SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
สารบัญ
ปรากฏการณทางดาราศาสตร 1
การเกิดกลางวันและกลางคืน 1
การเกิดฤดูกาล 1
น้ําขึ้นน้ําลง 3
การเกิดขางขึ้นขางแรม 5
การเกิดดิถี 6
การเกิดสุริยุปราคา 7
ชนิดของสุริยุปราคา 7
จันทรุปราคา 9
ประเภทของจันทรุปราคา 9
ลักษณะของดวงจันทรเมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง 10
ปจจัยในการเกิดจันทรุปราคา 10
ฝนดาวตก 11
  1
ปรากฏการณทางดาราศาสตร
การเกิดกลางวันและกลางคืน
เนื่องจาก โลกเปนบริวารของดวงอาทิตย โดยโลกจะหมุนรอบดวงอาทิตยเปนเวลา 365 วัน หรือ 1 ปใน
ขณะเดียวกัน โลกจะหมุนรอบตัวเองโดยกินเวลา 24 ชั่วโมง จึงสงผลใหดานที่โดนแสงจะเปนเวลากลางวัน
สวนดานที่ไมโดนแสงจะเปนเวลากลางคืน เมื่อโลกหมุนไปเรื่อย ดานที่ไมโดนแสง หรือกลางคืน จะคอยๆ
หมุนเปลี่ยนมาจนกลายมาเปนกลางวัน เราเรียกปรากฏการณนี้วา กลางวัน และกลางคืน
การเกิดฤดูกาล
คําวาฤดูกาลนี้หมายถึงฤดูทางดาราศาสตร ไมใชฤดูทางภูมิอากาศ เราอาจจะคุนเคยที่วาเมืองไทยมี ๓
ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว หรือสมัยนี้จะเปนฤดูรอน ฤดูรอนมาก ฤดูรอนมากพิเศษ แตตอไปในภาย
หนาเราอาจจะไมสามารถกําหนดเปนฤดูตาง ๆ ได เพราะอากาศมันจะวิปริตเอาแนเอานอนอะไรไมได ที่กลาว
มาไมใชฤดูกาลที่เราจะพูดถึง ฤดูในทางดาราศาสตรมี 4 ฤดูคือ ฤดูใบไมผลิ (spring) ฤดูรอน (summer) ฤดู
ใบไมรวง (autumn หรือ fall) และฤดูหนาว (winter) ฤดูเหลานี้เกิดจากแกนโลกเอียง มันเกี่ยวของกันอยางไร
จะวาใหฟง โดยเริ่มจากใหกลับมาสูโลกแหงความจริง คือโลกหมุนรอบดวงอาทิตย แตไมไดหมุนแบบตั้งตรง
เปนการหมุนแบบเอียง ๆ การเอียงแบบนี้ทําใหบางคราวโลกเอียงเขาหาดวงอาทิตย บางคราวก็เอียงออก ใน
เวลาที่โลกเอียงเขาหาดวงอาทิตย คือ ขั้วโลกเหนือจะอยูใกลดวงอาทิตยมากกวาขั้วโลกใต คนที่อาศัยอยูในซีก
โลกเหนือ อยางประเทศไทยเปนตนนี้ จะเปนฤดูรอน เพราะอยูใกลดวงอาทิตยมาก ฤดูรอนนี้เวลากลางวันจะ
ยาวกวากลางคืน คือเวลาสวางมากกวาเวลามืด เราสามารถสังเกตไดโดยดูที่ดวงอาทิตย คืออาทิตยจะไมขึ้นทาง
ทิศตะวันออกพอดีแตจะขึ้นเอียงไปทางทิศเหนือ เรียกวาอาทิตยปดเหนือ จุดเริ่มฤดูรอนนี้เรียกวา คริษมายัน
หรือซัมเมอรซอลสทิซ (summer solstice) เปนจุดที่โลกเอียงเขาหาอาทิตยมากที่สุด เวลากลางวันยาวที่สุด และ
อาทิตยขึ้นปดเหนือที่สุด จะเกิดประมาณวันที่ 22 มิถุนายนของทุกป แตเมืองไทยจะเปนชวงฤดูฝน
  2
รูปการเกิดฤดูกาลตาง ๆ
จากจุดเริ่มฤดูรอน โลกจะคอย ๆ เอียงออกจากดวงอาทิตย (ความจริงแกนโลกเอียงเทาเดิม แตจะ
คอย ๆ หันดานที่เอียงออกไป) เวลากลางวันจะคอยๆ หดลง อาทิตยจะคอย ๆ กลับมาขึ้นที่ทิศตะวันออก
จนถึงจุดที่เวลากลางวันเทากับกลางคืน และอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออกพอดีอีกครั้ง จุดนี้คือจุดเริ่มตนฤดู
ใบไมรวง เปนวิษุวัตหรืออีควินอกซจุดหนึ่ง เรียกวา ศารทวิษุวัต (autumnal equinox) อยูประมาณวันที่ 23
กันยายนของทุกป จากนั้นโลกก็จะคอย ๆ เอียงออกจากดวงอาทิตย เวลากลางวันคอย ๆ หดสั้นลงอีก อาทิตย
จะคอย ๆ ขึ้นเอียงไปทางทิศใต จนถึงจุดที่ขั้วโลกเหนืออยูหางจากดวงอาทิตยมากที่สุด ขั้วโลกใตอยูใกลดวง
อาทิตยที่สุด เวลากลางวันสั้นกวากลางคืนที่สุด และอาทิตยปดใตมากที่สุด จุดนี้เปนจุดเริ่มฤดูหนาวนั่นเอง
เรียกวา เหมายัน (เห-มา-ยัน) หรือวินเทอรซอลสติซ (winter solstice) อยูประมาณ 22 ธันวาคมของทุกป
ตอจากนั้นโลกจะคอย ๆ เอียงเขาหาดวงอาทิตย เวลากลางวันคอย ๆ ยาวขึ้น อาทิตยคอย ๆ กลับมาขึ้นทาง
ตะวันออก จนถึงจุดที่กลางวันเทากับกลางคืนอีกครั้งหนึ่ง เปนจุดเริ่มฤดูใบไมผลิ เรียกวา วสันตวิษุวัต หรือ
เวอรนัลอีควินอกซ (vernal equinox) อยูประมาณวันที่ 21 มีนาคมของทุกป เมืองไทยจะเปนชวงฤดูรอน
สําหรับประเทศที่อยูในซีกโลกใตฤดูกาลตามที่วามาจะตรงขามกับทางซีกโลกเหนือ แตวสันตวิษุวัตคือจุด
เดียวกัน ขอใหจําจุดวสันตวิษุวัตนี้ไวใหดี เพราะเปนจุดที่สําคัญมาก ทางโหราศาสตรตะวันตกใชจุดนี้เปนจุด
ตั้งตนของจักรราศี (zodiac) เรียกอีกอยางวา จุดราศีเมษ (Aries point) จักรราศีแบงตามฤดูออกเปน 4 สวน แต
ละสวนแบงออกไปอีก 3 เปน ตนฤดู กลางฤดู และปลายฤดู รวมการแบงจักรราศีไดทั้งหมด 12 ราศี มีชื่อ
  3
เรียกวาราศี เมษ พฤษภ มิถุน กรกฎ สิงห กันย ตุล พิจิก ธนู มกร กุมภ และมีน เราจึงเรียกระบบจักรราศีแบบ
ตะวันตกวา จักรราศีฤดูกาล (tropical zodiac)
น้ําขึ้นน้ําลง
น้ําขึ้นน้ําลงเกิดจากแรงดึงดูดของดวงจันทร และดวงอาทิตย ถึงแมวาดาวอาทิตยจะมีมวล 27 ลานเทา
ของดวงจันทร แตดวงอาทิตย อยูหางจากโลก 93 ลานไมล สวนดวงจันทรที่เปนบริวารของโลกนั้น อยูหางจาก
โลกเพียง 240,000 ไมล ดังนั้นดวงจันทร จึงสงแรงดึงดูดมายังโลกมากกวาดวงอาทิตย และน้ําที่เกิดจากแรง
ดึงดูดของดวงอาทิตยจะสูงเพียง รอยละ 46 ของระดับน้ําที่สูงจากแรงดึงดูดของดวงจันทรน้ําซึ่งเปนของเหลว
เมื่อถูกแรงดึงดูดจากดวงจันทร ในขณะที่ดวงจันทรโคจรผานบริเวณนั้น น้ําก็จะสูงขึ้น ไปในทิศทางเดียวกับที่
ดวงจันทรปรากฏ และบนผิวโลกในดานตรงขามกับดวงจันทร น้ําจะสูงขึ้นดวย เพราะอํานาจดึงดูดของดวง
จันทร กับของโลกไปรวมกันในทิศทางนั้น และในตําแหนงที่คนเห็นดวงจันทร อยูสุดลับขอบฟา ตรงนั้นน้ํา
จะลดลงมากที่สุด จึงเทากับวามีน้ําขึ้น น้ําลง สองแหงบนโลกในเวลาเดียวกันน้ําจะขึ้นสูง เต็มที่ทุกๆ 12
ชั่วโมง โดยประมาณ และหลังจากน้ําขึ้นเต็มที่แลว ระดับน้ําจะเริ่มลดลง ใชเวลาประมาณ 6 ชั่วโมง แต
เนื่องจากดวงจันทรหมุนรอบโลกจากตะวันตกไปตะวันออก หนึ่งรอบกินเวลาประมาณ 29 วัน น้ําขึ้นและน้ํา
ลงจึงชากวาวันกอน ไปประมาณ 50 นาที หรือพูดอีกอยางหนึ่งวา ในหนึ่งวัน หรือ 24 ชั่วโมง 50 นาที น้ําจะ
สูงขึ้น และลดลง 2 ครั้งความแตกตางระหวางระดับน้ําสูงสุดกับระดับน้ําต่ําสุด แตละแหงบนโลกจะไมเทากัน
โดยเฉลี่ยจะขึ้นหรือลงประมาณ 3-10 ฟุต ซึ่งสาเหตุประการหนึ่งเกิดจากตําแหนงของดวงจันทร และดวง
อาทิตยเมื่อโลก และดวงจันทรกับดวงอาทิตย มาอยูในแนวเดียวกัน ไมวาดวงอาทิตยหรือดวงจันทรจะอยูขาง
เดียว หรือคนละขางกับโลก น้ําจะสูงขึ้นกวาปกติ เรียกวา น้ําเกิด (spring tide) ซึ่งจะเกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง คือ
ใกลวันขึ้น 15 ค่ํา และวันแรม 15 ค่ําและเมื่อใดที่ดวงจันทร และดวงอาทิตย อยูในแนวตั้งฉาก ซึ่งกันและกัน
ระดับน้ําจะไมสูงขึ้น แตจะอยูในระดับเดิม ไมขึ้นไมลง เรียกวา น้ําตาย จะเกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง เชนเดียวกับ
น้ําเกิด คือใกลวันขึ้น 8 ค่ํา และวันแรม 8 ค่ําสวนอีกสาเหตุหนึ่งที่น้ําขึ้นมากขึ้นนอย ลงมากลงนอย เกี่ยวกับ
ขนาดรูปรางและความลึกของทองมหาสมุทรดวย อยางเชนเกาะแกงตางๆ จะตานการขึ้นลงของกระแสน้ําได
มาก ในหมูเกาะตาฮิติ ระดับน้ําจะขึ้นสูงเพียง 1 ฟุตเทานั้น แตบริเวณแผนดินที่เปนรูปกรวย หันปากออกไปสู
ทะเล จะรับปริมาณของน้ําไดมาก เชนปากอาวของแควน โนวาสโคเตียน แหงแคนดีทางตะวันออกของ
อเมริกาเหนือ น้ําจะขึ้นสูงถึง 40 ฟุต
  4
รูปที่ 1 แสดงการเกิดน้ําขึ้น น้ําลง
เนื่องจากเปลือกโลกเปนของแข็ง ไมสามารถยืดหยุนตัวไปตามแรงไทดัลซึ่งเกิดจากแรงโนมถวงของ
ดวงจันทรได แตพื้นผิวสวนใหญของโลกปกคลุมดวยน้ําทะเลในมหาสมุทร เปนของเหลวสามารถปรับทรง
เปนรูปรี ไปตามแรงไทดัลที่เกิดขึ้น (ดังรูปที่ 1) ทําใหเกิดปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง โดยที่ระดับน้ําทะเลจะขึ้น
สูงสุด บนดานที่หันเขาหาดวงจันทรและดานตรงขามดวงจันทร ( ตําแหนง H และ H') และระดับน้ําทะเลจะ
ลงต่ําสุด บนดานที่ตั้งฉากกับดวงจันทร (ตําแหนง L และ L') โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ทําให ณ ตําแหนง
