SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
การเขียนย่อหน้าสรุป เป็ นการเขียนในขั้นตอน
สุดท้ายของเรียงความ เป็ นส่วนสุดท้ายของเรียงความ
ที่ผู้เขียนจะเน้นความรู้ ความคิดหลัก หรือประเด็น
สาคัญของเรื่องที่เขียนอีกครั้งหนึ่ง การสรุปนับว่ามี
ส่วนสาคัญเท่ากับคานา เพราะเป็ นส่วนช่วยเสริมให้
เรียงความมีคุณค่าขึ้น การสรุปควรมีเนื้อหาสอดคล้อง
กับคานา และประเด็นของเรื่อง ย่อหน้าสรุปไม่ควรยาว
แต่ให้มีใจความกระชับ ประทับใจผู้อ่าน
วิธีการสรุปมีหลายวิธี เช่น การฝากข้อคิดเห็น
การสรุปสาระสาคัญที่ผู้อ่านควรทราบ การลงท้ายด้วย
คาคมหรือสุภาษิต การลงท้ายเพื่อเป็ นการตอบ
คาถามในคานา การเขียนคาลงท้ายต้องทาให้ผู้อ่าน
เกิดความสนุกเพลิดเพลิน ได้ความคิดใหม่หรือแนว
แปลก อ่านแล้วเข้าใจเรื่องราวทั้งหมด หรืออ่านแล้ว
เกิดความประทับใจ บทสรุปหรือคาลงท้ายดังกล่าวจึง
จะนับว่าเป็ นคาลงท้ายที่ดี
ตัวอย่างการเขียนย่อหน้าสรุป
(นงเยาว์ ประโมนะกัง, 2546: 186-187)
 สรุปด้วยการฝากข้อคิด เช่น “….ชีวิตมนุษย์ที่จะนับว่า
สมบูรณ์มีค่าในตัวเอง และต่อผู้อื่น จึงไม่ควรจากัด
การศึกษาของตนไว้เพียงที่กฎหมายของรัฐกาหนด แต่
สมควรศึกษาหาความรู้จนตลอดชีวิตของตน การหยุด
นิ่งไม่ขวนขวายหาความรู้อยู่เสมอ ก็เท่ากับทาตนให้
ถอยหลัง พ้นไปจากแสงประทีปแห่งปัญญานั่นเอง”
 สรุปด้วยการย้าให้เห็นความสาคัญ เช่น “ภาษาเป็ นสิ่ง
สาคัญของบ้านเมือง ขอให้ช่วยกันรักษามาตรฐานของ
ภาษาไทยอย่าให้เสื่อมโทรม”
 สรุปด้วยการสั่งสอน เช่น “……เราทั้งหลายจึงควร
ถือว่าเป็ นหน้าที่ที่จะต้องช่วยกันอนุรักษ์ภาษาไทยไว้ด้วย
การไม่ประพฤติปฏิบัติสิ่งใด ที่จะเป็ นการทาให้ภาษาไทย
ของเราเสื่อมลง และต้องพยายามเสริมสร้างภาษาของเรา
ทุกด้านทุกโอกาสที่สามารถจะกระทาได้ แล้วภาษาไทย
ของเราก็จะดารงอยู่คู่กับคนไทยตลอดไป”
 สรุปด้วยคาคม สุภาษิต หรือคาประพันธ์ เพื่อนามาสนับสนุนความคิด
ให้เด่นชัด เช่น ความซื่อสัตย์สุจริตเป็ นความอยู่รอดและความสงบสุข
ของสังคมบ้านเมืองประเทศชาติ และโลกทั้งมวล จึงมีค่านิยม ทัศนคติ
และเป็ นวิถีการดาเนินชีวิตที่มีความหมายและสาคัญยิ่งของมนุษยชาติ
เป็ นสิ่งที่ทุกคนจะต้องช่วยกันปลูกฝังให้กับลูกหลาน ญาติพี่น้อง
เพื่อนบ้าน และทุกคนในสังคม และทุกคนต้องประพฤติตนอยู่ใน
ความซื่อสัตย์สุจริตให้สมดังโคลงโลกนิติที่ว่า
เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์
เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้
เสียรู้เร่งดารง ความสัตย์ ไว้นา
เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา
 สรุปด้วยการแนะนาและชักชวน เช่น “…..ใน
วันแม่แห่งชาติ และวันเฉลิมพระชนมพรรษานี้
ทุกๆ ท่าน คงจะได้ระลึกถึงองค์สมเด็จพระแม่
แห่งชาติ ด้วยความสานึกตระหนักในพระมหา
กรุณาธิคุณ แล้วร่วมแรงร่วมใจกันโดยสมานฉันท์
เพื่อถวายชัยมงคลและบูชาพระมหากรุณาธิคุณ
ทั้งนั้นด้วยปฏิบัติบูชาโดยนัยที่กล่าวแล้ว”
 สรุปด้วยการย้าสาระสาคัญของเรื่อง เช่น “กล่าวโดยสรุป จาก
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจในการปฏิรูปเศรษฐกิจ
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงสมัยพระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังได้กล่าวแล้วตั้งแต่ต้นนั้นเป็ นที่
ประจักษ์แล้วว่า พระมหากษัตราธิราชเจ้าของชาวไทยเราได้ทรง
ปฏิรูปเศรษฐกิจของบ้านเมืองมาแล้วมากมายในอดีต ก่อให้เกิด
ความเจริญก้าวหน้า และความอยู่ดีกินดีของประชาชนสืบทอดมา
จนกระทั่งปัจจุบัน การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจในอดีตนับว่าเป็ น
บทเรียนสาหรับปัจจุบันและอนาคต จึงควรที่เราจะได้น้อมราลึกถึง
พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านตลอดกาล”

