SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
1
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ปัจจุบันฐานข้อมูลมีความเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตประจาวันโดยเฉพาะเรื่องของการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการนาไปใช้
หรือประมวลผล เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ เนื่องจากฐานข้อมูลเป็นกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กัน โดยมีระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล(Database Management System : DBMS) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ในการจัดการและควบคุมการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูล
สาหรับการใช้งานฐานข้อมูล ผู้ใช้จะใช้งานผ่านโปรแกรมประยุกต์(Database Application) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ติดต่อกับฐานข้อมูลเพื่อใช้
ในการประมวลผลให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ ตัวอย่างของระบบงานฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เช่น การซื้อของโดยใช้
บัตรเครดิต เมื่อลูกค้าซื้อสินค้าโดยใช้บัตรเครดิต พนักงานขายก็สามารถตรวจสอบได้ว่าลูกค้ามีวงเงินที่สามารถชาระค่าสินค้าได้
หรือไม่ ซึ่งในการตรวจสอบนี้สามารถทาได้โดยการโทรศัพท์ตรวจสอบหรือการอ่านผ่านเครื่องอ่านบัตรอัตโนมัติที่เชื่อมต่อเข้ากับ
ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดก็จะมีฐานข้อมูลเกี่ยวข้องที่ใดที่หนึ่งที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อสินค้าที่ลูกค้าใช้บัตร
เครดิตในการชาระเงิน ในส่วนของการตรวจสอบวงเงินคงเหลือนั้น จะมีโปรแกรมที่ใช้หมายเลขบัตรเครดิตเพื่อตรวจสอบราคา
สินค้าที่ลูกค้าต้องการซื้อร่วมกับยอดซื้อทั้งหมดของเดือนว่ายังอยู่ในวงเงินที่กาหนดหรือไม่ เมื่อการซื้อสินค้าถูกยืนยัน รายละเอียด
ต่างๆในการซื้อสินค้าก็จะถูกบันทึกไว้ในฐานข้อมูล หรือการจองตั๋วเครื่องบินผ่านตัวแทนจาหน่าย เมื่อลูกค้าต้องการจองหรือซื้อตั๋ว
เครื่องบิน พนักงานขายจะเข้าถึงฐานข้อมูลเพื่อค้นหาที่นั่งว่างที่เหลือของเที่ยวบินที่ลูกค้าต้องการ ซึ่งอาจเป็นขาไปและขากลับ
และเมื่อลูกค้ายืนยันว่าต้องการซื้อหรือจองที่นั่งที่ต้องการแล้ว พนักงานก็จะบันทึกรายละเอียดในการจองและข้อมูลของลูกค้าลงใน
ฐานข้อมูล เมื่อถึงวันเวลาเดินทาง ลูกค้าก็ต้องนาตั๋วเครื่องบินที่ซื้อไว้มาเช็คอิน พนักงานก็สามารถดึงข้อมูลของลูกค้าขึ้นมา
ตรวจสอบความถูกต้องได้ เป็นต้น
ความหมายของฐานข้อมูลและระบบจัดการฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันนามาเก็บรวบรวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบ และ
ข้อมูลที่ประกอบกันเป็นฐานข้อมูลนั้นต้องตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานขององค์กรด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น ในสานักงานก็จะ
เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ที่มาติดต่อจนถึงการเก็บเอกสารทุกอย่างของสานักงาน ซึ่งข้อมูลส่วนนี้จะมีส่วนที่
สัมพันธ์กันและเป็นที่ต้องการนาออกมาใช้ประโยชน์ต่อไปในภายหลัง โดยข้อมูลนั้นอาจจะเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ สถานที่ หรือ
เหตุการณ์ใดๆ ก็ได้ที่บุคคลสนใจศึกษา หรือข้อมูลได้มาจากการสังเกต การนับ การวัด รวมทั้งข้อมูลที่เป็นตัวเลข ข้อความ และ
รูปภาพต่างๆ ก็สามารถนามาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลได้ แต่ข้อมูลทุกอย่างต้องมีความสัมพันธ์กัน เพราะจะต้องนามาใช้ประโยชน์
ต่อไปในอนาคต
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
2
ตัวอย่างของข้อมูล
ชื่อฐานข้อมูล กลุ่มข้อมูล
บริษัท พนักงาน
ลูกค้า
สินค้า
ใบสั่งสินค้า
โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย นักเรียน
อาจารย์
วิชา
การลงทะเบียน
ระบบจัดการฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่บริหารฐานข้อมูล
ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เป็นเครื่องมือที่ช่วยอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรับรู้
เกี่ยวกับรายละเอียดภายในโครงสร้างฐานข้อมูล ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลจะเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้และ
โปรแกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล ตัวอย่างของระบบจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft Access,
FoxPro, SQL Server, Oracle, Informix, DB2 เป็นต้น
หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล มีดังนี้
1. กำหนดมำตรฐำนข้อมูล
2. ควบคุมกำรเข้ำถึงข้อมูลแบบต่ำง ๆ
3. ดูแล-จัดเก็บข้อมูลให้มีควำมถูกต้องแม่นยำ
4. จัดเรื่องกำรสำรอง และฟื้นสภำพแฟ้ มข้อมูล
5. จัดระเบียบแฟ้ มทำงกำยภำพ (Physical Organization)
6. รักษำควำมปลอดภัยของข้อมูลภำยในฐำนข้อมูล และป้ องกันไม่ใช้ข้อมูลสูญหำย
7. บำรุงรักษำฐำนข้อมูลให้เป็นอิสระจำกโปรแกรมแอพพลิเคชันอื่น ๆ
8. เชื่อมโยงข้อมูลที่มีควำมสัมพันธ์เข้ำด้วยกัน เพื่อรองรับควำมต้องกำรใช้ข้อมูลในระดับต่าง ๆ
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
3
ภาพที่ 1.1 ระบบจัดการฐานข้อมูล
แฟ้มข้อมูล
แฟ้มข้อมูล เป็นคาที่มีความหมายได้เป็น 2 นัย คือ Data File และ Database ดังนั้นจึงมีข้อแตกต่าง
ของแฟ้มข้อมูล ไว้ดังนี้
1. Data File คือ การรวบรวมข้อมูลหรือเรคอร์ดที่เกี่ยวข้องกันไว้เป็นชุดและจัดเก็บไว้
เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อดาเนินงานเฉพาะกิจภายในองค์กร ทั้งนี้อาจเป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ชั่วคราว หรืออาจ
เก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงถึงภายหลังได้ มักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้เฉพาะกับโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งเท่านั้น
2. Database คือการรวบรวมข้อมูลที่สัมพันธ์กันและกาหนดรูปแบบการจัดเก็บอย่างเป็น
ระบบ การจัดเก็บที่เป็นฐานข้อมูลมักจะจัดเก็บไว้ที่หน่วยศูนย์กลาง ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ในหลายๆ หน่วยงานใน
องค์กรสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่จัดเก็บไว้ได้ตามความต้องการของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งอาจจะถูกเรียกใช้ได้เสมอๆ
เนื่องจากเป็นข้อมูลที่ใช้เป็นประจา
แฟ้มข้อมูล หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันเก็บเอาไว้อย่างเป็นระบบ ซึ่ง
บางระบบอาจมีเพียงหนึ่งแฟ้มข้อมูลหรือมากกว่า ในการรวบรวมแฟ้มข้อมูลนั้นสามารถเก็บรวบรวมทั้งหมดไว้ที่
หน่วยศูนย์กลางภายในองค์กร หรือแยกเก็บแฟ้มข้อมูลเฉพาะเรื่องเก็บไว้ในแต่ละหน่วยงานได้ ดังนั้นคาว่า
แฟ้มข้อมูลในที่นี้จะไม่ได้มีความหมายจากัดเพียงแค่ชุดข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้กับโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง
โดยเฉพาะเท่านั้น สาหรับการประมวลผลข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูลนั้น ผู้ใช้จะต้องทราบว่าภายในแฟ้มข้อมูลนั้นๆ
มีเรคอร์ดที่ประกอบด้วยฟิลด์อะไรบ้าง แต่ละฟิลด์มีลักษณะอย่างไร ในกรณีที่มีเพียงหนึ่งแฟ้มข้อมูล การ
ระบบจัดกำรฐำนข้อมูล
(DBMS)
โปรแกรมรับสมัครนักศึกษำ
โปรแกรมกำรลงทะเบียน
โปรแกรมพฤติกรรมนักศึกษำ
- Student.Mdb
- Teacher.Mdb
- Suvject.Mdb
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
4
ประมวลผลจะไม่ยุ่งยากมากนัก แต่ในกรณีที่ต้องการใช้ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลมากกว่าหนึ่งแฟ้มข้อมูล ผู้ใช้จะต้อง
