่าเสมอ มีสิ่งเจือปนน้อย ทาให้ยางมีสีขาว
สวย (ในขณะที่ยางธรรมชาติจะมีสีเหลืองอ่อนถึงน้าตาลเข้ม บางครั้งจะ
ใช้ยาง IR แทนยางธรรมชาติในการผลิตยางหัวนมและอุปกรณ์การแพทย์
บางชนิด
ยาง SBR (styrene-butadiene rubber)
42
 ยางสไตรีนบิวตาไดอีน (SBR) ประกอบด้วย สไตรีนโมโนเมอร์ (styrene
monomer) ประมาณ 23.5 % และบิวตาไดอีนโมโนเมอร์ (butadiene
monomer) ประมาณ 76.5 %
 โมโนเมอร์ทั้งสองชนิดมีการจัดเรียงตัวแบบไม่มีแบบแผน (random)
 ยาง SBR ถูกนาไปใช้ในการผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ
ท่อยาง ผลิตภัณฑ์ยางทางการแพทย์ ภาชนะหีบห่ออาหาร และที่สาคัญ
คือ ยางชนิดนี้ส่วนมากจะถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยาง
ยานพาหนะขนาดเล็ก
ยางไนไตร์ล หรือยาง NBR (nitrile rubber)
43
 ยาง NBR เป็นโคโพลิเมอร์ของอะไครโลไนไตร์ล
โมโนเมอร์ (acrylonitrile monomer) และบิวตา
ไดอีนโมโนเมอร์ (butadiene monomer)
 ประกอบด้วยอะไครโลไนไตร์ล ตั้งแต่ 20-50 %
จากโครงสร้างของโมเลกุลจะเห็นได้ว่ามีหมู่
ฟังก์ชัน CN- อยู่ ดังนั้นโมเลกุลจึงมีความเป็นขั้ว
 ยางมีสมบัติเด่นคือทนต่อน้ามันปิโตรเลียมและ
ตัวทาละลายที่ไม่มีขั้วต่างๆ ได้ดี
ยางคลอโรพรีน (หรือยาง CR, chloroprene)
44
 ยาง CR มีชื่อทางการค้าว่ายางนีโอพรีน (neoprene)
 เป็นยางสังเคราะห์จากคลอโรพรีนโมโนเมอร์ (chloroprene
monomer)
 โมเลกุลของยาง CR สามารถจัดเรียงตัวได้อย่างเป็น
ระเบียบภายใต้สภาวะที่เหมาะสม
 ยาง CR จึงมีค่าความทนต่อแรงดึงสูง
 มีความต้านทานต่อการฉีกขาดและการขัดสีสูงด้วย
ยางบิวไทล์ (butyl rubber, IIR)
45
 ยางบิวไทล์เป็นโคโพลิเมอร์ระหว่างโมโนเมอร์ของไอ
โซพรีน (isoprene) และไอโซบิวทีลีน (isobutylene)
 โดยมีไอโซพรีนน้อยมากประมาณ 0.5-3% โมล เพียง
เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลด้วยกามะถัน
ในระหว่างปฏิกิริยาวัลคาไนเซชันได้เท่านั้นเพราะในไอ
โซพรีนมีพันธะคู่ว่องไวต่อการทาปฏิกิริยา
ยางบิวตาไดอีน (butadiene rubber, BR)
46
 เป็นโพลิเมอร์ของบิวตาไดอีนที่มีการจัดเชื่อมต่อกันหลายแบบขึ้นอยู่กับชนิดของ
initiator ที่ใช้ในปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
 ยางบิวตาไดอีนยังถูกใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความทนต่อการสึกหรอหรือทน
ต่อการขัดสีที่ดี เช่นยางพื้นรองเท้า ยางสายพานลาเลียง นอกจากนี้ยังใช้ในการผลิต
ยางกันกระแทก สายพานส่งกาลัง (transmission belt) ยางกันสะเทือน (shock
absorber pads) เป็นต้น
กิจกรรม
สีย้อม (Dyestuffs)
 Sir William H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิก
คือ mauve
 สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์ (pigment) และ สี (dye)
พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้าและติดอยู่บนผ้าด้วยสาร
ช่วยติด มักทาให้ผ้าแข็ง สีหลุดออกได้ง่าย
 สีเป็นสารมีขนาดเล็กสามารถละลายน้าหรือสารทาละลาย ซึม
เข้าในเส้นใยได้ ไม่ต้องใช้สารช่วยติด
 สีย้อมที่เป็นสารอินทรีย์หรือสารอนินทรีย์ก็ได้ มีลักษณะเป็น