หนึ่งๆ บนพื้นผิวโลก จึงเคลื่อนผานบริเวณที่เกิดน้ําขึ้น และน้ําลง ทั้งสองดาน จึงทําใหเกิดน้ําขึ้น – น้ําลง วัน
ละ 2 ครั้ง
รูปที่ 2 แสดงการเกิดน้ําขึ้น น้ําลง
ในวันเพ็ญเต็มดวง และในวันเดือนมืด (ขึ้น 15 ค่ํา และแรม 15 ค่ํา) ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร อยู
ในแนวเดียวกัน แรงโนมถวงของดวงอาทิตยและดวงจันทรเสริมกัน ทําใหแรงไทดัลมากขึ้น ระดับน้ําทะเลจึง
มีการเปลี่ยนแปลงมากกลาวคือ น้ําขึ้นสูงมากและน้ําลงต่ํากวามาก เราเรียกวา “ น้ําเปน ” (Spring tides)
ดังรูปที่ 2
  5
รูปที่ 3 แสดงการเกิดน้ําขึ้น น้ําลง
สวนในวันที่เห็นดวงจันทรครึ่งดวง (ขึ้น 8 ค่ํา และ แรม 8 ค่ํา) ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร อยูใน
แนวตั้งฉากกัน แรงโนมถวงของดวงอาทิตยและดวงจันทรไมเสริมกัน ทําใหระดับน้ําทะเลเปลี่ยนแปลงนอย
เราเรียกวา “ น้ําตาย ” (Neap tides) ดังรูปที่ 3
การเกิดขางขึ้นขางแรม
ดิถี หรือ เฟส หรือ การเกิดขางขึ้นขางแรม ของดวงจันทร (อังกฤษ: lunar phase) ในทางดาราศาสตร
เปนปรากฏการณทางดาราศาสตรอยางหนึ่งที่เกิดกับดวงจันทร นั่นคือ ดวงจันทรจะมีสวนสวางที่สังเกตไดที่
ไมเทากันในแตละคืน เกิดจากการโคจรของดวงจันทรรอบโลก โดยหันสวนสวางเขาหาโลกตางกัน ดิถีที่
ตางกันนี้เองมักใชกําหนดวันสําคัญทางพุทธศาสนา และใชเปนหลักในการนับเวลา ในปฏิทินจันทรคติ กอนที่
จะมานิยมใชปฏิทินสุริยคติ
การคํานวณดิถีของดวงจันทร สามารถทําไดทั้งแบบดาราศาสตรสมัยใหมและดาราศาสตรแผนเกา
เชน ใชกระดานปกขคณนาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว หรือใชตําราสุริยยาตร ในการคํานวณ
สําหรับในทางโหราศาสตร ดิถีคือวันทางจันทรคติ (lunar day) ซึ่งก็เกี่ยวพันกับขางขึ้นขางแรมหรือ
ดิถีในความหมายทางดาราศาสตรที่กลาวมาแลว ดิถีเปนสวนประกอบของปฏิทินจันทรคติ ซึ่งนั่นคือขางขึ้น
ขางแรมที่สังเกตไดยามค่ําคืนนั่นเอง
สําหรับกลองขอความดานขวานี้จะแสดงดิถีของดวงจันทรตามการคํานวณแบบดาราศาสตรสมัยใหม
โดยที่แสดงวันที่ไวเพื่อใหทราบวาเปนดิถีของวันใด มิใหเกิดความสับสน และแสดงรอยละของสวนสวางบน
ดวงจันทรไวดานลาง
  6
ภาพการเกิดดิถีของดวงจันทร
การเกิดดิถี
ภาพแสดงการเกิดดิถีของดวงจันทร โดยที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย และดวงจันทรโคจรรอบโลก
ภาพที่เห็นอยูนี้มองลงไปยังขั้วโลกเหนือ แสงอาทิตยมาทางขวาดังแสดงเปนลูกศรสีเหลือง จากภาพจะเห็นได
วา ในวันเดือนเพ็ญ ดวงจันทรจะขึ้นตอนดวงอาทิตยตก และในวันเดือนดับ จะไมสามารถสังเกตเห็นดวง
จันทรได เพราะถูกแสงอาทิตยบดบัง
ดิถีเกิดจากการโคจรของดวงจันทรรอบโลก ขณะที่โคจรทั้งรอบโลกและรอบดวงอาทิตย ก็จะมีสวน
สวางที่เกิดจากแสงของดวงอาทิตย โดยที่สวนสวางของดวงจันทรที่หันเขาหาโลกมีไมเทากันเนื่องจาก
ตําแหนงรอบโลกที่ตางกัน จนเกิดการเวาแหวงไปบาง และเกิดเปนขางขึ้นขางแรม โดยที่มีคาบของการเกิด
ประมาณ 29.53 วัน (29 วัน 12 ชั่วโมง 44 นาที) เรียกระยะนี้วา เดือนจันทรคติ (synodic month) ซึ่งยาวกวา
เดือนดาราคติ (sidereal month) ไปประมาณ 2 วัน
บางครั้ง อาจเกิดสุริยุปราคาไดเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่มาในตําแหนงที่บังแสงจากดวงอาทิตย เมื่อเทียบ
กับผูสังเกตบนโลก ซึ่งจะเกิดในวันเดือนดับ และอาจเกิดจันทรุปราคาไดเมื่อดวงจันทรมาอยูในเงาของโลก ซึ่ง
เกิดในวันเดือนเพ็ญ ทั้งนี้ก็เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงดิถีของดวงจันทร
ในซีกโลกเหนือ ถาเราหันหนาลงทิศใต ดวงจันทรจะแสดงสวนสวางดานทิศตะวันตกกอนในขางขึ้น
จากนั้นจะคอย ๆ แสดงสวนสวางมากขึ้น และจากนั้นก็ลดสวนสวางจากดานทิศตะวันตกไปจนหมด สวนใน
ซีกโลกใต ถาหันหนาขึ้นทิศเหนือ ทิศทางก็จะเปนไปในทางกลับกัน นั่นคือ ดวงจันทรจะแสดงดานทิศ
ตะวันออกกอนในขางขึ้น และเผยสวนทิศตะวันตก
  7
การสุริยุปราคา
สุริยุปราคาเต็มดวง
สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เปนปรากฏการณธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย ดวงจันทร และโลก
โคจรมาเรียงอยูในแนวเดียวกันโดยมีดวงจันทรอยูตรงกลาง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทรมีดิถีตรงกับจันทร
ดับ เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทรเคลื่อนเขามาบดบังดวงอาทิตย โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือ
บางสวนก็ได ในแตละปสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกไดอยางนอย 2 ครั้ง สูงสุดไมเกิน 5 ครั้ง ในจํานวนนี้
อาจไมมีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแมแตครั้งเดียว หรืออยางมากไมเกิน 2 ครั้ง โอกาสที่จะไดเห็นสุริยุปราคาเต็ม
ดวงสําหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นคอนขางยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแตละครั้งจะเกิด
ในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทรพาดผานเทานั้น
สุริยุปราคาเต็มดวงเปนปรากฏการณธรรมชาติที่สวยงาม นาตื่นเตน และสรางความประทับใจแกคนที่
ไดชม ผูคนจํานวนมากตางพากันเดินทางไปยังดินแดนอันหางไกลเพื่อคอยเฝาสังเกตปรากฏการณนี้
สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ พ.ศ. 2542 ที่เห็นไดในทวีปยุโรป ทําใหสาธารณชนหันมาสนใจสุริยุปราคาเพิ่มขึ้นมาก
สังเกตไดจากจํานวนประชาชนที่เดินทางไปเฝาสังเกตสุริยุปราคาวงแหวนใน พ.ศ. 2548 และสุริยุปราคาเต็ม
ดวงใน พ.ศ. 2549 สุริยุปราคาครั้งที่ผานมาเมื่อเร็ว ๆ นี้ คือสุริยุปราคาวงแหวนเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552
และสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ชนิดของสุริยุปราคา
สุริยุปราคาวงแหวน ดวงจันทรผานหนาดวงอาทิตย
ดวงจันทรผานหนาดวงอาทิตย สังเกตจากยาน STEREO-B เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2550 ที่ระยะ 4.4 เทา
ของระยะระหวางโลกกับดวงจันทร
  8
สุริยุปราคามี 4 ชนิด ไดแก
• สุริยุปราคาเต็มดวง (total eclipse): ดวงจันทรบังดวงอาทิตยหมดทั้งดวง
• สุริยุปราคาบางสวน (partial eclipse): มีเพียงบางสวนของดวงอาทิตยเทานั้นที่ถูกบัง
• สุริยุปราคาวงแหวน (annular eclipse): ดวงอาทิตยมีลักษณะเปนวงแหวน เกิดเมื่อดวงจันทรอยูใน
ตําแหนงที่หางไกลจากโลก ดวงจันทรจึงปรากฏเล็กกวาดวงอาทิตย
• สุริยุปราคาผสม (hybrid eclipse): ความโคงของโลกทําใหสุริยุปราคาคราวเดียวกันกลายเปนแบบ
ผสมได คือ บางสวนของแนวคราสเห็นสุริยุปราคาเต็มดวง ที่เหลือเห็นสุริยุปราคาวงแหวน บริเวณที่
เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงเปนสวนที่อยูใกลดวงจันทรมากกวา
สุริยุปราคาจัดเปนอุปราคาประเภทหนึ่ง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทรมีดิถีตรงกับจันทรดับ
การที่ขนาดของดวงอาทิตยกับดวงจันทรเกือบจะเทากันถือเปนเหตุบังเอิญ ดวงอาทิตยมีระยะหาง
เฉลี่ยจากโลกไกลกวาดวงจันทรประมาณ 390 เทา และเสนผานศูนยกลางของดวงอาทิตยก็ใหญกวาเสนผาน
ศูนยกลางของดวงจันทรประมาณ 400 เทา ตัวเลขทั้งสองนี้ซึ่งไมตางกันมาก ทําใหดวงอาทิตยกับดวงจันทรมี
ขนาดใกลเคียงกันเมื่อมองจากโลก คือปรากฏดวยขนาดเชิงมุมราว 0.5 องศา
วงโคจรของดวงจันทรรอบโลกเปนวงรีเชนเดียวกันกับวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย ขนาดปรากฏ
ของดวงอาทิตยกับดวงจันทรจึงไมคงที่ ]
อัตราสวนระหวางขนาดปรากฏของดวงจันทรตอดวงอาทิตยขณะเกิด
คราสเปนสิ่งที่บงบอกไดวาสุริยุปราคาอาจเปนชนิดใด ถาคราสเกิดขึ้นระหวางที่ดวงจันทรอยูบริเวณจุดใกล
โลกที่สุด (perigee) อาจทําใหเปนสุริยุปราคาเต็มดวง เพราะดวงจันทรจะมีขนาดปรากฏใหญมากพอที่จะบด
บังผิวสวางของดวงอาทิตยที่เรียกวาโฟโตสเฟยรไดทั้งหมด ตัวเลขอัตราสวนนี้จึงมากกวา 1 แตในทางกลับกัน
