SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
▪ ภาชนะ ในปัจจุบันที่เราเอาไว้ใส่อาหารนั้นส่วนใหญ่จะทามาจากพลาสติกหรือกล่องโฟม แต่หลังจากการใช้งานเสร็จแล้วจากภาชนะก็
กลายเป็นขยะและจะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมอย่างมาก เนื่องจากย่อยสลายได้ช้า บวกกับการทิ้งอย่างไม่เป็นที่เป็นทาง จึงตามมา
ด้วยปัญหามากมายทั้งแต่คนและสัตว์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบจากกระบวนการกาจัดผลิตภัณฑ์จาพวกพลาสติก
และโฟม ที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อนตามมาอีกด้วย
▪ 1.ลดปริมาณขยะพลาสติก
▪ 2.ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งบนบกและทะเล
▪ 3.ให้ทุกคนหันมาบริโภคใช้บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้เอง
ประเภทบรรจุภัณฑ์
ย่อยสลาย
▪ แทนที่จะผลิตพลาสติกจากปิโตรเลียม ก็ผลิตจากพืชแทน ซึ่งย่อยสลายได้ง่ายกว่า ตัวที่ใช้กันเยอะๆ คือ PLA (Polylactic-acid) ทามา
จากข้าวโพด/กากอ้อย และ PBS (Polybutylene succinate) ทามาจากมันสัมปะหลัง
▪ ข้อดี : มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับพลาสติกทั่วไป มีความใส ยืดหยุ่น และทนความร้อน ใช้แทนพลาสติกธรรมดาได้
▪ ข้อเสีย : ราคาแพงและการย่อยสลายยังต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมมากๆ ถ้าไม่อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม เช่นทิ้งรวมกับขยะทั่วไป ก็อาจจะ
ไม่ย่อยสลายเลยก็ได้
PLA PBS
**เสริม
▪ PLA
พอลิแลคติคแอซิด (Polylactic acid หรือ Polylactide ) หรือที่เราคุ้นชินกันในชื่อ PLA เป็นพลาสติกที่ผลิตจากข้าวโพด มันสาปะหลัง
หรืออ้อย แต่ส่วนใหญ่นิยมผลิตจากข้าวโพด เพราะเป็นพืชที่มีอายุในการเก็บเกี่ยวเร็ว กระบวนการผลิตคือจะนาเมล็ดข้าวโพดไปทาเป็นแป้งแล้วนา
แป้งที่ได้ไปผ่านกระบวนการหมัก (fermentation) โดยใช้แบคทีเรีย Lactobacillus brevis ได้ผลผลิตเป็นกรดแลคติก (Lactic acid) ซึ่ง
กรดแลคติกนี้เป็นมอนอเมอร์ที่จะนาไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเป็นพลาสติก โดยนาไปผ่านกระบวนการ polymerization ได้เป็นพอลิเมอร์ที่
เรียกว่า Polylactic acidในปัจจุบัน Bio-Based หรือ Bio Plastic จาก PLA ถูกแปรรูปเพื่อให้ตรงกับการใช้งานอย่างมาก ทั้งด้านบรรจุ
ภัณฑ์ การแพทย์ รวมถึงเป็นวัสดุ filament ที่ใช้กับเครื่อง 3D Printer อีกด้วย
▪ PETG
▪ พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate) หรือมีชื่อย่อว่า PET และ PETG เป็นบรรจุภัณฑ์ที่เราคุ้นชินมากที่สุด นิยม
ผลิตเป็นขวดน้าดื่ม ขวดน้าอัดลม หรือภาชนะบรรจุอาหารต่างๆ เพราะมีน้าหนักเบา แข็งแรง ใช้งานได้หลากหลาย และปลอดภัยต่อผู้บริโภค
โดยทั่วไป PET จะถูกสังเคราะห์ขึ้นด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชั่น และพอลิเมอไรเซชั่นแบบควบแน่นจากวัสดุตั้งต้นที่เป็นผลิตภัณฑ์ของ
อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ผลิตจากวัตถุดิบหลัก ได้แก่ monoethylene glycol (MEG) ร้อยละ 30 และ purified terephthalic acid
(PTA) ร้อยละ 70 แต่ในปัจจุบันวัสดุตั้งต้นเหล่านี้ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันมีนวัตกรรม Bio Plastic ซึ่งผลิตจากพืชเป็น