พิจารณาว่าผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร และการที่จะได้ผลลัพธ์ที่ต้องการนั้นต้องอ่านค่าเข้ามาจากฟิลด์ใดใน
แฟ้มข้อมูลใดบ้าง ตัวอย่างเช่น โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์สารสนเทศต้องการผลลัพธ์เป็นรายการชื่อนักศึกษา ชื่อ
อาจารย์ผู้สอนและเบอร์โทรศัพท์ของอาจารย์ผู้สอน แต่ข้อมูลถูกจัดเก็บไว้ในสองแฟ้มข้อมูลแยกกัน คือ Horse file
และ Owner file ดังนั้นในการที่จะได้ผลลัพธ์ดังกล่าวจะต้องดาเนินการเป็นขั้นตอน ดังนี้
1. เปิด Horse file เพื่ออ่านเรคอร์ด
2. อ่านชื่อนักศึกษา และชื่ออาจารย์ผู้สอนเพื่อนามาออกเป็นผลลัพธ์ที่ต้องการ
3. ใช้ชื่อของอาจารย์ผู้สอนไปเชื่อมโยงกับเรคอร์ดใน Owner file
4. อ่านเบอร์โทรศัพท์ใน Owner file แล้วนามาออกเป็นผลลัพธ์
ภาพที่ 1.2 การประมวลผลข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลสองแฟ้ม
สมฤทัย รัศมี ดีเลิศ (044) 595-211
ชื่อ : สมฤทัย
เพศ : หญิง
ว/ด/ป เกิด : 1/09/2535
ชื่อ : รัศมี ดีเลิศ
สถานะ : อาจารย์ผู้สอน
ว/ด/ป ที่เริ่มสอน : 12/2/2547
ที่อยู่ : 509/3 ต.ในเมือง อ.เมือง
นครรำชสีมำ
เชื่อมโยง
โดย
ชื่ออาจารย์
ผู้สอน
Horse file Owner file
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
5
ภาพที่ 1.3 การประมวลความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลเพื่อออกใบแจ้งหนี้
ภาพที่ 1.4 ข้อมูลที่ได้จากแฟ้มข้อมูลลูกค้าและแฟ้มข้อมูลใบแจ้งหนี้เพื่อออกใบแจ้งหนี้
จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่าในการประมวลผลข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูล นอกจากจาเป็นที่จะต้องทราบว่าภายในแต่ละ
แฟ้มข้อมูลมีข้อมูลอะไรบ้างแล้ว จะต้องทราบว่าสามารถเชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกันได้อย่างไร ในกรณีที่ระบบมีความ
ซับซ้อนมากขึ้น การประมวลความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลต่างๆ ยิ่งมีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น กรณีที่มีลูกค้าสั่งสินค้าเข้ามา
บริษัทไทยน้าทิพย์ ใบแจ้งหนี้ เลขที่ J2343
เลขที่ 111 รามคาแหง 11
บางกะปิ กทม. 10000
20 กุมภาพันธ์ 2554
ใบแจ้งหนี้
นาส่ง
นายประหยัด มัฐยัด
โทร.02-2484848
ลาดับที่ หมายเลขสินค้า รายละเอียด ราคา/หน่วย จานวน ราคารวม
1 TACK-2397A โค๊ก 23.00 1 23.00
2 TACK-90100 เป๊ปซี่ 23.25 2 46.50
3 TACK-50031 น้าแดง 22.50 4 90.00
รวม 159.50
ข้อมูลจาก
แฟ้มข้อมูล
ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลลูกค้า
ลูกค้ำสั่งซื้อ
สินค้ำ
แฟ้มข้อมูล
ลูกค้า
แฟ้ มข้อมูล
สินค้ำ
แฟ้มข้อมูล
ใบแจ้งหนี้
แฟ้มข้อมูล
รายละเอียดการ
สั่งซื้อ
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
6
ข้อมูลในการสั่งสินค้าที่จะป้อนเข้าไปในระบบ ต้องนาไปตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้าทั้งหมดของบริษัท และ
แฟ้มข้อมูล รายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าทั้งหมดที่มีอยู่ เมื่อตรวจสอบและปรับเปลี่ยนค่าในแฟ้มข้อมูลทั้งสองเรียบร้อยแล้ว จึงนา
ค่าที่ได้ไปออกเป็นแฟ้มข้อมูลผลลัพธ์ให้กับอีกสองแฟ้มข้อมูล คือ แฟ้มข้อมูลใบแจ้งหนี้ ซึ่งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการติดต่อ
ของลูกค้าและแฟ้มรายละเอียดการสั่งซื้อ ซึ่งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าแต่ละอย่างที่ลูกค้าสั่งซื้อ และจากแฟ้มข้อมูลผลลัพธ์
ทั้งสองแฟ้มข้อมูลรวมกับแฟ้มข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้าทั้งหมดของบริษัทได้ผลลัพธ์เป็นใบแจ้งหนี้ ซึ่งแสดงรายละเอียดของ
ราคาสินค้าที่ลูกค้าต้องจ่ายกลับออกมาเพื่อส่งต่อให้ลูกค้าต่อไป
ประเภทของแฟ้มข้อมูล