หากเกิดคราสขณะที่ดวงจันทรอยูบริเวณจุดไกลโลกที่สุด (apogee) คราสครั้งนั้นอาจเปนสุริยุปราคาวงแหวน
เพราะดวงจันทรจะมีขนาดปรากฏเล็กกวาดวงอาทิตย อัตราสวนนี้จึงมีคานอยกวา 1 สุริยุปราคาวงแหวนเกิดได
บอยกวาสุริยุปราคาเต็มดวง เพราะโดยเฉลี่ยแลวดวงจันทรอยูหางจากโลกมากเกินกวาจะบดบังดวงอาทิตยได
ทั้งหมด
  9
จันทรุปราคา
จันทรุปราคา (เรียกไดหลายอยาง ตัวอยางเชน จันทรคาธ, จันทรคราส, ราหูอมจันทร หรือ กบกิน
เดือน) คือปรากฏการณที่เกิดขึ้น เมื่อดวงอาทิตย, โลก และดวงจันทร เรียงอยูในแนวเดียวกันพอดี หากเกิดขึ้น
ในชวงพระจันทรเต็มดวง เมื่อดวงจันทรผานเงาของโลก จะเรียกวา จันทรุปราคา ปรากฏการณจันทรุปราคาแม
จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แตมีอิทธิพลตอความคิดและความเชื่อในหลายวัฒนธรรมมาชานาน รวมทั้งของไทย
ดวย ซึ่งลักษณะของจันทรุปราคาขึ้นอยูกับตําแหนงของดวงจันทรที่เคลื่อนที่ผานเงาของโลกในเวลานั้นๆ
ประเภทของจันทรุปราคา
• จันทรุปราคาเงามัว* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่ผานเงามัวของโลก จันทรุปราคาลักษณะนี้จะ
สังเกตเห็นไดไมชัดเจนมากนัก เนื่องจากความสวางของดวงจันทรจะลดลงไปเพียงเล็กนอยเทานั้น
• จันทรุปราคาเงามัวเต็มดวง เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่เขาไปในเงามัวของโลกทั้งดวงแตไมไดเขา
ไปอยูในบริเวณเงามืด ดวงจันทรดานที่อยูใกลเงามืดมากกวาจะมืดกวาดานที่อยูไกลออกไป
จันทรุปราคาลักษณะนี้เกิดขึ้นไมบอยนัก
• จันทรุปราคาเต็มดวง* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่เขาสูเงามืดของโลกทั้งดวง ดวงจันทรจะอยู
ภายใตเงามืดของโลกนานเกือบ 107 นาที เนื่องจากดวงจันทรเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วประมาณ 1
กิโลเมตรตอวินาที แตหากนับเวลาตั้งแตดวงจันทรเริ่มเคลื่อนเขาสูเงามืดจนออกจากเงามืดทั้งดวง อาจ
กินเวลาถึง 6 ชั่วโมง 14 นาที
• จันทรุปราคาบางสวน เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่ผานเงามืดของโลกเพียงบางสวน จันทรุปราคา
เกิดจากประมาณวาดวงจันทรมาบังดวงอาทิตย
ลักษณะของดวงจันทรเมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง
  10
เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ดวงจันทรไมไดหายไปจนมืดทั้งดวง แตจะเห็นเปนสีแดงอิฐ เนื่องจากมี
การหักเหของแสงอาทิตยเมื่อสองผานชั้นบรรยากาศของโลก สีของดวงจันทรเมื่อเกิดจันทรุปราคาแตละครั้ง
จะไมเหมือนกัน แบงออกไดเปน 5 ระดับ ดังนี้
• ระดับ 0 ดวงจันทรมืดจนแทบมองไมเห็น
• ระดับ 1 ดวงจันทรมืด เห็นเปนสีเทาหรือสีน้ําตาลแตมองไมเห็นรายละเอียด ลักษณะพื้นผิว
ของดวงจันทร
• ระดับ 2 ดวงจันทรมีสีแดงเขมบริเวณดานในของเงามืด และมีสีเหลืองสวางบริเวณดานนอก
ของเงามืด
• ระดับ 3 ดวงจันทรมีสีแดงอิฐและมีสีเหลืองสวางบริเวณขอบของเงามืด
• ระดับ 4 ดวงจันทรสวางสีทองแดงหรือสีสม ดานขอบของเงาสวางมาก
จันทรุปราคาเต็มดวง
(ระดับ 4)
จันทรุปราคาบางสวน (ราว 1
ใน 5) ในกรุงเทพฯ เมื่อ 8 ก.ย.
2549 เวลา 01.25 น.
จันทรุปราคาเต็มดวง (ขณะ
เริ่มสัมผัส) เชามืดวันที่ 4
มีนาคม พ.ศ. 2550
จันทรุปราคาเต็มดวง ระดับ
0 เชามืดวันที่ 4 มีนาคม
พ.ศ. 2550
ปจจัยในการเกิดจันทรุปราคา
จันทรุปราคาไมไดเกิดขึ้นบอยๆ เนื่องจากระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยและระนาบการ
โคจรของดวงจันทรรอบโลกทํามุมกัน 5 องศา ในการเกิดจันทรุปราคา ดวงจันทรจะตองอยูบริเวณจุดตัดของ
ระนาบวงโคจรทั้งสอง และตองอยูใกลจุดตัดนั้นมาก จึงจะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงหรือจันทรุปราคาบางสวน
ไดระยะหางระหวางโลกและดวงจันทรมีผลตอความเขมของจันทรุปราคาดวย นอกจากนี้ หากดวงจันทรอยูใน
  11
ตําแหนงที่หางจากโลกมากที่สุด (apogee) จะทําใหระยะเวลาในการเกิดจันทรุปราคานานขึ้น ดวยเหตุผล 2
ประการ คือ
1 ดวงจันทรจะเคลื่อนที่อยางชาๆ เพราะตําแนงนี้เปนตําแหนงที่ดวงจันทรเคลื่อนที่ชาที่สุดตลอดการ
โคจรรอบโลก
2 ดวงจันทรที่มองเห็นจากโลกจะมีขนาดเล็ก จะเคลื่อนที่ผานเงาของโลกไปทีละนอย ทําใหอยูในเงา
มืดนานขึ้น
ในทุกๆ ปจะมีจันทรุปราคาเกิดขึ้นอยางนอยปละ 2 ครั้ง หากเก็บสถิติการเกิดจันทรุปราคาแลว จะ
สามารถทํานายวันเวลาในการเกิดจันทรุปราคาครั้งตอไปได
การสังเกตจันทรุปราคาแตกตางจากสุริยุปราคา จันทรุปราคาสวนใหญจะสามารถสังเกตไดจาก
บริเวณใดๆ บนโลกที่อยูในชวงเวลากลางคืนขณะนั้น ขณะที่สุริยุปราคาจะสามารถสังเกตไดเพียงบริเวณเล็กๆ
เทานั้น
หากขึ้นไปยืนอยูบนพื้นผิวของดวงจันทรขณะที่เกิดจันทรุปราคาบนโลก ก็จะสามารถเห็นการเกิด
สุริยุปราคาบนดวงจันทรไดในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ เนื่องจากการที่โลกกําลังบังดวงอาทิตยอยูในเวลานั้น
ฝนดาวตก คืออะไร
นักดาราศาสตรศึกษาถึงที่มาของฝนดาวตก หรือฝนอุกกาบาต พบวาอุกกาบาต เหลานี้ ตางโคจรรอบ
ดวงอาทิตย ในเสนทางเดียวกับดาวหาง บางดวง และไดขอสรุป ชัดเจนวา ฝนดาวตกมีความสัมพันธ กับดาว
หาง ดาวหางเปนวัตถุทองฟาอยางหนึ่ง คลายกอนน้ําแข็งสกปรกของหินและฝุน เกาะกันอยู ดวยกาซและน้ําที่
แข็งตัว เมื่อดาวหางเคลื่อนเขาใกล ดวงอาทิตยมากขึ้น ความรอนจากดวงอาทิตย ทําให น้ําแข็งรอบนอกระเหิด
ออก ปลอยซากเศษชิ้นสวนเล็ก ๆ กระจายเปนธารอุกกาบาตเคลื่อนที่ไปตามเสนทางโคจรของดาวหาง เมื่อ
โลกเคลื่อนที่ ผานธารอุกกาบาตเหลานี้ จึงดูดเศษหินและเศษโลหะเหลานั้น ใหวิ่งเขามาในเขต บรรยากาศโลก
ดวยความเร็วสูง ความรอนจากการเสียดสีกับบรรยากาศ เกิดเปนลูกไฟ สวาง เรียกวา ฝนดาวตก
ทุกวันนี้ เรารูจักฝนดาวตกชุดที่มีปริมาณดาวตกหนาแนน นาสนใจมากกวา 10 ชุด ซึ่งปรากฏใหเห็น
เปนประจํา เกือบทุกเดือนในรอบป นอกจากนั้นยังมีฝนดาวตก ชุดที่เบาบาง ไมนาสนใจอีกหลายชุด ฝนดาว
ตกเปนปรากฏการณที่ไมแนนอน บางปเราอาจเห็นฝนดาวตกชุดหนึ่ง มีจํานวนดาวตกมากเห็นไดชัดเจน แต
อาจเบาบางในอีกปหนึ่ง เพราะสาเหตุหลายอยางแตที่สําคัญคือ โลกเคลื่อนที่ ตัดกับวงทางโคจรของดาวหาง
เปนระยะใกลไกล มากเพียงใดในปนั้น และเพราะซากเศษดาวหาง หลุดออกมาเปนกลุม ๆ ถามีจํานวนมาก
แลวโลก เคลื่อนที่ผานกลุมซากอุกกาบาตนั้นในปใด ก็ทําใหเกิดปรากฏการณฝนดาวตก หนาแนนมากเปน
พิเศษ เรียกวาพายุฝนดาวตก
บรรณานุกรม 
  12
จงจิต สุธาอรรถ. จักรวาลและดวงดาว. พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ อักษรวัฒนา, 2542.
พิมล ไถทอง. ฟากฟายามราตรี. หจก.อุบลยงสวัสดิ์ออฟเซท, อุบลราชธานี , 2548.
สก็อตต เอส. เชพพารด. The Jupiter Satellite Page. Carnegie Institution for Science, Department of
Terrestrial Magnetism.
Eric W. Weisstein (2006). "Galileo Galilei (1564–1642)". Wolfram Research. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-11-08.
"Discoverer of Titan: Christiaan Huygens". ESA Space Science. 2005. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-11-08.
"Comet Halley". University of Tennessee. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-12-27.
"Etymonline: Solar System". เก็บขอมูลเมื่อ 2008-01-24.
"Herschel, Sir William (1738–1822)". enotes.com. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-11-08.
"Discovery of Ceres: 2nd Centenary, January 1, 1801–January 1, 2001". astropa.unipa.it. 2000. เก็บ
ขอมูลเมื่อ 2006-11-08.
"Spectroscopy and the Birth of Astrophysics". Center for History of Physics, a Division of the American
Institute of Physics. เก็บขอมูลเมื่อ 2008-04-30.
Irvine, W. M.. The chemical composition of the pre-solar nebula. Amherst College, Massachusetts.
สืบคนวันที่ 2007-02-15