วัสดุหมุนเวียน นามาใช้ทดแทนวัตถุดิบจากปิโตรเลียม เพราะวัตถุดิบ Bio-Based สามารถผลิตได้จากแอลกอฮอล์ ซึ่งได้จากกระบวนการ
หมักของน้าตาล จากผลผลิตจากการเกษตร เช่น อ้อย กากน้าตาล ฟางข้าว เป็นต้น และเมื่อผ่านกระบวนการผลิตจะทาให้ได้เป็น Bio-
based polyethylene terephthalate (Bio-PET) จึงถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ดีสาหรับสิ่งแวดล้อมในอนาคต
▪ ในปัจจุบัน PETG มีบาทสาคัญในทางอุตสากรรมต่างๆ รวมถึงเทคโนโลยีเครื่อง 3D Printer ที่ใช้วัสดุแบบเส้นกับระบบ FDM ซึ่งในเชิง
พาณิชย์ได้มีออกจาหน่ายหลายแบรนด์ อย่างเช่น BioPETG™ Eco-Friendly PETG Filament 3D Printlife
▪ PBS
▪ พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต (Polybutylene succinate) มีชื่อย่อว่า PBS เป็นพลาสติกชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ และยังเป็นวัสดุอีกชนิด
หนึ่งที่ใช้ทาวัสดุทางการแพทย์ โดย PBS เป็นพอลิเอสเทอร์ที่สังเคราะห์ขึ้นด้วยปฏิกิริยาการควบแน่น (condensation polymerization)
ระหว่างกรดซัคซินิคและ 1,4-บิวเทนไดออล ซึ่งมอนอเมอร์ทั้งสองชนิดนี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถผลิตขึ้นได้จากทั้งแหล่งปิโตรเคมี หรือ
อาศัยวัตถุดิบจากธรรมชาติก็ได้ แต่นิยมผลิตมาจากด้วยการใช้น้าตาลเป็นวัตถุดิบตั้งต้น สาหรับผลิตเป็น Bio Plastic
▪ ปัจจุบันพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดได้รับความสนใจและกาลังพัฒนาสู่ระดับอุตสาหกรรม หนึ่งในนั้นก็คือ
PBS ซึ่งวัสดุชนิดนี้จะมีลักษณะขุ่น สามารถนามาขึ้นรูปได้ง่าย และหลากหลายกระบวนการ โดยเฉพาะการฉีดขึ้นนรูป และการเป่าขึ้นรูปฟิล์ม ซึ่ง
PBS สามารถทนความร้อนได้ตั้งแต่ 80 – 95 องศาเซลเซียส และมีความยืดหยุ่นที่ดี ที่สาคัญยังสามารถนาไปผสมกับ PLA เพื่อ
ปรับปรุงคุณสมบัติให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์หลายประเภทได้ เช่น ฟิล์มทางการเกษตร วัสดุทางวิศวกรรม วัสดุทางการแพทย์ เป็นต้น อีกทั้ง
กาลังขยายไปยังอุตสาหกรรมทางบรรจุภัณฑ์ และกลุ่มผลิตภัณฑ์แบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
▪ PVC
▪ พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl chloride) ส่วนใหญ่แล้วโดยทั่วไปจะเคยได้ยินในชื่อ PVC
และที่ใช้ในทุกบ้านก็คือ ท่อน้าประปาสีฟ้ า นั่นเอง โดยทั่วไปแล้ว PVC มีความนิยมใช้ในกลุ่ม
งานอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์น้อยกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมอื่น เนื่องจาก PVC ประกอบไปด้วย
สารเคมีปรุงแต่ง จึงทาให้เกิดการตกค้างของสารเคมีในบรรจุภัณฑ์ได้ง่าย แต่ก็มีบรรจุภัณฑ์
บางชนิดผลิตจาก PVC สามารถนามาใช้ได้โดยไม่มีสารเคมีตกค้าง เช่น ฟิล์มยืดสาหรับห่อ
เนื้อสัตว์และผลไม้สด ถาดบรรจุอาหารแห้ง ถาดหรือกล่องบรรจุอาหารสด ขวดบรรจุน้ามัน
พืช เป็นต้น
▪ พลาสติกชีวภาพพอลิไวนิลคลอไรด์ (Bio-Polyvinyl chloride) หรือ Bio-PVC เป็น
พลาสติกชีวภาพที่ผลิตจากสารชีวภาพบางส่วน (Partially bio-based) และเชื้อเพลิง
ฟอสซิล (Fossil fuel-based) จัดอยู่ในกลุ่มชนิดย่อยสลายไม่ได้ทางชีวภาพ ซึ่งเป็น
พลาสติกชนิด Thermoplastic มีส่วนประกอบหลักคือ คลอรีน 57% ซึ่งเป็นผลผลิต
จากเกลืออุตสาหกรรม และอีก 43% มาจากคาร์บอนซึ่งสกัดมาจากน้ามันและก๊าซ เมื่อ
เทียบปริมาณน้ามันและก๊าซธรรมชาติในการผลิตพลาสติกแต่ละชนิด พีวีซีเป็นพลาสติกที่ใช้