ผลึกหรือผงละเอียด ใช้ในกระบวนการย้อมจะทาให้โมเลกุล
ของสีย้อมซึมผ่านเข้าไปใน โมเลกุลของเส้นใย
ประเภทสีย้อม
 สีย้อมธรรมชาติ (natural dyestuffs) เป็นสี
ย้อมที่มาจากแหล่งธรรมชาติ โดยเฉพาะพืชและ
สัตว์ ตัวอย่างเช่น สีดาจากลูกมะเกลือ สีน้าเงินจาก
ต้นคราม สีเหลืองจากเนื้อไม้โอ๊ก สีแสดจากดอก
กรรณิการ์ สีแดงจากรากต้นเข็ม ส่วนสีย้อมที่มาสัตว์
เช่น สีม่วงแดงของครั่ง สีม่วงจากหอยสังข์หนาม เป็น
ต้น
 สีย้อมสังเคราะห์ (synthetic dyestuffs) เป็นสี
ย้อมที่เกิดขึ้นจากกระบวนการทางเคมี ตัวอย่างเช่น
direct dye, reactive dye, acid dye เป็นต้น
คุณสมบัติของสีและพิกเมนท์
 ต้องเป็นสารที่มีสี เมื่อนาไปย้อม,พิมพ์สิ่งทอ สีต้องมีความ
ทนทาน
 สีจะต้องละลาย โมเลกุลสามารถกระจายตัว หรือสามารถ
เปลี่ยนเป็นสารที่ละลายในตัวกลางที่ใช้ให้สีสิ่งทอได้
 สีต้องสามารถซึมเข้าไปในเส้นใยได้ ภายใต้สภาวะการย้อมและ
หลังจากซึมเข้าไป จะต้องอยู่ภายในเส้นใยได้ ซึ่งสีสามารถดูดติด
กับเส้นใยได้ด้วย แรงไอออน พันธะไฮโดรเจน แรงดึงดูดระหว่าง
อะตอมหรือโมเลกุลของสาร
ชนิดของสี
1) สีแอสิกหรือแอนไอออนนิก เป็นสีเมื่อละลายในน้าแตกตัวให้
อนุมูลประจุลบ ใช้ย้อมเส้นใยโปรตีน ไนลอน โพลิเอสเตอร์
ทนทานต่อน้ายาซักแห้ง ไม่ทนต่อการซัก
2) สีเบสิกหรือแคตไอออนนิก เป็นสีเมื่อละลายในน้าแตกตัวให้
อนุมูลประจุบวก ใช้ย้อมเส้นใยโปรตีนและเซลลูโลส ไหม ขนสัตว์
ฝ้ าย
3) สีไดเรก เป็นสีละลายน้าได้ ใช้ย้อมเส้นใยได้โดยตรงไม่ไต้องใช้
มอร์แดนท์ สีแรกที่พบคือ congo red ใช้ย้อมเส้นใยฝ้ าย ลินิน เร
ยอง ขนสัตว์ ไหม ไนลอน
ชนิดของสี
4) สีดีสเพิส เป็นสีที่ละลายน้าได้น้อย ส่วนใหญ่มีประจุเป็นกลาง ใช้ย้อม
เส้นใยที่มีการดูดซึมน้าน้อย สีจะอยู่ในน้าย้อมในลักษณะของสารกระจาย
เส้นใยจะดูดซึมเอาสีเข้าไป
5) สีอินเกรน สีสังเคราะห์ขึ้นภายในเส้นใย การย้อมใช้สองอ่าง อ่างแรก
เส้นใยดูดสารชนิดหนึ่งไว้ ในอ่างสองจะเป็นสารอีกชนิดหนึ่ง สารชนิดแรก
ในเส้นใยจะทาปฏิกิริยากับสารที่สอง รวมเป็นโมเลกุลสีในเส้นใย
6) สีมอร์แดนท์ เป็นสีย้อมที่เกิดจากการทาปฎิกิริยาระหว่างสีย้อมกับ
โลหะเกิดเป็นสีที่ไม่ละลายน้าขึ้นในเส้นใย สีที่ได้มักเป็นสีตุ่น มีความ
ทนทานต่อการซักและแสงแดดดีมากใช้ย้อมขนสัตว์ ไหม สแปนเดกซ์
และเรยอง
ชนิดของสี
7) สีออกซิเดชัน สีที่เป็นสารประกอบเมื่อซึมเข้าในเส้นใยทา
ปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดเป็นสารมีสีภายในเส้นใย เป็นสีที่ไม่ละลาย
น้า
8) สีรีแอคตีฟ สีย้อมที่ทาปฏิกิริยาเกิดพันธะทางเคมีกับเส้นใย สีจะ
มีหมู่ทาหน้าที่พิเศษสามารถทาปฏิกิริยากับเส้นใยรวมเป็นโมเลกุล
เดียวกันใช้ย้อมใยฝ้ าย ไหมและไนลอน สีจะทาปฏิกิริยากับหมู่ OH
ของใยเซลลูโลสและกับหมู่NH2ของใยโปรตีน ส่วนใหญ่ย้อมฝ้ าย
ทนต่อการซักและสารละลายซักแห้ง ไม่ทนต่อสารฟอกขาวคลอรีน
กิจกรรม
เซรามิก
 Ceramic (มาจากภาษากรี ก Keramos)
แปลว่าเครื่องปั้นดินเผา
 ปัจจุบัน Ceramic หมายถึง วัสดุอนินทรีย์
(Inorganic) ที่โครงสร้ างประกอบไปด้วย
อะตอมของธาตุที่เป็นโลหะและอโลหะ