More Related Content

Viewers also liked

Palm avenue Brochure
Palm avenue Brochure Palm avenue Brochure
Palm avenue Brochure Maxpromotion
 
Unit 8B Grammer
Unit 8B GrammerUnit 8B Grammer
Unit 8B Grammerlindamun
 
Farmacologia veterinaria lópez camberos
Farmacologia veterinaria lópez camberosFarmacologia veterinaria lópez camberos
Farmacologia veterinaria lópez camberosfedevet
 
Uncountable nouns and quantifiers
Uncountable nouns and quantifiersUncountable nouns and quantifiers
Uncountable nouns and quantifiersAna Mena
 
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์Ponpirun Homsuwan
 
A Giant Leap, Baylor Innovations
A Giant Leap, Baylor InnovationsA Giant Leap, Baylor Innovations
A Giant Leap, Baylor InnovationsLeigh Farr
 

Viewers also liked (7)

Palm avenue Brochure
Palm avenue Brochure Palm avenue Brochure
Palm avenue Brochure
 
Unit 8B Grammer
Unit 8B GrammerUnit 8B Grammer
Unit 8B Grammer
 
Farmacologia veterinaria lópez camberos
Farmacologia veterinaria lópez camberosFarmacologia veterinaria lópez camberos
Farmacologia veterinaria lópez camberos
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Uncountable nouns and quantifiers
Uncountable nouns and quantifiersUncountable nouns and quantifiers
Uncountable nouns and quantifiers
 