ทรัพยากรธรรมชาติน้อยกว่าพลาสติกประเภท PE, PP, PET และ PS พีวีซียังมี
คุณสมบัติทนไฟและดับไฟได้จากคุณสมบัติของสารประกอบคลอรีน
▪ PCL
▪ พอลิคาโปรแลคโตน (Polycaprolactone) หรือ PCL เป็นพลาสติกชนิดหนึ่งที่สามารถเข้ากับ
วัสดุอื่นๆ ได้ง่าย โดย PCL จัดเป็นเป็นเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง อยู่ในกลุ่มพอลิเอสเทอร์ที่มีสายโซ่
ตรง ที่สังเคราะห์มาจากน้ามันดิบ ผ่านกระบวนการทางเคมี และผ่านปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่นแบบ
ควบแน่น สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (Biodegradable Polymer) มีโครงสร้างคล้าย
PLA และ PGA แต่การสลายตัวช้ากว่า ซึ่งมีการนามาใช้ทางการแพทย์เพิ่มขึ้น เพราะมีสมบัติเชิงกล
และการเข้ากันได้กับเซลล์เป็นอย่างดี และผลิตจากวัตถุดิบที่สร้างขึ้นใหม่ได้ ซึ่งวัสดุในกลุ่มนี้เป็น
ทางเลือกใหม่ของการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในทางด้านเศรษฐกิจ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม
▪ พลาสติกทั่วไปที่ถูกปรับปรุงสูตร เพื่อให้แตกตัวและย่อยสลายได้ง่ายขึ้น
โดยการใส่สารบางชนิดเข้าไปในการผลิตพลาสติกปกติ เพื่อให้พันธะของ
พลาสติกแตกตัวได้ง่ายขึ้น โดยสารบางชนิดที่ว่าก็มีหลายแบบ ขึ้นอยู่กับ
ว่า จะให้พลาสติกแตกตัวด้วยเงื่อนไขแบบไหน เช่น ตัวที่เห็นกันบ่อยที่สุด
Oxo-Biodegradable plastic ซึ่งชื่อของมันก็บ่งบอกความหมายว่า
ใช้ Oxo หรือออกซิเจนได้การแตกตัว และให้ Bio ย่อยสลายอีกที หรือ
อาจจะเป็น Photo-Biodegradable คือใช้แสงในการแตกตัว Hydro-
Biodegradable คือใช้น้าในการแตกตัว
▪ข้อดี : ราคาถูก ผลิตเหมือนพลาสติกปกติ คุณสมบัติ
เหมือนพลาสติกปกติ และรีไซเคิลได้
▪ข้อเสีย : ใช้ระยะเวลาการย่อยสลายจนสมบูรณ์จะนาน
ประมาณ 3-5 ปี จริงอยู่ พลาสติกแบบนี้อาจจะหายวับไป
ในเวลาไม่กี่เดือนและดูเหมือนย่อยสลายไปแล้ว แต่ความจริง
เป็นแค่การแตกตัวของพลาสติกเท่านั้น การย่อยสลายด้วย
จุลินทรีย์ที่เรามองไม่เห็นจะไม่ได้เร็วขนาดนั้น เราเรียก
พลาสติกเล็กๆ พวกนี้ว่า micro-plastic ซึ่งจะปะปนอยู่ใน
สิ่งแวดล้อม ถ้าปะปนอยู่ในน้า ปลาอาจจะกินเข้าไปแล้วคนก็
กินปลาอีกที ถ้าปะปนอยู่ในดิน พืชก็ไม่สามารถดูดซึมไปใช้
ประโยชน์ได้ หลายประเทศจึงออกกฎหมายแบนพลาสติก
ย่อยสลายประเภทนี้
▪ มนุษย์ใช้บรรจุภัณฑ์ประเภทนี้มาก่อนจะมีพลาสติกเสียอีก เช่น ใบตอง เข่งปลาทู กะลามะพร้าว ดินเผา ฯลฯ แต่ของเหล่านี้ไม่เหมาะกับการ
บริโภคแบบเร่งรีบในปัจจุบัน และวัสดุบางอย่างก็เสียง่าย พอคิดจะนากลับมาใช้ในเชิงเศรษฐกิจจริง จึงต้องดัดแปลงให้เหมือนกับอุปกรณ์ใบ
ปัจจุบัน เช่น จานใบไม้ หลอดกิ่งไผ่ เป็นต้น
▪ ข้อดี : ย่อยสลายง่าย ธรรมชาติ
▪ ข้อเสีย : ราคาแพงมากและยังไม่สามารถทดแทนคุณสมบัติพลาสติกได้ทั้งหมด
▪ แทนที่จะรอให้จุลินทรีย์มากินและย่อยสลาย วัสดุแบบนี้ก็เปลี่ยนมาให้มนุษย์ย่อยสลายแทนไปเลย เช่น แก้วเยลลี่ จานธัญพืช เป็นต้น
▪ ข้อดี : ไม่มีขยะเลย ถึงมีก็เป็นเพียงเศษอาหารที่จัดการง่าย
▪ ข้อเสีย : แพง และผลิตยาก
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
กาบหมาก จากสิ่งที่ดูไร้ค่าในสวนหมากของชาวอาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ที่
แต่เดิมก็ปลูกต้นหมากกันอย่างแพร่หลาย ส่วนของลูกหมากก็เก็บไปขายสร้างรายได้