สามารถแบ่งชนิดของแฟ้มข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์ในทางธุรกิจ ได้เป็น 5
ประเภท ดังนี้
1. แฟ้มข้อมูลรายการหลัก (Master file) ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีสภาพ
ค่อนข้างคงที่ เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา จะประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่
คณะ และโปรแกรมวิชา เป็นต้น ซึ่งการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลในแฟ้มข้อมูลรายการหลักให้ทันสมัยสามารถทาได้ 3
รูปแบบคือ การเพิ่ม (Add) การลบออก (Delete) และการแก้ไข (Modify) เช่น การเพิ่มระเบียนของนักศึกษาใน
กรณีที่เป็นนักศึกษาใหม่ การลบระเบียนของนักศึกษาในกรณีที่นักศึกษาลาออก และการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของ
นักศึกษา หรือ ข้อมูลของลูกค้าธนาคาร เช่น เลขที่บัญชี ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ ยอดเงินคงเหลือ ซึ่งจะถูกแก้ไขเมื่อมี
รายการฝากถอนเงินจากลูกค้า โดยการแก้ไขแฟ้มข้อมูลอาจทาได้โดยตรงหรือแก้ไขโดยใช้ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล
รายการเปลี่ยนแปลง
2. แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่มักมีการเคลื่อนไหว
หรือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เช่น แฟ้มข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาที่จะต้องมีการลงทะเบียนเรียน
ในทุกๆ ภาคการศึกษา แฟ้มข้อมูลรายการฝาก-ถอนเงินในบัญชีลูกค้าธนาคาร หรือแฟ้มข้อมูลการขายสินค้า
ประจาวัน เป็นต้น
3. แฟ้มข้อมูลรายงาน (Report File) เป็นแฟ้มที่รายงานข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลรายการหลัก โดย
ระเบียนจากแฟ้มข้อมูลรายการหลักจะถูกดึงไปใช้ในการออกรายงาน
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
7
4. แฟ้มเรียงลาดับข้อมูล (Sort file) เป็นแฟ้มที่มีการจัดเรียงข้อมูลให้เป็นลาดับ โดยแฟ้มที่จะถูก
จัดเรียงข้อมูล อาจเป็นแฟ้มข้อมูลรายการหลัก หรือแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง หรือแฟ้มข้อมูลรายงานก็ได้
5. แฟ้มข้อมูลสารอง (Backup) ใช้เก็บสารองข้อมูลในแฟ้มข้อมูลที่มีความสาคัญสูง การสารองข้อมูล
เป็นสิ่งสาคัญมากในการใช้งานคอมพิวเตอร์ เนื่องจากสื่อที่เก็บข้อมูลต่างๆ อาจเกิดปัญหาได้โดยที่ผู้ใช้คาดไม่ถึง
ดังนั้นควรจัดเก็บข้อมูลลงบนสื่อบันทึกข้อมูลอื่นเพื่อเป็นการสารองข้อมูลในกรณีที่มีปัญหา ซึ่งจะช่วยให้ได้ข้อมูลที่
สาคัญกลับมาใช้ใหม่
ระบบแฟ้มข้อมูล
ระบบแฟ้มข้อมูล(File System) คือ การจัดเก็บข้อมูลด้วยระบบแฟ้มข้อมูลเป็นรูปแบบการจัดเก็บ
ข้อมูลแบบดั้งเดิมที่นิยมใช้กันเมื่อคอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บและประมวลผลสารสนเทศในยุค
เริ่มต้น การศึกษารูปแบบการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูลจะทาให้เห็นถึงข้อบกพร่องต่างๆ ที่เป็นสาเหตุให้การ
จัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูลได้รับความนิยมขึ้นมาแทนที่การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล
ระบบแฟ้มข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลที่สัมพันธ์กันหรือเกี่ยวข้องกันมาไว้ที่เดียวกัน เพื่อให้
สะดวกในการเรียกใช้และค้นหาข้อมูล เช่น ดิสก์ การเก็บข้อมูลแบบไฟล์นี้การคงอยู่ของข้อมูลจะเป็นแบบถาวร
กว่าการเก็บข้อมูลไว้ในตัวแปรซึ่งเมื่อเราจบการทางานของโปรแกรมข้อมูลที่อยู่ภายในตัวแปรนั้นๆ จะหายไป
ดังนั้นในภาษา C จะมองข้อมูลที่เก็บอยู่ในแฟ้มข้อมูล มีลักษณะเป็นข้อมูลที่อยู่ต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ต้นแฟ้มข้อมูลจน
จบแฟ้มข้อมูล โดยไม่มีการแบ่งช่วงเหมือนกับภาษาระดับสูงทั่วๆ ซึ่งในการประมวลผลแฟ้มข้อมูลแต่ละครั้งผู้เขียน
โปรแกรมจะเป็นผู้กาหนดขอบเขตในการนาข้อมูลไปประมวลเอง