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
 
A Giant Leap, Baylor Innovations
A Giant Leap, Baylor InnovationsA Giant Leap, Baylor Innovations
A Giant Leap, Baylor Innovations
 

Similar to 3

น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงyasotornrit
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวพัน พัน
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxssuserfffbdb
 
วันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาว
วันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาววันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาว
วันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาวwacharapon
 
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำอัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำLapatsara Khoprakhon
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxKru Bio Hazad
 

Similar to 3 (8)

ปริ้นอ่าน
ปริ้นอ่านปริ้นอ่าน
ปริ้นอ่าน
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลง
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาว
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
 
วันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาว
วันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาววันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาว
วันฟ้าหลังฝนในฤดูหนาว
 
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำอัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
 

More from มะดาโอะ มะเซ็ง

57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-457840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4มะดาโอะ มะเซ็ง
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-มะดาโอะ มะเซ็ง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 

More from มะดาโอะ มะเซ็ง (20)

Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
Ast.c2560.4t
Ast.c2560.4tAst.c2560.4t
Ast.c2560.4t
 
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-457840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่นฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
 
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียงฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 2
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
 
____ o-net _____ _.6 ___ 1
  ____ o-net _____ _.6 ___ 1  ____ o-net _____ _.6 ___ 1
____ o-net _____ _.6 ___ 1
 
__ 05 ___________ onet _6 __________2558
  __ 05 ___________ onet _6  __________2558  __ 05 ___________ onet _6  __________2558
__ 05 ___________ onet _6 __________2558
 