แต่สิ่งที่หลงเหลือไว้ก็คือกาบหมากที่ร่วงหลุดอยู่ แบรนด์”วีรษา”(Veerasa) เล็งเห็น
ประโยชน์จึงนากาบหมากมาแปรรูปให้เป็นจานใส่อาหาร โดยนากาบหมากมาล้างทาความ
สะอาด นาไปพึ่งแดดให้แห้งสนิท จากนั้นนามาตัดด้วยเครื่อง แล้วบรรจุขาย ข้อดีของ
จาน-ชามกาบหมากคือมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ สามารถ
นาเข้าไมโครเวฟและเตาอบได้อย่างปลอดภัย ใส่อาหารได้ทุกประเภ
▪ ใบทองกวาวจัดว่าเป็นสมุนไพรสารพัดประโยชน์ ไม่ว่าจะใช้เป็นยาที่มีสรรพคุณหลากหลายไม่ว่าจะเป็นแก้อาการท้องอืดท้องเฟ้ อ รวมไปถึงการใช้
ประโยชน์จากใบที่มีลักษณะใบที่ค่อนข้างใหญ่โดยภาชนะที่ทาจากใบทองกวาวนั้นสามารถใส่อาหารได้ทั้งของคาวและของหวาน รวมไปถึงเมนูของ
ร้อน เมนูทอด จนไปถึงแกงแบบต่าง ๆ สาหรับใครที่แอบกังวลว่า ภาชนะจากใบทองกวาวจะทนทานไหม จะมีแอบรั่วแอบซึมน้าซุบออกมาบ้าง
หรือเปล่า ต้องบอกเลยว่าถ้วยจากใบทองกวาวสามารถใส่อาหารทิ้งไว้เป็นเวลา 2-3 วันได้ไม่รั่วซึมแถมยังคงรูปทรงเดิม ไม่ย้วย ไม่แหลก
สลายไปในระหว่างทางอย่างแน่นอน
▪ วัสดุจากธรรมชาติเป็นสิ่งหนึ่งที่มีประโยชน์สารพัดอย่าง เช่นได้นาหยวกหรือใบกล้วยมาทาเป็นภาชนะต่าง ๆมากมาย โดยใช้เทคนิคการขึ้นรูป
คล้าย ๆ กับเปเปอร์มาเช่ นั้นก็คือไส้ตรงกลางเป็นกระดาษ อัดหยวกกล้วยเป็นผิวหน้าด้วยมือทุกใบ และเคลือบทับด้วยน้ามันแบบฟู้ ด
เกรด สามารถใส่อาหารรับประทานได้คล้ายกับภาชนะทั่วไป แต่จะต้องหลีกเลี่ยงพวกแกง หรือเมนูที่มีน้าและไม่ควรแช่น้าไว้นาน ส่วนเรื่องการ
ล้างทาความสะอาดนั้นก็เหมือนภาชนะที่ทาจากไม้ทั่วไปครับ ล้างด้วยน้ายาล้างจานผึ่งลมให้แห้ง แค่นี้อายุของภาชนะจากหยวกกล้วยก็ยืดยาวได้
หลายปี
▪ จานกระดาษชานอ้อย หรือกระดาษชานอ้อยเป็นกระดาษที่ได้มาจากการเอาเยื่อของชานอ้อยที่เหลือจากอุตสาหกรรมการผลิตน้าตาล นาไป
ผสมกับเยื่อกระดาษผ่านกระบวนการตีให้แน่นเพื่อป้องกันน้ารั่วซึม ขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆได้ ไม่ว่าจะเป็นจาน ชาม ถ้วย เรียกว่าสามารถ
ใช้แทนถ้วยโฟมได้เลยครับ นอกจากจะมีประโยชน์ต่อสุขภาพเราแล้วยังเป็นประโยชน์ต่อโลกของเราอีกด้วย เพราะเมื่อนาเปรียบเทียบกับ
พลาสติกและโฟมแล้วพบว่าชานอ้อยสามารถใส่น้าและอาหารทั้งเย็นจัดจนถึงร้อนจัดได้ถึง 250 องศาเซลเซียส อีกทั้งยังเข้าเตาอบและเตา
ไมโครเวฟได้โดยไม่มีสารปนเปื้อนที่ก่อให้เกิดมะเร็งอีกด้วย และที่สาคัญจานชามจากชานอ้อยสามารถย่อยสลายเองได้ในเวลา 45 วันเท่านั้นเอง
แต่ปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่นิยมเปลี่ยนมาใช้กันเท่าไหร่ เพราะเรื่องราคาที่แพงกว่าโฟมถึง 2 เท่า แต่เชื่อเถอะครับว่าถ้าเราเปลี่ยนมาใช้วัสดุที่
ดีต่อโลก
สมาชิก
นายภูรินท์ สายสอน
เลขที่ 4 ม.6/5
นายณัชพล ศรีวิทะ
เลขที่ 18 ม.6/5

More Related Content

More from PondPoPZa

More from PondPoPZa (7)

Bowl recycle
Bowl recycleBowl recycle
Bowl recycle
 
Bioplas
BioplasBioplas
Bioplas
 
Plastics
PlasticsPlastics
Plastics
 
Computer project
Computer project Computer project
Computer project
 
Computer project converted
Computer project convertedComputer project converted
Computer project converted
 
WORK5
WORK5WORK5
WORK5
 
WORK5
WORK5WORK5
WORK5
 

Bowl recycle

  • 1.