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1Yui Siriwararat
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 

What's hot (19)

หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Yui Siriwararat
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตNattapon
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์maerimwittayakom school
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 

Viewers also liked (8)

หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 

หน่วยที่ 8

  • 1.
  • 2. การเขียนย่อหน้าสรุป เป็ นการเขียนในขั้นตอน สุดท้ายของเรียงความ เป็ นส่วนสุดท้ายของเรียงความ ที่ผู้เขียนจะเน้นความรู้ ความคิดหลัก หรือประเด็น สาคัญของเรื่องที่เขียนอีกครั้งหนึ่ง การสรุปนับว่ามี ส่วนสาคัญเท่ากับคานา เพราะเป็ นส่วนช่วยเสริมให้ เรียงความมีคุณค่าขึ้น การสรุปควรมีเนื้อหาสอดคล้อง กับคานา และประเด็นของเรื่อง ย่อหน้าสรุปไม่ควรยาว แต่ให้มีใจความกระชับ ประทับใจผู้อ่าน
  • 3. วิธีการสรุปมีหลายวิธี เช่น การฝากข้อคิดเห็น การสรุปสาระสาคัญที่ผู้อ่านควรทราบ การลงท้ายด้วย คาคมหรือสุภาษิต การลงท้ายเพื่อเป็ นการตอบ คาถามในคานา การเขียนคาลงท้ายต้องทาให้ผู้อ่าน เกิดความสนุกเพลิดเพลิน ได้ความคิดใหม่หรือแนว แปลก อ่านแล้วเข้าใจเรื่องราวทั้งหมด หรืออ่านแล้ว เกิดความประทับใจ บทสรุปหรือคาลงท้ายดังกล่าวจึง จะนับว่าเป็ นคาลงท้ายที่ดี
  • 4. ตัวอย่างการเขียนย่อหน้าสรุป (นงเยาว์ ประโมนะกัง, 2546: 186-187)  สรุปด้วยการฝากข้อคิด เช่น “….ชีวิตมนุษย์ที่จะนับว่า สมบูรณ์มีค่าในตัวเอง และต่อผู้อื่น จึงไม่ควรจากัด การศึกษาของตนไว้เพียงที่กฎหมายของรัฐกาหนด แต่ สมควรศึกษาหาความรู้จนตลอดชีวิตของตน การหยุด นิ่งไม่ขวนขวายหาความรู้อยู่เสมอ ก็เท่ากับทาตนให้ ถอยหลัง พ้นไปจากแสงประทีปแห่งปัญญานั่นเอง”
  • 5.  สรุปด้วยการย้าให้เห็นความสาคัญ เช่น “ภาษาเป็ นสิ่ง สาคัญของบ้านเมือง ขอให้ช่วยกันรักษามาตรฐานของ ภาษาไทยอย่าให้เสื่อมโทรม”  สรุปด้วยการสั่งสอน เช่น “……เราทั้งหลายจึงควร ถือว่าเป็ นหน้าที่ที่จะต้องช่วยกันอนุรักษ์ภาษาไทยไว้ด้วย การไม่ประพฤติปฏิบัติสิ่งใด ที่จะเป็ นการทาให้ภาษาไทย ของเราเสื่อมลง และต้องพยายามเสริมสร้างภาษาของเรา ทุกด้านทุกโอกาสที่สามารถจะกระทาได้ แล้วภาษาไทย ของเราก็จะดารงอยู่คู่กับคนไทยตลอดไป”