ระบบแฟ้มข้อมูลเป็นรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบคอมพิวเตอร์ที่เข้ามาแทนที่การจัดเก็บข้อมูลด้วย
เอกสารแบบเก่า ระบบแฟ้มข้อมูลถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของงานอุตสาหกรรมเพื่อให้การเข้าถึง
ข้อมูลมีประสิทธิภาพขึ้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้วมักจะเกิดขึ้นในระบบแฟ้มข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
8
ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล
ในยุคเริ่มแรกของการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูล จะใช้ระบบแฟ้มข้อมูล ซึ่งแฟ้ม ข้อมูลแต่
ละแฟ้มมักจะถูกสร้างตามภาษาคอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมเมอร์ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น หาก โปรแกรมเมอร์ใช้
ภาษาซีในการเขียนโปรแกรม แฟ้มข้อมูลที่ถูกสร้างก็จะมีโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลตามโครงสร้างที่ภาษาซีกาหนด
ไว้ ซึ่งทาให้เกิดปัญหาระบบแฟ้มข้อมูล ดังนี้
1. ความซ้าซ้อนของข้อมูลเนื่องจากมีการเก็บข้อมูลชุดเดียวกันไว้หลายๆ ที่ เช่นแผนกบุคคล มีการ
เก็บข้อมูลพนักงานไว้ ส่วนแผนกบัญชี ก็มีการเก็บข้อมูลพนักงานไว้เช่นกัน เพื่อนาไปใช้ในระบบเงินเดือน ซึ่ง
ความซ้าซ้อนของข้อมูลนอกจากจะทาให้สิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว ยังก่อให้เกิดปัญหาตามมาอีก
มากมาย
2. ปัญหาจากการเพิ่ม, ลบ, แก้ไข ข้อมูลสาเหตุมาจากความซ้าซ้อนของข้อมูล เมื่อทาการเพิ่ม ลบ
หรือแก้ไข ข้อมูล ในแฟ้มข้อมูลหนึ่ง แต่ไม่ได้ทากับอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่ง เช่น หากแผนกบุคคลมีการรับพนักงานใหม่
มีการเพิ่มข้อมูล แต่ในแผนกบัญชีไม่ได้มีการเพิ่มข้อมูล ก็จะทาให้ข้อมูลไม่ตรงกัน หรือหากมีการแก้ไขข้อมูลชื่อ
พนักงานในแผนกบัญชี โดยไม่ได้แก้ไขในแผนกบุคคล ก็ทาให้ข้อมูลเกิดความขัดแย้งกัน ทั้งที่เป็นข้อมูลของ
พนักงานคนเดียวกันแต่ข้อมูลที่ได้จะไม่ตรงกัน
3. ความไม่เป็นอิสระระหว่างโปรแกรมกับแฟ้มข้อมูลการใช้งานข้อมูลต่างๆ ในแฟ้มข้อมูลนั้น จะต้อง
เขียนโปรแกรมเพื่อนาข้อมูลนั้นมาใช้งาน ซึ่งลักษณะการเขียนโปรแกรมนั้นจะยึดติดกับโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล
ทาให้เกิดความไม่เป็นอิสระของโครงสร้างแฟ้มข้อมูล หากต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล เช่น เพิ่ม
ข้อมูลบางฟิลด์ โดยที่ฟิดล์ข้อมูลนั้นไม่ได้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมที่มีอยู่เดิมเลย แต่ก็จาเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมที่เคย
ใช้งานแฟ้มข้อมูลนั้น เนื่องจากโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลเปลี่ยนแปลงไป ทาให้โปรแกรมที่เคยเขียนไว้เรียกใช้
ข้อมูลผิดพลาดไปจากเดิม ดังนั้นจึงเกิดความไม่สะดวกในการปรับปรุงแก้ไขโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล
นอกจากปัญหาหลักๆ ที่กล่าวมาแล้ว ยังมีปัญหาอื่นๆ เช่น ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล, ความไม่
สะดวกในการเรียกใช้งานข้อมูล หรือกรณีที่ความต้องการในการเรียกดูข้อมูลเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ เช่นเพิ่มการ
แสดงผลข้อมูลบางฟิลด์ ก็ต้องแก้ไขโปรแกรมทุกครั้ง
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
9
ข้อจากัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล
ในการประมวลผลข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูลก่อให้เกิดข้อจากัดในการปัญหาด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลถูกแบ่งและแยกไว้คนละไฟล์ เมื่อข้อมูลถูกแบ่งและแยกให้อยู่คนละไฟล์ การเข้าถึงข้อมูล
จึงเป็นไปได้ยาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องการแสดงรายการบ้านที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า อันดับแรกต้อง