 ประกอบด้วยแร่ธาตุดิน หินต่างๆ โดยนามาบด
ย่อยแล้วผสมน้า และนาไปขึ้นรูปตามวิธีการ
ต่างๆ ผึ่งแห้งแล้วนาไปผ่านขบวนการ ให้ความ
ร้อนจนได้เป็นผลิตภัณฑ์
 ผลิตภัณฑ์เซรามิกในการอุตสาหกรรม แบ่ง
ออกเป็น 8 ชนิด
คุณสมบัติทั่วไปของเซรามิก
 มีความแข็งสูง (high hardness)
 มีความต้านทานต่อแรงกดได้ดี (good Compresive strength)
 ความต้านทานแรงดึงต่า (Low tensile strength)
 มีค่าความยืดหยุ่น (Elasticity) และ Toughness ต่า
 บางชนิดมีความแข็งแรงสูงทั้งที่อุณหภูมิต่าและสูง
 เป็นฉนวนไฟฟ้ า(Dielectric) และฉนวนความร้อน เพราะไม่มี e- เป็น
ตัวนา เหมาะสาหรับเป็นตัวเก็บประจุ
 จุดหลอมเหลวสูง
 ทนการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี เพราะมีพันธะเคมีแข็งแรง
เซรามิกโบราณ
เซรามิกโบราณ (Traditional Ceramics) มีส่วนประกอบหลักคือดิน
เหนียว หรือ ซิลิกา (SiO2) จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
เครื่องปั้นดินเผาที่เก่าแก่ที่สุดมีอายุ 22,000 B.C.และเริ่มมีการซื้อ
ขายเป็นสินค้าเมื่อ 4500 B.C., งานแก้ว และงานกระจกพบเป็นครั้ง
แรกใน Egypt เมื่อ 1500 B.C. ส่วนซีเมนต์พบหลักฐานการเริ่มใช้ใน
สมัย Roman
ประเภทเซรามิกราณ
เซรามิกโบราณ Stone : ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากหิน เช่น
แกรนิต หินปูน หินอ่อน
Glass : ผลิตภัณฑ์แก้วและ
กระจก
Clay : ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากดิน
Refractory : ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ทนไฟ
ได้แก่ ฉนวนความร้อน เบ้าหลอม
Abrasives : ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในงานขัด ขัด
มัน เจียรไน วัสดุที่ใช้ได้แก่ silicon
carbide, Tungsten carbide, Alumina,
Silica and Diamond
ผลิตภัณฑ์เซรามิกในการอุตสาหกรรม
 ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา
 ผลิตภัณฑ์เครื่องแก้ว
 ผลิตภัณฑ์วัสดุทนไฟ
 ผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์
ผลิตภัณฑ์เซรามิกในการอุตสาหกรรม
 ผลิตภัณฑ์โลหะเคลือบ
 ผลิตภัณฑ์สิ่งขัดถู
 ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้ า
 ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับงานเทคนิคชั้นสูง
เซรามิกสมัยใหม่
จะประกอบไปด้วยสารบริสุทธิ์ของสารประกอบออกไซด์ คาร์ไบด์ และไน
ไตรด์ ซึ่งมีขนาดละเอียด ใช้ในงานเทคโนโลยีชั้นสูง เช่น
1. Nuclear Fuels เชื้อเพลิงนิวเคลียร ได้แก่ UO2
2. Electro-optic ceramics ใช้ในการแปลงสัณญาณแสง สี เป็นสัณ
ญาณไฟฟ้ า(และกลับกัน) เลเซอร์
3. Magnetic ceramic ใช้ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ และงาน
microwave
4. dielectric ceramic ตัวเก็บประจุ
5. Aerospace application ชิ้นส่วนยานอวกาศ
กิจกรรม
• ให้นักศึกษาค้นคว้าเซรามิกสมัยใหม่คนละ 1 ประเภท สรุป
ความสาคัญ องค์ประกอบและการนาไปใช้งาน พร้อมยกตัวอย่าง
การนาไปใช้งานจริง
• เขียนด้วยลายมือ ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสารเฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 