  • 2. ▪ ภาชนะ ในปัจจุบันที่เราเอาไว้ใส่อาหารนั้นส่วนใหญ่จะทามาจากพลาสติกหรือกล่องโฟม แต่หลังจากการใช้งานเสร็จแล้วจากภาชนะก็ กลายเป็นขยะและจะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมอย่างมาก เนื่องจากย่อยสลายได้ช้า บวกกับการทิ้งอย่างไม่เป็นที่เป็นทาง จึงตามมา ด้วยปัญหามากมายทั้งแต่คนและสัตว์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบจากกระบวนการกาจัดผลิตภัณฑ์จาพวกพลาสติก และโฟม ที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อนตามมาอีกด้วย
  • 3. ▪ 1.ลดปริมาณขยะพลาสติก ▪ 2.ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งบนบกและทะเล ▪ 3.ให้ทุกคนหันมาบริโภคใช้บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้เอง
  • 5. ▪ แทนที่จะผลิตพลาสติกจากปิโตรเลียม ก็ผลิตจากพืชแทน ซึ่งย่อยสลายได้ง่ายกว่า ตัวที่ใช้กันเยอะๆ คือ PLA (Polylactic-acid) ทามา จากข้าวโพด/กากอ้อย และ PBS (Polybutylene succinate) ทามาจากมันสัมปะหลัง ▪ ข้อดี : มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับพลาสติกทั่วไป มีความใส ยืดหยุ่น และทนความร้อน ใช้แทนพลาสติกธรรมดาได้ ▪ ข้อเสีย : ราคาแพงและการย่อยสลายยังต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมมากๆ ถ้าไม่อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม เช่นทิ้งรวมกับขยะทั่วไป ก็อาจจะ ไม่ย่อยสลายเลยก็ได้ PLA PBS
  • 6. **เสริม ▪ PLA พอลิแลคติคแอซิด (Polylactic acid หรือ Polylactide ) หรือที่เราคุ้นชินกันในชื่อ PLA เป็นพลาสติกที่ผลิตจากข้าวโพด มันสาปะหลัง หรืออ้อย แต่ส่วนใหญ่นิยมผลิตจากข้าวโพด เพราะเป็นพืชที่มีอายุในการเก็บเกี่ยวเร็ว กระบวนการผลิตคือจะนาเมล็ดข้าวโพดไปทาเป็นแป้งแล้วนา แป้งที่ได้ไปผ่านกระบวนการหมัก (fermentation) โดยใช้แบคทีเรีย Lactobacillus brevis ได้ผลผลิตเป็นกรดแลคติก (Lactic acid) ซึ่ง กรดแลคติกนี้เป็นมอนอเมอร์ที่จะนาไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเป็นพลาสติก โดยนาไปผ่านกระบวนการ polymerization ได้เป็นพอลิเมอร์ที่ เรียกว่า Polylactic acidในปัจจุบัน Bio-Based หรือ Bio Plastic จาก PLA ถูกแปรรูปเพื่อให้ตรงกับการใช้งานอย่างมาก ทั้งด้านบรรจุ ภัณฑ์ การแพทย์ รวมถึงเป็นวัสดุ filament ที่ใช้กับเครื่อง 3D Printer อีกด้วย
  • 7. ▪ PETG ▪ พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate) หรือมีชื่อย่อว่า PET และ PETG เป็นบรรจุภัณฑ์ที่เราคุ้นชินมากที่สุด นิยม ผลิตเป็นขวดน้าดื่ม ขวดน้าอัดลม หรือภาชนะบรรจุอาหารต่างๆ เพราะมีน้าหนักเบา แข็งแรง ใช้งานได้หลากหลาย และปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยทั่วไป PET จะถูกสังเคราะห์ขึ้นด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชั่น และพอลิเมอไรเซชั่นแบบควบแน่นจากวัสดุตั้งต้นที่เป็นผลิตภัณฑ์ของ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ผลิตจากวัตถุดิบหลัก ได้แก่ monoethylene glycol (MEG) ร้อยละ 30 และ purified terephthalic acid (PTA) ร้อยละ 70 แต่ในปัจจุบันวัสดุตั้งต้นเหล่านี้ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันมีนวัตกรรม Bio