ทาการสร้างแฟ้มชั่วคราวซึ่งมีข้อมูลลูกค้าที่มีความต้องการสิ่งปลูกสร้างประเภท”บ้าน” โดยดึงข้อมูลมาจากแฟ้ม
ลูกค้าที่ต้องการเช่า หลังจากนั้นทาการค้นหาข้อมูลสิ่งปลูกสร้างประเภท”บ้าน” ในแฟ้มสิ่งปลูกสร้างที่ให้เช่าและ
มีค่าเช่า/เดือนไม่เกินค่าเช่าสูงสุดที่ลูกค้ากาหนด สาหรับระบบแฟ้มข้อมูลนี้ทาให้การประมวลผลดังกล่าวทาได้ยาก
ผู้พัฒนาโปรแกรมต้องประมวลผลแฟ้มข้อมูลจากทั้งสองแฟ้มในเวลาเดียวกันและคานึงถึงความถูกต้องของข้อมูล
ด้วย
2. ข้อมูลมีความซ้าซ้อนกัน เนื่องจากแต่ละฝ่ายก็จะมีระบบแฟ้มข้อมูลที่ประมวลผลงานของตนเอง
จึงทาให้ไม่สามารถควบคุมความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ ดังนั้นการที่ไม่มีการควบคุมความซ้าซ้อนของข้อมูลทาให้เกิด
ปัญหาต่างๆ ดังนี้
2.1 ทาให้สิ้นเปลืองเงินและเวลาสาหรับการใช้งานข้อมูลที่มีอยู่ในหลายแฟ้ม
2.2 ทาให้สิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล
2.3 ทาให้ขาดความคงสภาพของข้อมูล(Integrity) หรือกล่าวว่าข้อมูลไม่ต้องกัน
(Inconsistency)
3. มีความขึ้นต่อกันของข้อมูล โครงสร้างและการจัดเก็บข้อมูลของแฟ้มข้อมูลและรายการข้อมูล
ต่างๆ ถูกกาหนดไว้ในโปรแกรมประยุกต์ ทาให้การแก้ไขโครงสร้างแฟ้มข้อมูลทาได้ยาก ดังนั้นโปรแกรมเมอร์ต้อง
ตรวจดูทุกโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลดังกล่าวและแก้ไขให้ถูกต้อง หลังจากนั้นต้องทดสอบโปรแกรมดังกล่าว
หลังการแก้ไข ทาให้เสียเวลา คุณลักษณะของระบบแฟ้มข้อมูลแบบนี้เรียกอีกอย่างว่า การขึ้นต่อกันระหว่าง
โปรแกรมและข้อมูล(Program – Data dependence)
4. รูปแบบข้อมูลไม่ตรงกัน เนื่องจากโครงสร้างข้อมูลจะถูกฝังไว้ในส่วนของโปรแกรมประยุกต์ ทาให้
โครงสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นอยู่กับภาษาการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมประยุกต์ ตัวอย่างเช่น โครงสร้างของ
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
10
แฟ้มข้อมูลที่สร้างด้วยภาษา COBOL ก็จะแตกต่างจากโครงสร้างแฟ้มที่สร้างด้วยภาษา C จากโครงสร้างที่
แตกต่างกันทาให้การใช้ข้อมูลร่วมกันทาได้ยาก
5. โปรแกรมที่ใช้งานคงที่ไม่มีความยืดหยุ่น โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานในระบบแฟ้มข้อมูลจะ
ประมวลผลให้รายงานเฉพาะที่กาหนดไว้โดยผู้เขียนโปรแกรมเท่านั้น ทาให้ไม่สามารถแสดงรายงานที่ต้องการโดย
รายงานดังกล่าวเป็นรายงานที่ไม่ได้มีการวางแผนให้มีในโปรแกรมที่สร้างขึ้น หากต้องการได้รายงานดังกล่าวนั้น
ต้องทาการเขียนโปรแกรมขึ้นมาเพื่อประมวลผลใหม่ ทาให้ไม่สะดวกและสิ้นเปลืองถ้ารายงานนั้นไม่ได้มีการใช้
บ่อยครั้ง
หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบฐานการจัดการฐานข้อมูลที่ดีจะต้องทาหน้าที่แก้ปัญหาความไม่สมบูรณ์ ไม่คงเส้นคงวาของข้อมูลและ
ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องไม่ขัดแย้งกันได้ จึงต้องมีหน้าที่ให้ครอบคลุมหลาย ๆ ด้าน ดังนี้
1. หน้าที่จัดการพจนานุกรมข้อมูล ในการออกแบบฐานข้อมูลโดยปกติ ผู้ออกแบบได้เขียนพจนานุกรมข้อมูลในรูป
ของเอกสารให้กับโปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอร์จะใช้ซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้างพจนานุกรมข้อมูลต่อไป และ
สามารถกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล จาเป็นต้องเปลี่ยนที่พจนานุกรมข้อมูลด้วย
โปรแกรมเมอร์สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลได้ทันที ต่อจากนั้นจึงให้พจนานุกรมข้อมูลพิมพ์รายงาน พจนานุกรมข้อมูลที่
เปลี่ยนแปลงไปแล้วเป็นเอกสารได้เลยทันที่ โดยไม่ต้องแก้ไขที่เอกสาร
2. หน้าที่จัดการแหล่งจัดเก็บข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทันสมัยจะไม่ทาหน้าที่เพียงจัดการแหล่งจัดเก็บ