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
 
Physics test 1
Physics test 1Physics test 1
Physics test 1
 

3

  • 1. สารบัญ ปรากฏการณทางดาราศาสตร 1 การเกิดกลางวันและกลางคืน 1 การเกิดฤดูกาล 1 น้ําขึ้นน้ําลง 3 การเกิดขางขึ้นขางแรม 5 การเกิดดิถี 6 การเกิดสุริยุปราคา 7 ชนิดของสุริยุปราคา 7 จันทรุปราคา 9 ประเภทของจันทรุปราคา 9 ลักษณะของดวงจันทรเมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง 10 ปจจัยในการเกิดจันทรุปราคา 10 ฝนดาวตก 11
  • 2.
  • 3.   1 ปรากฏการณทางดาราศาสตร การเกิดกลางวันและกลางคืน เนื่องจาก โลกเปนบริวารของดวงอาทิตย โดยโลกจะหมุนรอบดวงอาทิตยเปนเวลา 365 วัน หรือ 1 ปใน ขณะเดียวกัน โลกจะหมุนรอบตัวเองโดยกินเวลา 24 ชั่วโมง จึงสงผลใหดานที่โดนแสงจะเปนเวลากลางวัน สวนดานที่ไมโดนแสงจะเปนเวลากลางคืน เมื่อโลกหมุนไปเรื่อย ดานที่ไมโดนแสง หรือกลางคืน จะคอยๆ หมุนเปลี่ยนมาจนกลายมาเปนกลางวัน เราเรียกปรากฏการณนี้วา กลางวัน และกลางคืน การเกิดฤดูกาล คําวาฤดูกาลนี้หมายถึงฤดูทางดาราศาสตร ไมใชฤดูทางภูมิอากาศ เราอาจจะคุนเคยที่วาเมืองไทยมี ๓ ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว หรือสมัยนี้จะเปนฤดูรอน ฤดูรอนมาก ฤดูรอนมากพิเศษ แตตอไปในภาย หนาเราอาจจะไมสามารถกําหนดเปนฤดูตาง ๆ ได เพราะอากาศมันจะวิปริตเอาแนเอานอนอะไรไมได ที่กลาว มาไมใชฤดูกาลที่เราจะพูดถึง ฤดูในทางดาราศาสตรมี 4 ฤดูคือ ฤดูใบไมผลิ (spring) ฤดูรอน (summer) ฤดู ใบไมรวง (autumn หรือ fall) และฤดูหนาว (winter) ฤดูเหลานี้เกิดจากแกนโลกเอียง มันเกี่ยวของกันอยางไร จะวาใหฟง โดยเริ่มจากใหกลับมาสูโลกแหงความจริง คือโลกหมุนรอบดวงอาทิตย แตไมไดหมุนแบบตั้งตรง เปนการหมุนแบบเอียง ๆ การเอียงแบบนี้ทําใหบางคราวโลกเอียงเขาหาดวงอาทิตย บางคราวก็เอียงออก ใน เวลาที่โลกเอียงเขาหาดวงอาทิตย คือ ขั้วโลกเหนือจะอยูใกลดวงอาทิตยมากกวาขั้วโลกใต คนที่อาศัยอยูในซีก โลกเหนือ อยางประเทศไทยเปนตนนี้ จะเปนฤดูรอน เพราะอยูใกลดวงอาทิตยมาก ฤดูรอนนี้เวลากลางวันจะ ยาวกวากลางคืน คือเวลาสวางมากกวาเวลามืด เราสามารถสังเกตไดโดยดูที่ดวงอาทิตย คืออาทิตยจะไมขึ้นทาง ทิศตะวันออกพอดีแตจะขึ้นเอียงไปทางทิศเหนือ เรียกวาอาทิตยปดเหนือ จุดเริ่มฤดูรอนนี้เรียกวา คริษมายัน หรือซัมเมอรซอลสทิซ (summer solstice) เปนจุดที่โลกเอียงเขาหาอาทิตยมากที่สุด เวลากลางวันยาวที่สุด และ อาทิตยขึ้นปดเหนือที่สุด จะเกิดประมาณวันที่ 22 มิถุนายนของทุกป แตเมืองไทยจะเปนชวงฤดูฝน
  • 4.   2 รูปการเกิดฤดูกาลตาง ๆ จากจุดเริ่มฤดูรอน โลกจะคอย ๆ เอียงออกจากดวงอาทิตย (ความจริงแกนโลกเอียงเทาเดิม แตจะ คอย ๆ หันดานที่เอียงออกไป) เวลากลางวันจะคอยๆ หดลง อาทิตยจะคอย ๆ กลับมาขึ้นที่ทิศตะวันออก จนถึงจุดที่เวลากลางวันเทากับกลางคืน และอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออกพอดีอีกครั้ง จุดนี้คือจุดเริ่มตนฤดู ใบไมรวง เปนวิษุวัตหรืออีควินอกซจุดหนึ่ง เรียกวา ศารทวิษุวัต (autumnal equinox) อยูประมาณวันที่ 23 กันยายนของทุกป จากนั้นโลกก็จะคอย ๆ เอียงออกจากดวงอาทิตย เวลากลางวันคอย ๆ หดสั้นลงอีก อาทิตย จะคอย ๆ ขึ้นเอียงไปทางทิศใต จนถึงจุดที่ขั้วโลกเหนืออยูหางจากดวงอาทิตยมากที่สุด ขั้วโลกใตอยูใกลดวง อาทิตยที่สุด เวลากลางวันสั้นกวากลางคืนที่สุด และอาทิตยปดใตมากที่สุด จุดนี้เปนจุดเริ่มฤดูหนาวนั่นเอง เรียกวา เหมายัน (เห-มา-ยัน) หรือวินเทอรซอลสติซ (winter solstice) อยูประมาณ 22 ธันวาคมของทุกป ตอจากนั้นโลกจะคอย ๆ เอียงเขาหาดวงอาทิตย เวลากลางวันคอย ๆ ยาวขึ้น อาทิตยคอย ๆ กลับมาขึ้นทาง ตะวันออก จนถึงจุดที่กลางวันเทากับกลางคืนอีกครั้งหนึ่ง เปนจุดเริ่มฤดูใบไมผลิ เรียกวา วสันตวิษุวัต หรือ เวอรนัลอีควินอกซ (vernal equinox) อยูประมาณวันที่ 21 มีนาคมของทุกป เมืองไทยจะเปนชวงฤดูรอน สําหรับประเทศที่อยูในซีกโลกใตฤดูกาลตามที่วามาจะตรงขามกับทางซีกโลกเหนือ แตวสันตวิษุวัตคือจุด เดียวกัน ขอใหจําจุดวสันตวิษุวัตนี้ไวใหดี เพราะเปนจุดที่สําคัญมาก ทางโหราศาสตรตะวันตกใชจุดนี้เปนจุด ตั้งตนของจักรราศี (zodiac) เรียกอีกอยางวา จุดราศีเมษ (Aries point) จักรราศีแบงตามฤดูออกเปน 4 สวน แต ละสวนแบงออกไปอีก 3 เปน ตนฤดู กลางฤดู และปลายฤดู รวมการแบงจักรราศีไดทั้งหมด 12 ราศี มีชื่อ
  • 5.   3 เรียกวาราศี เมษ พฤษภ มิถุน กรกฎ สิงห กันย ตุล พิจิก ธนู มกร กุมภ และมีน เราจึงเรียกระบบจักรราศีแบบ ตะวันตกวา จักรราศีฤดูกาล (tropical zodiac) น้ําขึ้นน้ําลง น้ําขึ้นน้ําลงเกิดจากแรงดึงดูดของดวงจันทร และดวงอาทิตย ถึงแมวาดาวอาทิตยจะมีมวล 27 ลานเทา ของดวงจันทร แตดวงอาทิตย อยูหางจากโลก 93 ลานไมล สวนดวงจันทรที่เปนบริวารของโลกนั้น อยูหางจาก โลกเพียง 240,000 ไมล ดังนั้นดวงจันทร จึงสงแรงดึงดูดมายังโลกมากกวาดวงอาทิตย และน้ําที่เกิดจากแรง ดึงดูดของดวงอาทิตยจะสูงเพียง รอยละ 46 ของระดับน้ําที่สูงจากแรงดึงดูดของดวงจันทรน้ําซึ่งเปนของเหลว เมื่อถูกแรงดึงดูดจากดวงจันทร ในขณะที่ดวงจันทรโคจรผานบริเวณนั้น น้ําก็จะสูงขึ้น ไปในทิศทางเดียวกับที่ ดวงจันทรปรากฏ และบนผิวโลกในดานตรงขามกับดวงจันทร น้ําจะสูงขึ้นดวย เพราะอํานาจดึงดูดของดวง จันทร กับของโลกไปรวมกันในทิศทางนั้น และในตําแหนงที่คนเห็นดวงจันทร อยูสุดลับขอบฟา ตรงนั้นน้ํา จะลดลงมากที่สุด จึงเทากับวามีน้ําขึ้น น้ําลง สองแหงบนโลกในเวลาเดียวกันน้ําจะขึ้นสูง เต็มที่ทุกๆ 12 ชั่วโมง โดยประมาณ และหลังจากน้ําขึ้นเต็มที่แลว ระดับน้ําจะเริ่มลดลง ใชเวลาประมาณ 6 ชั่วโมง แต เนื่องจากดวงจันทรหมุนรอบโลกจากตะวันตกไปตะวันออก หนึ่งรอบกินเวลาประมาณ 29 วัน น้ําขึ้นและน้ํา ลงจึงชากวาวันกอน ไปประมาณ 50 นาที หรือพูดอีกอยางหนึ่งวา ในหนึ่งวัน หรือ 24 ชั่วโมง 50 นาที น้ําจะ สูงขึ้น และลดลง 2 ครั้งความแตกตางระหวางระดับน้ําสูงสุดกับระดับน้ําต่ําสุด แตละแหงบนโลกจะไมเทากัน โดยเฉลี่ยจะขึ้นหรือลงประมาณ 3-10 ฟุต ซึ่งสาเหตุประการหนึ่งเกิดจากตําแหนงของดวงจันทร และดวง อาทิตยเมื่อโลก และดวงจันทรกับดวงอาทิตย มาอยูในแนวเดียวกัน ไมวาดวงอาทิตยหรือดวงจันทรจะอยูขาง เดียว หรือคนละขางกับโลก น้ําจะสูงขึ้นกวาปกติ เรียกวา น้ําเกิด (spring tide) ซึ่งจะเกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง คือ ใกลวันขึ้น 15 ค่ํา และวันแรม 15 ค่ําและเมื่อใดที่ดวงจันทร และดวงอาทิตย อยูในแนวตั้งฉาก ซึ่งกันและกัน ระดับน้ําจะไมสูงขึ้น แตจะอยูในระดับเดิม ไมขึ้นไมลง เรียกวา น้ําตาย จะเกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง เชนเดียวกับ น้ําเกิด คือใกลวันขึ้น 8 ค่ํา และวันแรม 8 ค่ําสวนอีกสาเหตุหนึ่งที่น้ําขึ้นมากขึ้นนอย ลงมากลงนอย เกี่ยวกับ ขนาดรูปรางและความลึกของทองมหาสมุทรดวย อยางเชนเกาะแกงตางๆ จะตานการขึ้นลงของกระแสน้ําได มาก ในหมูเกาะตาฮิติ ระดับน้ําจะขึ้นสูงเพียง 1 ฟุตเทานั้น แตบริเวณแผนดินที่เปนรูปกรวย หันปากออกไปสู ทะเล จะรับปริมาณของน้ําไดมาก เชนปากอาวของแควน โนวาสโคเตียน แหงแคนดีทางตะวันออกของ อเมริกาเหนือ น้ําจะขึ้นสูงถึง 40 ฟุต
  • 6.   4 รูปที่ 1 แสดงการเกิดน้ําขึ้น น้ําลง เนื่องจากเปลือกโลกเปนของแข็ง ไมสามารถยืดหยุนตัวไปตามแรงไทดัลซึ่งเกิดจากแรงโนมถวงของ ดวงจันทรได แตพื้นผิวสวนใหญของโลกปกคลุมดวยน้ําทะเลในมหาสมุทร เปนของเหลวสามารถปรับทรง เปนรูปรี ไปตามแรงไทดัลที่เกิดขึ้น (ดังรูปที่ 1) ทําใหเกิดปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง โดยที่ระดับน้ําทะเลจะขึ้น สูงสุด บนดานที่หันเขาหาดวงจันทรและดานตรงขามดวงจันทร ( ตําแหนง H และ H') และระดับน้ําทะเลจะ ลงต่ําสุด บนดานที่ตั้งฉากกับดวงจันทร (ตําแหนง L และ L') โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ทําให ณ ตําแหนง หนึ่งๆ บนพื้นผิวโลก จึงเคลื่อนผานบริเวณที่เกิดน้ําขึ้น และน้ําลง ทั้งสองดาน จึงทําใหเกิดน้ําขึ้น – น้ําลง วัน ละ 2 ครั้ง รูปที่ 2 แสดงการเกิดน้ําขึ้น น้ําลง ในวันเพ็ญเต็มดวง และในวันเดือนมืด (ขึ้น 15 ค่ํา และแรม 15 ค่ํา) ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร อยู ในแนวเดียวกัน แรงโนมถวงของดวงอาทิตยและดวงจันทรเสริมกัน ทําใหแรงไทดัลมากขึ้น ระดับน้ําทะเลจึง มีการเปลี่ยนแปลงมากกลาวคือ น้ําขึ้นสูงมากและน้ําลงต่ํากวามาก เราเรียกวา “ น้ําเปน ” (Spring tides) ดังรูปที่ 2