  • 6.  สรุปด้วยคาคม สุภาษิต หรือคาประพันธ์ เพื่อนามาสนับสนุนความคิด ให้เด่นชัด เช่น ความซื่อสัตย์สุจริตเป็ นความอยู่รอดและความสงบสุข ของสังคมบ้านเมืองประเทศชาติ และโลกทั้งมวล จึงมีค่านิยม ทัศนคติ และเป็ นวิถีการดาเนินชีวิตที่มีความหมายและสาคัญยิ่งของมนุษยชาติ เป็ นสิ่งที่ทุกคนจะต้องช่วยกันปลูกฝังให้กับลูกหลาน ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน และทุกคนในสังคม และทุกคนต้องประพฤติตนอยู่ใน ความซื่อสัตย์สุจริตให้สมดังโคลงโลกนิติที่ว่า เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์ เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้ เสียรู้เร่งดารง ความสัตย์ ไว้นา เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา
  • 7.  สรุปด้วยการแนะนาและชักชวน เช่น “…..ใน วันแม่แห่งชาติ และวันเฉลิมพระชนมพรรษานี้ ทุกๆ ท่าน คงจะได้ระลึกถึงองค์สมเด็จพระแม่ แห่งชาติ ด้วยความสานึกตระหนักในพระมหา กรุณาธิคุณ แล้วร่วมแรงร่วมใจกันโดยสมานฉันท์ เพื่อถวายชัยมงคลและบูชาพระมหากรุณาธิคุณ ทั้งนั้นด้วยปฏิบัติบูชาโดยนัยที่กล่าวแล้ว”
  • 8.  สรุปด้วยการย้าสาระสาคัญของเรื่อง เช่น “กล่าวโดยสรุป จาก การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจในการปฏิรูปเศรษฐกิจ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงสมัยพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังได้กล่าวแล้วตั้งแต่ต้นนั้นเป็ นที่ ประจักษ์แล้วว่า พระมหากษัตราธิราชเจ้าของชาวไทยเราได้ทรง ปฏิรูปเศรษฐกิจของบ้านเมืองมาแล้วมากมายในอดีต ก่อให้เกิด ความเจริญก้าวหน้า และความอยู่ดีกินดีของประชาชนสืบทอดมา จนกระทั่งปัจจุบัน การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจในอดีตนับว่าเป็ น บทเรียนสาหรับปัจจุบันและอนาคต จึงควรที่เราจะได้น้อมราลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านตลอดกาล”