ข้อมูลเท่านั้น แต่ยังเพิ่มหน้าที่ที่เกี่ยวกับการสร้างฟอร์มป้อนข้อมูลเข้า
หรือกาหนดแบบจอภาพ แบบรายงาน หรือแม้แต่การตรวจสอบข้อมูลนาเข้าว่าถูกต้องหรือไม่ และจัดการเรื่องอื่นๆ อีกหลายอย่าง
3. การเปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลข้อมูล การเปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลข้อมูล เป็นหน้าที่สาหรับเปลี่ยน
ข้อมูลที่ถูกป้อนเข้าไปเป็นโครงสร้างข้อมูลจะจัดเก็บ ซึ่งอยู่ในมุมมองทางกายภาพ หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล
ทาข้อมูลให้เป็นอิสระจากโปรแกรมประยุกต์ได้
4. จัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลทาหน้าที่รักษาความมั่นคง ความปลอดภัยของ
ข้อมูล การไม่ยินยอมเข้าถึงข้อมูลจากผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิ์เข้าไปใช้ฐานข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งฐานข้อมูลประเภทผู้ใช้หลายคน
นอกจากนี้ยังสามารถกาหนดสิทธิ์ให้ผู้ใช้แต่ละคนใช้คาสั่ง เพิ่ม หรือลบ ปรับปรุงข้อมูลได้เป็นรายคนหรือรายกลุ่ม
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
11
5. ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล เป็นการทาหน้าที่ให้ผู้ใช้เข้าใช้ได้หลาย ๆ คนใน
เวลาเดียวกันโดยไม่ทาให้เกิดขัดข้องของข้อมูล ซึ่งจะเน้นกฎความสมบูรณ์ของข้อมูลและการใช้ข้อมูลพร้อมกัน
6. สารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล การสารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล เป็นหน้าที่ที่จาเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้ผู้ใช้
ระบบฐานข้อมูลมั่นใจว่าข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ได้เสียหาย ยังมีความสมบูรณ์อยู่ตลอดเวลา ผู้ใช้ที่เป็นผู้บริหาร
ฐานข้อมูลสามารถใช้คาสั่งสารองข้อมูลและคาสั่งกู้คืนข้อมูลได้
7. จัดการด้านบูรณภาพของข้อมูล เป็นข้อกาหนดให้มีกฎความสมบูรณ์เป็นบูรณภาพ โดยจะให้มีข้อมูลที่ซ้าซ้อน
กันให้น้อยที่สุด แต่ให้มีความถูกต้องตรงกันให้มากที่สุด เพราะในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะมีหลาย ๆ ตารางที่สัมพันธ์กัน
ตารางที่เกี่ยวข้องกันจะขัดแย้งกันไม่ได้
8. เป็นภาษาสาหรับจัดการข้อมูลและจัดสร้างส่วนประสานกับผู้ใช้ ระบบจัดการฐานข้อมูลจัดให้มีภาษาสาหรับ
สอบถาม เป็นภาษาที่เขียนเข้าใจง่ายไม่เหมือนภาษาชั้นสูงประเภท Procedural ทั่วไป ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมภาษาระดับสูงเขียน
คาสั่งเข้าไปสอบถามข้อมูลหรือประมวลผลสารสนเทศได้ตามต้องการ
9. เป็นส่วนประสานกับผู้ใช้ในด้านการสื่อสารฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลสมัยใหม่จะสนับสนุนการ
ทางานแบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเขียนคาสั่งด้วยโปรแกรมที่ทางานบน www เช่น browser ของ Internet Explorer
หรือ Netscape เป็นต้น
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
ในปัจจุบันเนื่องจากการขยายตัวของธุรกิจเกือบทุกประเภท ทาให้องค์กรหลายแห่งต้องประสบกับภาวะการณ์แข่งขัน
ในการดาเนินงานทางธุรกิจสูงมาก ในขณะที่ผู้บริหารของแต่ละองค์กรต่างก็ต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่มีความถูกต้องและ
รวดเร็วเพื่อใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ แต่ปัญหาที่ประสบในองค์กรหลายแห่งก็คือ การได้มาอย่างยากยิ่งซึ่งข้อมูลหรือ
สารสนเทศที่ถูกต้องและรวดเร็วอันเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างมากในระบบงาน ทาให้เกิดปัญหาตามมาในการบริหารจัดการ
ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้สาเหตุของปัญหาดังกล่าวอาจเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ ได้แก่