More from Triwat Talbumrung

สไลด์ กลุ่มที่ 15
สไลด์ กลุ่มที่ 15สไลด์ กลุ่มที่ 15
สไลด์ กลุ่มที่ 15Triwat Talbumrung
 
ฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน we gointer.com – เรียนต่อต่างปร
ฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน   we gointer.com – เรียนต่อต่างปรฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน   we gointer.com – เรียนต่อต่างปร
ฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน we gointer.com – เรียนต่อต่างปรTriwat Talbumrung
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าTriwat Talbumrung
 

More from Triwat Talbumrung (7)

การทำ Power point
การทำ Power pointการทำ Power point
การทำ Power point
 
Ts001072121
Ts001072121Ts001072121
Ts001072121
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
สไลด์ กลุ่มที่ 15
สไลด์ กลุ่มที่ 15สไลด์ กลุ่มที่ 15
สไลด์ กลุ่มที่ 15
 
ฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน we gointer.com – เรียนต่อต่างปร
ฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน   we gointer.com – เรียนต่อต่างปรฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน   we gointer.com – เรียนต่อต่างปร
ฝึกพูดภาษาอังกฤษจาก 74 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน we gointer.com – เรียนต่อต่างปร
 
แกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้าแกรมม่า 33 หน้า
แกรมม่า 33 หน้า
 
251257 content
251257 content251257 content
251257 content
 

Wcs polymer-120402100823-phpapp01