SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
การเขียนเรียงความให้มีสาระน่าอ่านนั้นจะต้อง
ประกอบด้วยข้อเท็จจริง รายละเอียด ความคิดเห็น
ซึ่งเราได้มาจากประสบการณ์ การสังเกต เนื้อเรื่อง
ของเรียงความนอกจากจะให้ความรู้แก่ผู้อ่านแล้ว ก็
ต้องให้ผู้อ่านสนใจและเพลิดเพลินด้วย ขณะเดียวกัน
ต้องระมัดระวังไม่ให้การเขียนออกนอกเรื่อง ต้อง
พยายามเขียนให้เป็ นไปตามเค้าโครงเรื่องที่ตั้งไว้
(ชัยนันท์ นันทพันธ์, 2534)
เนื้อเรื่องหรือเนื้อความ เป็ นใจความส่วน
ใหญ่ของเรื่อง เป็ นส่วนที่ยาวที่สุดของเนื้อเรื่อง
และเป็ นส่วนที่สาคัญที่สุดของการเขียนเรียงความ
เพราะเป็ นส่วนที่เสนอความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจ ทรรศนะ หรือความรู้สึกของผู้เขียนให้
แจ่มแจ้ง โดยอาจยกประสบการณ์ของผู้เขียนมา
สนับสนุนเรื่องที่เขียนก็ได้
การเขียนส่วนของเนื้อเรื่องนี้ต้องแบ่งสัดส่วนออกเป็ นย่อ
หน้าต่างๆ หลายย่อหน้า จะย่อเมื่อใดนั้น ขึ้นอยู่กับการดาเนิน
เรื่องและขึ้นอยู่กับว่า เราได้เปลี่ยนหัวข้อที่จะพูดถึงอีกหรือยัง
ถ้าเริ่มเปลี่ยนพูดถึงส่วนอื่นๆ ก็ย่อหน้าได้และโดยปกตินั้น ส่วน
เนื้อเรื่องนี้ควรได้อ้างอุทาหรณ์ต่าง ๆ มาประกอบ เป็ นเชิงสาธก
โวหาร หรือเทศนาโวหาร อุปมาโวหาร และอาจเสนอบทกลอน
หรือสุภาษิตที่เกี่ยวข้องมาประกอบด้วย ก็จะทาให้ส่วนของเนื้อหา
มีคุณค่ามากขึ้น (กรมวิชาการ, 2544; จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ,
2548; นพดล จันทร์เพ็ญ, 2542)
เนื้อเรื่องที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ คือ
1. มีเอกภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องที่เขียนต้องเป็ นอันหนึ่ง
อันเดียวกัน ไม่ออกนอกประเด็น
2. มีสัมพันธภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องต้องมีความสัมพันธ์กัน
ตลอดทั้งเรื่อง มีการลาดับความคิด ลาดับเนื้อเรื่อง
ต่อเนื่องกัน
3. มีสารัตถภาพ หมายถึง การเขียนเรียงความต้องมี
เนื้อหาสาระที่ถูกต้อง มีใจความสาคัญของเรื่องที่เด่นชัด
สื่อความหมายได้ชัดเจน

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำขนิษฐา ทวีศรี
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1Yui Siriwararat
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 Yui Siriwararat
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตNattapon
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์maerimwittayakom school
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 

Viewers also liked (8)

หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 

Similar to หน่วยที่ 7

ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ bookPloykarn Lamdual
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7ssuserfd9042
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองพัน พัน
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 

Similar to หน่วยที่ 7 (18)

ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
 
Blog writing
Blog writingBlog writing
Blog writing
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้นการเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้น
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 

หน่วยที่ 7

  • 1.
  • 2. การเขียนเรียงความให้มีสาระน่าอ่านนั้นจะต้อง ประกอบด้วยข้อเท็จจริง รายละเอียด ความคิดเห็น ซึ่งเราได้มาจากประสบการณ์ การสังเกต เนื้อเรื่อง ของเรียงความนอกจากจะให้ความรู้แก่ผู้อ่านแล้ว ก็ ต้องให้ผู้อ่านสนใจและเพลิดเพลินด้วย ขณะเดียวกัน ต้องระมัดระวังไม่ให้การเขียนออกนอกเรื่อง ต้อง พยายามเขียนให้เป็ นไปตามเค้าโครงเรื่องที่ตั้งไว้ (ชัยนันท์ นันทพันธ์, 2534)
  • 3. เนื้อเรื่องหรือเนื้อความ เป็ นใจความส่วน ใหญ่ของเรื่อง เป็ นส่วนที่ยาวที่สุดของเนื้อเรื่อง และเป็ นส่วนที่สาคัญที่สุดของการเขียนเรียงความ เพราะเป็ นส่วนที่เสนอความรู้ ความคิด ความ เข้าใจ ทรรศนะ หรือความรู้สึกของผู้เขียนให้ แจ่มแจ้ง โดยอาจยกประสบการณ์ของผู้เขียนมา สนับสนุนเรื่องที่เขียนก็ได้
  • 4. การเขียนส่วนของเนื้อเรื่องนี้ต้องแบ่งสัดส่วนออกเป็ นย่อ หน้าต่างๆ หลายย่อหน้า จะย่อเมื่อใดนั้น ขึ้นอยู่กับการดาเนิน เรื่องและขึ้นอยู่กับว่า เราได้เปลี่ยนหัวข้อที่จะพูดถึงอีกหรือยัง ถ้าเริ่มเปลี่ยนพูดถึงส่วนอื่นๆ ก็ย่อหน้าได้และโดยปกตินั้น ส่วน เนื้อเรื่องนี้ควรได้อ้างอุทาหรณ์ต่าง ๆ มาประกอบ เป็ นเชิงสาธก โวหาร หรือเทศนาโวหาร อุปมาโวหาร และอาจเสนอบทกลอน หรือสุภาษิตที่เกี่ยวข้องมาประกอบด้วย ก็จะทาให้ส่วนของเนื้อหา มีคุณค่ามากขึ้น (กรมวิชาการ, 2544; จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ, 2548; นพดล จันทร์เพ็ญ, 2542)
  • 5. เนื้อเรื่องที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ คือ 1. มีเอกภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องที่เขียนต้องเป็ นอันหนึ่ง อันเดียวกัน ไม่ออกนอกประเด็น 2. มีสัมพันธภาพ หมายถึง เนื้อเรื่องต้องมีความสัมพันธ์กัน ตลอดทั้งเรื่อง มีการลาดับความคิด ลาดับเนื้อเรื่อง ต่อเนื่องกัน 3. มีสารัตถภาพ หมายถึง การเขียนเรียงความต้องมี เนื้อหาสาระที่ถูกต้อง มีใจความสาคัญของเรื่องที่เด่นชัด สื่อความหมายได้ชัดเจน