  • 7.   5 รูปที่ 3 แสดงการเกิดน้ําขึ้น น้ําลง สวนในวันที่เห็นดวงจันทรครึ่งดวง (ขึ้น 8 ค่ํา และ แรม 8 ค่ํา) ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร อยูใน แนวตั้งฉากกัน แรงโนมถวงของดวงอาทิตยและดวงจันทรไมเสริมกัน ทําใหระดับน้ําทะเลเปลี่ยนแปลงนอย เราเรียกวา “ น้ําตาย ” (Neap tides) ดังรูปที่ 3 การเกิดขางขึ้นขางแรม ดิถี หรือ เฟส หรือ การเกิดขางขึ้นขางแรม ของดวงจันทร (อังกฤษ: lunar phase) ในทางดาราศาสตร เปนปรากฏการณทางดาราศาสตรอยางหนึ่งที่เกิดกับดวงจันทร นั่นคือ ดวงจันทรจะมีสวนสวางที่สังเกตไดที่ ไมเทากันในแตละคืน เกิดจากการโคจรของดวงจันทรรอบโลก โดยหันสวนสวางเขาหาโลกตางกัน ดิถีที่ ตางกันนี้เองมักใชกําหนดวันสําคัญทางพุทธศาสนา และใชเปนหลักในการนับเวลา ในปฏิทินจันทรคติ กอนที่ จะมานิยมใชปฏิทินสุริยคติ การคํานวณดิถีของดวงจันทร สามารถทําไดทั้งแบบดาราศาสตรสมัยใหมและดาราศาสตรแผนเกา เชน ใชกระดานปกขคณนาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว หรือใชตําราสุริยยาตร ในการคํานวณ สําหรับในทางโหราศาสตร ดิถีคือวันทางจันทรคติ (lunar day) ซึ่งก็เกี่ยวพันกับขางขึ้นขางแรมหรือ ดิถีในความหมายทางดาราศาสตรที่กลาวมาแลว ดิถีเปนสวนประกอบของปฏิทินจันทรคติ ซึ่งนั่นคือขางขึ้น ขางแรมที่สังเกตไดยามค่ําคืนนั่นเอง สําหรับกลองขอความดานขวานี้จะแสดงดิถีของดวงจันทรตามการคํานวณแบบดาราศาสตรสมัยใหม โดยที่แสดงวันที่ไวเพื่อใหทราบวาเปนดิถีของวันใด มิใหเกิดความสับสน และแสดงรอยละของสวนสวางบน ดวงจันทรไวดานลาง
  • 8.   6 ภาพการเกิดดิถีของดวงจันทร การเกิดดิถี ภาพแสดงการเกิดดิถีของดวงจันทร โดยที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย และดวงจันทรโคจรรอบโลก ภาพที่เห็นอยูนี้มองลงไปยังขั้วโลกเหนือ แสงอาทิตยมาทางขวาดังแสดงเปนลูกศรสีเหลือง จากภาพจะเห็นได วา ในวันเดือนเพ็ญ ดวงจันทรจะขึ้นตอนดวงอาทิตยตก และในวันเดือนดับ จะไมสามารถสังเกตเห็นดวง จันทรได เพราะถูกแสงอาทิตยบดบัง ดิถีเกิดจากการโคจรของดวงจันทรรอบโลก ขณะที่โคจรทั้งรอบโลกและรอบดวงอาทิตย ก็จะมีสวน สวางที่เกิดจากแสงของดวงอาทิตย โดยที่สวนสวางของดวงจันทรที่หันเขาหาโลกมีไมเทากันเนื่องจาก ตําแหนงรอบโลกที่ตางกัน จนเกิดการเวาแหวงไปบาง และเกิดเปนขางขึ้นขางแรม โดยที่มีคาบของการเกิด ประมาณ 29.53 วัน (29 วัน 12 ชั่วโมง 44 นาที) เรียกระยะนี้วา เดือนจันทรคติ (synodic month) ซึ่งยาวกวา เดือนดาราคติ (sidereal month) ไปประมาณ 2 วัน บางครั้ง อาจเกิดสุริยุปราคาไดเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่มาในตําแหนงที่บังแสงจากดวงอาทิตย เมื่อเทียบ กับผูสังเกตบนโลก ซึ่งจะเกิดในวันเดือนดับ และอาจเกิดจันทรุปราคาไดเมื่อดวงจันทรมาอยูในเงาของโลก ซึ่ง เกิดในวันเดือนเพ็ญ ทั้งนี้ก็เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงดิถีของดวงจันทร ในซีกโลกเหนือ ถาเราหันหนาลงทิศใต ดวงจันทรจะแสดงสวนสวางดานทิศตะวันตกกอนในขางขึ้น จากนั้นจะคอย ๆ แสดงสวนสวางมากขึ้น และจากนั้นก็ลดสวนสวางจากดานทิศตะวันตกไปจนหมด สวนใน ซีกโลกใต ถาหันหนาขึ้นทิศเหนือ ทิศทางก็จะเปนไปในทางกลับกัน นั่นคือ ดวงจันทรจะแสดงดานทิศ ตะวันออกกอนในขางขึ้น และเผยสวนทิศตะวันตก
  • 9.   7 การสุริยุปราคา สุริยุปราคาเต็มดวง สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เปนปรากฏการณธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย ดวงจันทร และโลก โคจรมาเรียงอยูในแนวเดียวกันโดยมีดวงจันทรอยูตรงกลาง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทรมีดิถีตรงกับจันทร ดับ เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทรเคลื่อนเขามาบดบังดวงอาทิตย โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือ บางสวนก็ได ในแตละปสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกไดอยางนอย 2 ครั้ง สูงสุดไมเกิน 5 ครั้ง ในจํานวนนี้ อาจไมมีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแมแตครั้งเดียว หรืออยางมากไมเกิน 2 ครั้ง โอกาสที่จะไดเห็นสุริยุปราคาเต็ม ดวงสําหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นคอนขางยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแตละครั้งจะเกิด ในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทรพาดผานเทานั้น สุริยุปราคาเต็มดวงเปนปรากฏการณธรรมชาติที่สวยงาม นาตื่นเตน และสรางความประทับใจแกคนที่ ไดชม ผูคนจํานวนมากตางพากันเดินทางไปยังดินแดนอันหางไกลเพื่อคอยเฝาสังเกตปรากฏการณนี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ พ.ศ. 2542 ที่เห็นไดในทวีปยุโรป ทําใหสาธารณชนหันมาสนใจสุริยุปราคาเพิ่มขึ้นมาก สังเกตไดจากจํานวนประชาชนที่เดินทางไปเฝาสังเกตสุริยุปราคาวงแหวนใน พ.ศ. 2548 และสุริยุปราคาเต็ม ดวงใน พ.ศ. 2549 สุริยุปราคาครั้งที่ผานมาเมื่อเร็ว ๆ นี้ คือสุริยุปราคาวงแหวนเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552 และสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ชนิดของสุริยุปราคา สุริยุปราคาวงแหวน ดวงจันทรผานหนาดวงอาทิตย ดวงจันทรผานหนาดวงอาทิตย สังเกตจากยาน STEREO-B เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2550 ที่ระยะ 4.4 เทา ของระยะระหวางโลกกับดวงจันทร
  • 10.   8 สุริยุปราคามี 4 ชนิด ไดแก • สุริยุปราคาเต็มดวง (total eclipse): ดวงจันทรบังดวงอาทิตยหมดทั้งดวง • สุริยุปราคาบางสวน (partial eclipse): มีเพียงบางสวนของดวงอาทิตยเทานั้นที่ถูกบัง • สุริยุปราคาวงแหวน (annular eclipse): ดวงอาทิตยมีลักษณะเปนวงแหวน เกิดเมื่อดวงจันทรอยูใน ตําแหนงที่หางไกลจากโลก ดวงจันทรจึงปรากฏเล็กกวาดวงอาทิตย • สุริยุปราคาผสม (hybrid eclipse): ความโคงของโลกทําใหสุริยุปราคาคราวเดียวกันกลายเปนแบบ ผสมได คือ บางสวนของแนวคราสเห็นสุริยุปราคาเต็มดวง ที่เหลือเห็นสุริยุปราคาวงแหวน บริเวณที่ เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงเปนสวนที่อยูใกลดวงจันทรมากกวา สุริยุปราคาจัดเปนอุปราคาประเภทหนึ่ง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทรมีดิถีตรงกับจันทรดับ การที่ขนาดของดวงอาทิตยกับดวงจันทรเกือบจะเทากันถือเปนเหตุบังเอิญ ดวงอาทิตยมีระยะหาง เฉลี่ยจากโลกไกลกวาดวงจันทรประมาณ 390 เทา และเสนผานศูนยกลางของดวงอาทิตยก็ใหญกวาเสนผาน ศูนยกลางของดวงจันทรประมาณ 400 เทา ตัวเลขทั้งสองนี้ซึ่งไมตางกันมาก ทําใหดวงอาทิตยกับดวงจันทรมี ขนาดใกลเคียงกันเมื่อมองจากโลก คือปรากฏดวยขนาดเชิงมุมราว 0.5 องศา วงโคจรของดวงจันทรรอบโลกเปนวงรีเชนเดียวกันกับวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย ขนาดปรากฏ ของดวงอาทิตยกับดวงจันทรจึงไมคงที่ ] อัตราสวนระหวางขนาดปรากฏของดวงจันทรตอดวงอาทิตยขณะเกิด คราสเปนสิ่งที่บงบอกไดวาสุริยุปราคาอาจเปนชนิดใด ถาคราสเกิดขึ้นระหวางที่ดวงจันทรอยูบริเวณจุดใกล โลกที่สุด (perigee) อาจทําใหเปนสุริยุปราคาเต็มดวง เพราะดวงจันทรจะมีขนาดปรากฏใหญมากพอที่จะบด บังผิวสวางของดวงอาทิตยที่เรียกวาโฟโตสเฟยรไดทั้งหมด ตัวเลขอัตราสวนนี้จึงมากกวา 1 แตในทางกลับกัน หากเกิดคราสขณะที่ดวงจันทรอยูบริเวณจุดไกลโลกที่สุด (apogee) คราสครั้งนั้นอาจเปนสุริยุปราคาวงแหวน เพราะดวงจันทรจะมีขนาดปรากฏเล็กกวาดวงอาทิตย อัตราสวนนี้จึงมีคานอยกวา 1 สุริยุปราคาวงแหวนเกิดได บอยกวาสุริยุปราคาเต็มดวง เพราะโดยเฉลี่ยแลวดวงจันทรอยูหางจากโลกมากเกินกวาจะบดบังดวงอาทิตยได ทั้งหมด