Plastic ซึ่งผลิตจากพืชเป็น วัสดุหมุนเวียน นามาใช้ทดแทนวัตถุดิบจากปิโตรเลียม เพราะวัตถุดิบ Bio-Based สามารถผลิตได้จากแอลกอฮอล์ ซึ่งได้จากกระบวนการ หมักของน้าตาล จากผลผลิตจากการเกษตร เช่น อ้อย กากน้าตาล ฟางข้าว เป็นต้น และเมื่อผ่านกระบวนการผลิตจะทาให้ได้เป็น Bio- based polyethylene terephthalate (Bio-PET) จึงถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ดีสาหรับสิ่งแวดล้อมในอนาคต ▪ ในปัจจุบัน PETG มีบาทสาคัญในทางอุตสากรรมต่างๆ รวมถึงเทคโนโลยีเครื่อง 3D Printer ที่ใช้วัสดุแบบเส้นกับระบบ FDM ซึ่งในเชิง พาณิชย์ได้มีออกจาหน่ายหลายแบรนด์ อย่างเช่น BioPETG™ Eco-Friendly PETG Filament 3D Printlife
  • 8. ▪ PBS ▪ พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต (Polybutylene succinate) มีชื่อย่อว่า PBS เป็นพลาสติกชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ และยังเป็นวัสดุอีกชนิด หนึ่งที่ใช้ทาวัสดุทางการแพทย์ โดย PBS เป็นพอลิเอสเทอร์ที่สังเคราะห์ขึ้นด้วยปฏิกิริยาการควบแน่น (condensation polymerization) ระหว่างกรดซัคซินิคและ 1,4-บิวเทนไดออล ซึ่งมอนอเมอร์ทั้งสองชนิดนี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถผลิตขึ้นได้จากทั้งแหล่งปิโตรเคมี หรือ อาศัยวัตถุดิบจากธรรมชาติก็ได้ แต่นิยมผลิตมาจากด้วยการใช้น้าตาลเป็นวัตถุดิบตั้งต้น สาหรับผลิตเป็น Bio Plastic ▪ ปัจจุบันพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดได้รับความสนใจและกาลังพัฒนาสู่ระดับอุตสาหกรรม หนึ่งในนั้นก็คือ PBS ซึ่งวัสดุชนิดนี้จะมีลักษณะขุ่น สามารถนามาขึ้นรูปได้ง่าย และหลากหลายกระบวนการ โดยเฉพาะการฉีดขึ้นนรูป และการเป่าขึ้นรูปฟิล์ม ซึ่ง PBS สามารถทนความร้อนได้ตั้งแต่ 80 – 95 องศาเซลเซียส และมีความยืดหยุ่นที่ดี ที่สาคัญยังสามารถนาไปผสมกับ PLA เพื่อ ปรับปรุงคุณสมบัติให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์หลายประเภทได้ เช่น ฟิล์มทางการเกษตร วัสดุทางวิศวกรรม วัสดุทางการแพทย์ เป็นต้น อีกทั้ง กาลังขยายไปยังอุตสาหกรรมทางบรรจุภัณฑ์ และกลุ่มผลิตภัณฑ์แบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
  • 9. ▪ PVC ▪ พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl chloride) ส่วนใหญ่แล้วโดยทั่วไปจะเคยได้ยินในชื่อ PVC และที่ใช้ในทุกบ้านก็คือ ท่อน้าประปาสีฟ้ า นั่นเอง โดยทั่วไปแล้ว PVC มีความนิยมใช้ในกลุ่ม งานอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์น้อยกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมอื่น เนื่องจาก PVC ประกอบไปด้วย สารเคมีปรุงแต่ง จึงทาให้เกิดการตกค้างของสารเคมีในบรรจุภัณฑ์ได้ง่าย แต่ก็มีบรรจุภัณฑ์ บางชนิดผลิตจาก PVC สามารถนามาใช้ได้โดยไม่มีสารเคมีตกค้าง เช่น ฟิล์มยืดสาหรับห่อ เนื้อสัตว์และผลไม้สด ถาดบรรจุอาหารแห้ง ถาดหรือกล่องบรรจุอาหารสด ขวดบรรจุน้ามัน พืช เป็นต้น ▪ พลาสติกชีวภาพพอลิไวนิลคลอไรด์ (Bio-Polyvinyl chloride) หรือ Bio-PVC เป็น พลาสติกชีวภาพที่ผลิตจากสารชีวภาพบางส่วน (Partially bio-based) และเชื้อเพลิง ฟอสซิล (Fossil fuel-based) จัดอยู่ในกลุ่มชนิดย่อยสลายไม่ได้ทางชีวภาพ ซึ่งเป็น พลาสติกชนิด Thermoplastic มีส่วนประกอบหลักคือ คลอรีน 57% ซึ่งเป็นผลผลิต จากเกลืออุตสาหกรรม และอีก 43% มาจากคาร์บอนซึ่งสกัดมาจากน้ามันและก๊าซ เมื่อ เทียบปริมาณน้ามันและก๊าซธรรมชาติในการผลิตพลาสติกแต่ละชนิด พีวีซีเป็นพลาสติกที่ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติน้อยกว่าพลาสติกประเภท PE, PP, PET และ PS พีวีซียังมี คุณสมบัติทนไฟและดับไฟได้จากคุณสมบัติของสารประกอบคลอรีน