  • 11.   9 จันทรุปราคา จันทรุปราคา (เรียกไดหลายอยาง ตัวอยางเชน จันทรคาธ, จันทรคราส, ราหูอมจันทร หรือ กบกิน เดือน) คือปรากฏการณที่เกิดขึ้น เมื่อดวงอาทิตย, โลก และดวงจันทร เรียงอยูในแนวเดียวกันพอดี หากเกิดขึ้น ในชวงพระจันทรเต็มดวง เมื่อดวงจันทรผานเงาของโลก จะเรียกวา จันทรุปราคา ปรากฏการณจันทรุปราคาแม จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แตมีอิทธิพลตอความคิดและความเชื่อในหลายวัฒนธรรมมาชานาน รวมทั้งของไทย ดวย ซึ่งลักษณะของจันทรุปราคาขึ้นอยูกับตําแหนงของดวงจันทรที่เคลื่อนที่ผานเงาของโลกในเวลานั้นๆ ประเภทของจันทรุปราคา • จันทรุปราคาเงามัว* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่ผานเงามัวของโลก จันทรุปราคาลักษณะนี้จะ สังเกตเห็นไดไมชัดเจนมากนัก เนื่องจากความสวางของดวงจันทรจะลดลงไปเพียงเล็กนอยเทานั้น • จันทรุปราคาเงามัวเต็มดวง เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่เขาไปในเงามัวของโลกทั้งดวงแตไมไดเขา ไปอยูในบริเวณเงามืด ดวงจันทรดานที่อยูใกลเงามืดมากกวาจะมืดกวาดานที่อยูไกลออกไป จันทรุปราคาลักษณะนี้เกิดขึ้นไมบอยนัก • จันทรุปราคาเต็มดวง* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่เขาสูเงามืดของโลกทั้งดวง ดวงจันทรจะอยู ภายใตเงามืดของโลกนานเกือบ 107 นาที เนื่องจากดวงจันทรเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วประมาณ 1 กิโลเมตรตอวินาที แตหากนับเวลาตั้งแตดวงจันทรเริ่มเคลื่อนเขาสูเงามืดจนออกจากเงามืดทั้งดวง อาจ กินเวลาถึง 6 ชั่วโมง 14 นาที • จันทรุปราคาบางสวน เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่ผานเงามืดของโลกเพียงบางสวน จันทรุปราคา เกิดจากประมาณวาดวงจันทรมาบังดวงอาทิตย ลักษณะของดวงจันทรเมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง
  • 12.   10 เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ดวงจันทรไมไดหายไปจนมืดทั้งดวง แตจะเห็นเปนสีแดงอิฐ เนื่องจากมี การหักเหของแสงอาทิตยเมื่อสองผานชั้นบรรยากาศของโลก สีของดวงจันทรเมื่อเกิดจันทรุปราคาแตละครั้ง จะไมเหมือนกัน แบงออกไดเปน 5 ระดับ ดังนี้ • ระดับ 0 ดวงจันทรมืดจนแทบมองไมเห็น • ระดับ 1 ดวงจันทรมืด เห็นเปนสีเทาหรือสีน้ําตาลแตมองไมเห็นรายละเอียด ลักษณะพื้นผิว ของดวงจันทร • ระดับ 2 ดวงจันทรมีสีแดงเขมบริเวณดานในของเงามืด และมีสีเหลืองสวางบริเวณดานนอก ของเงามืด • ระดับ 3 ดวงจันทรมีสีแดงอิฐและมีสีเหลืองสวางบริเวณขอบของเงามืด • ระดับ 4 ดวงจันทรสวางสีทองแดงหรือสีสม ดานขอบของเงาสวางมาก จันทรุปราคาเต็มดวง (ระดับ 4) จันทรุปราคาบางสวน (ราว 1 ใน 5) ในกรุงเทพฯ เมื่อ 8 ก.ย. 2549 เวลา 01.25 น. จันทรุปราคาเต็มดวง (ขณะ เริ่มสัมผัส) เชามืดวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2550 จันทรุปราคาเต็มดวง ระดับ 0 เชามืดวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2550 ปจจัยในการเกิดจันทรุปราคา จันทรุปราคาไมไดเกิดขึ้นบอยๆ เนื่องจากระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยและระนาบการ โคจรของดวงจันทรรอบโลกทํามุมกัน 5 องศา ในการเกิดจันทรุปราคา ดวงจันทรจะตองอยูบริเวณจุดตัดของ ระนาบวงโคจรทั้งสอง และตองอยูใกลจุดตัดนั้นมาก จึงจะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงหรือจันทรุปราคาบางสวน ไดระยะหางระหวางโลกและดวงจันทรมีผลตอความเขมของจันทรุปราคาดวย นอกจากนี้ หากดวงจันทรอยูใน
  • 13.   11 ตําแหนงที่หางจากโลกมากที่สุด (apogee) จะทําใหระยะเวลาในการเกิดจันทรุปราคานานขึ้น ดวยเหตุผล 2 ประการ คือ 1 ดวงจันทรจะเคลื่อนที่อยางชาๆ เพราะตําแนงนี้เปนตําแหนงที่ดวงจันทรเคลื่อนที่ชาที่สุดตลอดการ โคจรรอบโลก 2 ดวงจันทรที่มองเห็นจากโลกจะมีขนาดเล็ก จะเคลื่อนที่ผานเงาของโลกไปทีละนอย ทําใหอยูในเงา มืดนานขึ้น ในทุกๆ ปจะมีจันทรุปราคาเกิดขึ้นอยางนอยปละ 2 ครั้ง หากเก็บสถิติการเกิดจันทรุปราคาแลว จะ สามารถทํานายวันเวลาในการเกิดจันทรุปราคาครั้งตอไปได การสังเกตจันทรุปราคาแตกตางจากสุริยุปราคา จันทรุปราคาสวนใหญจะสามารถสังเกตไดจาก บริเวณใดๆ บนโลกที่อยูในชวงเวลากลางคืนขณะนั้น ขณะที่สุริยุปราคาจะสามารถสังเกตไดเพียงบริเวณเล็กๆ เทานั้น หากขึ้นไปยืนอยูบนพื้นผิวของดวงจันทรขณะที่เกิดจันทรุปราคาบนโลก ก็จะสามารถเห็นการเกิด สุริยุปราคาบนดวงจันทรไดในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ เนื่องจากการที่โลกกําลังบังดวงอาทิตยอยูในเวลานั้น ฝนดาวตก คืออะไร นักดาราศาสตรศึกษาถึงที่มาของฝนดาวตก หรือฝนอุกกาบาต พบวาอุกกาบาต เหลานี้ ตางโคจรรอบ ดวงอาทิตย ในเสนทางเดียวกับดาวหาง บางดวง และไดขอสรุป ชัดเจนวา ฝนดาวตกมีความสัมพันธ กับดาว หาง ดาวหางเปนวัตถุทองฟาอยางหนึ่ง คลายกอนน้ําแข็งสกปรกของหินและฝุน เกาะกันอยู ดวยกาซและน้ําที่ แข็งตัว เมื่อดาวหางเคลื่อนเขาใกล ดวงอาทิตยมากขึ้น ความรอนจากดวงอาทิตย ทําให น้ําแข็งรอบนอกระเหิด ออก ปลอยซากเศษชิ้นสวนเล็ก ๆ กระจายเปนธารอุกกาบาตเคลื่อนที่ไปตามเสนทางโคจรของดาวหาง เมื่อ โลกเคลื่อนที่ ผานธารอุกกาบาตเหลานี้ จึงดูดเศษหินและเศษโลหะเหลานั้น ใหวิ่งเขามาในเขต บรรยากาศโลก ดวยความเร็วสูง ความรอนจากการเสียดสีกับบรรยากาศ เกิดเปนลูกไฟ สวาง เรียกวา ฝนดาวตก ทุกวันนี้ เรารูจักฝนดาวตกชุดที่มีปริมาณดาวตกหนาแนน นาสนใจมากกวา 10 ชุด ซึ่งปรากฏใหเห็น เปนประจํา เกือบทุกเดือนในรอบป นอกจากนั้นยังมีฝนดาวตก ชุดที่เบาบาง ไมนาสนใจอีกหลายชุด ฝนดาว ตกเปนปรากฏการณที่ไมแนนอน บางปเราอาจเห็นฝนดาวตกชุดหนึ่ง มีจํานวนดาวตกมากเห็นไดชัดเจน แต อาจเบาบางในอีกปหนึ่ง เพราะสาเหตุหลายอยางแตที่สําคัญคือ โลกเคลื่อนที่ ตัดกับวงทางโคจรของดาวหาง เปนระยะใกลไกล มากเพียงใดในปนั้น และเพราะซากเศษดาวหาง หลุดออกมาเปนกลุม ๆ ถามีจํานวนมาก แลวโลก เคลื่อนที่ผานกลุมซากอุกกาบาตนั้นในปใด ก็ทําใหเกิดปรากฏการณฝนดาวตก หนาแนนมากเปน พิเศษ เรียกวาพายุฝนดาวตก บรรณานุกรม 
  • 14.   12 จงจิต สุธาอรรถ. จักรวาลและดวงดาว. พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ อักษรวัฒนา, 2542. พิมล ไถทอง. ฟากฟายามราตรี. หจก.อุบลยงสวัสดิ์ออฟเซท, อุบลราชธานี , 2548. สก็อตต เอส. เชพพารด. The Jupiter Satellite Page. Carnegie Institution for Science, Department of Terrestrial Magnetism. Eric W. Weisstein (2006). "Galileo Galilei (1564–1642)". Wolfram Research. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-11-08. "Discoverer of Titan: Christiaan Huygens". ESA Space Science. 2005. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-11-08. "Comet Halley". University of Tennessee. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-12-27. "Etymonline: Solar System". เก็บขอมูลเมื่อ 2008-01-24. "Herschel, Sir William (1738–1822)". enotes.com. เก็บขอมูลเมื่อ 2006-11-08. "Discovery of Ceres: 2nd Centenary, January 1, 1801–January 1, 2001". astropa.unipa.it. 2000. เก็บ ขอมูลเมื่อ 2006-11-08. "Spectroscopy and the Birth of Astrophysics". Center for History of Physics, a Division of the American Institute of Physics. เก็บขอมูลเมื่อ 2008-04-30. Irvine, W. M.. The chemical composition of the pre-solar nebula. Amherst College, Massachusetts. สืบคนวันที่ 2007-02-15