  • 10. ▪ PCL ▪ พอลิคาโปรแลคโตน (Polycaprolactone) หรือ PCL เป็นพลาสติกชนิดหนึ่งที่สามารถเข้ากับ วัสดุอื่นๆ ได้ง่าย โดย PCL จัดเป็นเป็นเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง อยู่ในกลุ่มพอลิเอสเทอร์ที่มีสายโซ่ ตรง ที่สังเคราะห์มาจากน้ามันดิบ ผ่านกระบวนการทางเคมี และผ่านปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่นแบบ ควบแน่น สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (Biodegradable Polymer) มีโครงสร้างคล้าย PLA และ PGA แต่การสลายตัวช้ากว่า ซึ่งมีการนามาใช้ทางการแพทย์เพิ่มขึ้น เพราะมีสมบัติเชิงกล และการเข้ากันได้กับเซลล์เป็นอย่างดี และผลิตจากวัตถุดิบที่สร้างขึ้นใหม่ได้ ซึ่งวัสดุในกลุ่มนี้เป็น ทางเลือกใหม่ของการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในทางด้านเศรษฐกิจ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม
  • 11. ▪ พลาสติกทั่วไปที่ถูกปรับปรุงสูตร เพื่อให้แตกตัวและย่อยสลายได้ง่ายขึ้น โดยการใส่สารบางชนิดเข้าไปในการผลิตพลาสติกปกติ เพื่อให้พันธะของ พลาสติกแตกตัวได้ง่ายขึ้น โดยสารบางชนิดที่ว่าก็มีหลายแบบ ขึ้นอยู่กับ ว่า จะให้พลาสติกแตกตัวด้วยเงื่อนไขแบบไหน เช่น ตัวที่เห็นกันบ่อยที่สุด Oxo-Biodegradable plastic ซึ่งชื่อของมันก็บ่งบอกความหมายว่า ใช้ Oxo หรือออกซิเจนได้การแตกตัว และให้ Bio ย่อยสลายอีกที หรือ อาจจะเป็น Photo-Biodegradable คือใช้แสงในการแตกตัว Hydro- Biodegradable คือใช้น้าในการแตกตัว
  • 12. ▪ข้อดี : ราคาถูก ผลิตเหมือนพลาสติกปกติ คุณสมบัติ เหมือนพลาสติกปกติ และรีไซเคิลได้ ▪ข้อเสีย : ใช้ระยะเวลาการย่อยสลายจนสมบูรณ์จะนาน ประมาณ 3-5 ปี จริงอยู่ พลาสติกแบบนี้อาจจะหายวับไป ในเวลาไม่กี่เดือนและดูเหมือนย่อยสลายไปแล้ว แต่ความจริง เป็นแค่การแตกตัวของพลาสติกเท่านั้น การย่อยสลายด้วย จุลินทรีย์ที่เรามองไม่เห็นจะไม่ได้เร็วขนาดนั้น เราเรียก พลาสติกเล็กๆ พวกนี้ว่า micro-plastic ซึ่งจะปะปนอยู่ใน สิ่งแวดล้อม ถ้าปะปนอยู่ในน้า ปลาอาจจะกินเข้าไปแล้วคนก็ กินปลาอีกที ถ้าปะปนอยู่ในดิน พืชก็ไม่สามารถดูดซึมไปใช้ ประโยชน์ได้ หลายประเทศจึงออกกฎหมายแบนพลาสติก ย่อยสลายประเภทนี้
  • 13. ▪ มนุษย์ใช้บรรจุภัณฑ์ประเภทนี้มาก่อนจะมีพลาสติกเสียอีก เช่น ใบตอง เข่งปลาทู กะลามะพร้าว ดินเผา ฯลฯ แต่ของเหล่านี้ไม่เหมาะกับการ บริโภคแบบเร่งรีบในปัจจุบัน และวัสดุบางอย่างก็เสียง่าย พอคิดจะนากลับมาใช้ในเชิงเศรษฐกิจจริง จึงต้องดัดแปลงให้เหมือนกับอุปกรณ์ใบ ปัจจุบัน เช่น จานใบไม้ หลอดกิ่งไผ่ เป็นต้น ▪ ข้อดี : ย่อยสลายง่าย ธรรมชาติ ▪ ข้อเสีย : ราคาแพงมากและยังไม่สามารถทดแทนคุณสมบัติพลาสติกได้ทั้งหมด
  • 14. ▪ แทนที่จะรอให้จุลินทรีย์มากินและย่อยสลาย วัสดุแบบนี้ก็เปลี่ยนมาให้มนุษย์ย่อยสลายแทนไปเลย เช่น แก้วเยลลี่ จานธัญพืช เป็นต้น ▪ ข้อดี : ไม่มีขยะเลย ถึงมีก็เป็นเพียงเศษอาหารที่จัดการง่าย ▪ ข้อเสีย : แพง และผลิตยาก
  • 16. กาบหมาก จากสิ่งที่ดูไร้ค่าในสวนหมากของชาวอาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ที่ แต่เดิมก็ปลูกต้นหมากกันอย่างแพร่หลาย ส่วนของลูกหมากก็เก็บไปขายสร้างรายได้ แต่สิ่งที่หลงเหลือไว้ก็คือกาบหมากที่ร่วงหลุดอยู่ แบรนด์”วีรษา”(Veerasa) เล็งเห็น ประโยชน์จึงนากาบหมากมาแปรรูปให้เป็นจานใส่อาหาร โดยนากาบหมากมาล้างทาความ สะอาด นาไปพึ่งแดดให้แห้งสนิท จากนั้นนามาตัดด้วยเครื่อง แล้วบรรจุขาย ข้อดีของ จาน-ชามกาบหมากคือมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ สามารถ นาเข้าไมโครเวฟและเตาอบได้อย่างปลอดภัย ใส่อาหารได้ทุกประเภ
  • 17. ▪ ใบทองกวาวจัดว่าเป็นสมุนไพรสารพัดประโยชน์ ไม่ว่าจะใช้เป็นยาที่มีสรรพคุณหลากหลายไม่ว่าจะเป็นแก้อาการท้องอืดท้องเฟ้ อ รวมไปถึงการใช้ ประโยชน์จากใบที่มีลักษณะใบที่ค่อนข้างใหญ่โดยภาชนะที่ทาจากใบทองกวาวนั้นสามารถใส่อาหารได้ทั้งของคาวและของหวาน รวมไปถึงเมนูของ ร้อน เมนูทอด จนไปถึงแกงแบบต่าง ๆ สาหรับใครที่แอบกังวลว่า ภาชนะจากใบทองกวาวจะทนทานไหม จะมีแอบรั่วแอบซึมน้าซุบออกมาบ้าง หรือเปล่า ต้องบอกเลยว่าถ้วยจากใบทองกวาวสามารถใส่อาหารทิ้งไว้เป็นเวลา 2-3 วันได้ไม่รั่วซึมแถมยังคงรูปทรงเดิม ไม่ย้วย ไม่แหลก สลายไปในระหว่างทางอย่างแน่นอน
  • 18. ▪ วัสดุจากธรรมชาติเป็นสิ่งหนึ่งที่มีประโยชน์สารพัดอย่าง เช่นได้นาหยวกหรือใบกล้วยมาทาเป็นภาชนะต่าง ๆมากมาย โดยใช้เทคนิคการขึ้นรูป คล้าย ๆ กับเปเปอร์มาเช่ นั้นก็คือไส้ตรงกลางเป็นกระดาษ อัดหยวกกล้วยเป็นผิวหน้าด้วยมือทุกใบ และเคลือบทับด้วยน้ามันแบบฟู้ ด เกรด สามารถใส่อาหารรับประทานได้คล้ายกับภาชนะทั่วไป แต่จะต้องหลีกเลี่ยงพวกแกง หรือเมนูที่มีน้าและไม่ควรแช่น้าไว้นาน ส่วนเรื่องการ ล้างทาความสะอาดนั้นก็เหมือนภาชนะที่ทาจากไม้ทั่วไปครับ ล้างด้วยน้ายาล้างจานผึ่งลมให้แห้ง แค่นี้อายุของภาชนะจากหยวกกล้วยก็ยืดยาวได้ หลายปี
  • 19. ▪ จานกระดาษชานอ้อย หรือกระดาษชานอ้อยเป็นกระดาษที่ได้มาจากการเอาเยื่อของชานอ้อยที่เหลือจากอุตสาหกรรมการผลิตน้าตาล นาไป ผสมกับเยื่อกระดาษผ่านกระบวนการตีให้แน่นเพื่อป้องกันน้ารั่วซึม ขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆได้ ไม่ว่าจะเป็นจาน ชาม ถ้วย เรียกว่าสามารถ ใช้แทนถ้วยโฟมได้เลยครับ นอกจากจะมีประโยชน์ต่อสุขภาพเราแล้วยังเป็นประโยชน์ต่อโลกของเราอีกด้วย เพราะเมื่อนาเปรียบเทียบกับ พลาสติกและโฟมแล้วพบว่าชานอ้อยสามารถใส่น้าและอาหารทั้งเย็นจัดจนถึงร้อนจัดได้ถึง 250 องศาเซลเซียส อีกทั้งยังเข้าเตาอบและเตา ไมโครเวฟได้โดยไม่มีสารปนเปื้อนที่ก่อให้เกิดมะเร็งอีกด้วย และที่สาคัญจานชามจากชานอ้อยสามารถย่อยสลายเองได้ในเวลา 45 วันเท่านั้นเอง แต่ปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่นิยมเปลี่ยนมาใช้กันเท่าไหร่ เพราะเรื่องราคาที่แพงกว่าโฟมถึง 2 เท่า แต่เชื่อเถอะครับว่าถ้าเราเปลี่ยนมาใช้วัสดุที่ ดีต่อโลก
  • 20. สมาชิก นายภูรินท์ สายสอน เลขที่ 4 ม.6/5 นายณัชพล ศรีวิทะ เลขที่ 18 ม.6/5