1. ข้อมูลที่ใช้เพื่อการดาเนินงานอยู่ในสภาพกระจัดกระจาย ขาดการเก็บรวบรวมอย่างเหมาะสม ทาให้เกิดความไม่
สะดวกในการค้นหาเมื่อต้องการใช้ข้อมูลนั้น ๆ
2. ข้อมูลที่ใช้เพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจไม่เพียงพอ หรือไม่อาจค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้ทันเวลา ทาให้ต้อง
เสียโอกาสทางการตลาดหรือทาให้การตัดสินใจบางเรื่องต้องผิดพลาดเสียหาย
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
12
3. การเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อนกันภายในหน่วยงาน ตัวอย่างเช่น การเก็บบันทึกข้อมูลของพนักงานคนเดียวกันในองค์กร
อาจปรากฏข้อมูลของพนักงานคนเดียวกันนั้นซ้าซ้อนในหลายฝ่าย เมื่อต้องการปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จึงต้องยุ่งยาก
เสียเวลาในดาเนินการหลายแห่งและอาจทาได้ไม่ครบถ้วนหรือมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ง่าย ตัวอย่างเช่น หากต้องการเปลี่ยนแปลง
แก้ไขนามสกุลของพนักงาน อาจต้องกระทาทั้งที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายการเงิน
4. ข้อมูลขาดความเป็นเอกภาพเนื่องมาจากการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อนกัน ทาให้ปรากฏข้อมูลเรื่องเดียวกันในหลายที่
หลายฝ่ายและข้อมูลดังกล่าวไม่สอดคล้องกัน การเลือกใช้ข้อมูลที่ผิดพลาดหรือไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดการตรวจทานตรวจสอบ
ในเวลาที่เร่งรีบ อาจทาให้เกิดผลเสียหายต่อการวางแผนและตัดสินใจได้โดยง่าย
5. การขาดการประสานงานและความหย่อนประสิทธิภาพในการทางานของผู้ที่ปฏิบัติงานกับข้อมูล ทาให้การจัดเก็บ
ข้อมูลไม่เป็นระบบ การค้นหาข้อมูลจึงเป็นไปอย่างล่าช้า เป็นผลให้องค์กรไม่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเท่าที่ควร
จากเหตุผลดังกล่าว ทาให้องค์กรมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานโดยนาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้กับระบบงานที่ทาอยู่
เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารและจัดการองค์กร ทาให้ผู้บริหารได้รับข้อมูลและสารสนเทศที่จะนามาใช้ประโยชน์เพื่อการ
วางแผนและตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทั้งนี้ เนื่องจากความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลได้อย่าง
ถูกต้องและแม่นยา การจัดเก็บและค้นหาข้อมูลจานวนมากได้อย่างรวดเร็ว การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคนิคการ
จัดระบบฐานข้อมูล ทาให้ความซ้าซ้อนและการกระจัดกระจายในการจัดเก็บข้อมูลลดลง ทาให้การเรียกใช้ข้อมูลสามารถทาได้
อย่างถูกต้องทันเวลา เกิดความสะดวกและคล่องตัวในการปฏิบัติงาน
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานบุคลากร
เนื่องจากบุคคลเป็นทรัพยากรที่สาคัญต่อการดาเนินงานและปฏิบัติงานขององค์กร ในการเก็บบันทึกประวัติบุคลากร
ของหน่วยงานแต่ละแห่ง ประวัติของบุคคลหนึ่งคนจึงประกอบด้วย
1. ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว เช่น ชื่อ-นามสกุล วัน/เดือน/ปีเกิด สถานภาพสมรส ชื่อ-นามสกุลของสามี
หรือภรรยา จานวนบุตร ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เป็นต้น
2. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการศึกษาในระดับต่างๆ เช่น ระดับการศึกษาสูงสุด สถานศึกษาที่จบ เกรดเฉลี่ย การทา
กิจกรรมพิเศษต่างๆ เป็นต้น
3. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการเข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ดูงาน เช่น วัน/เดือน/ปี/ที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ดู
งาน สถานที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ดูงาน เป็นต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
13
4. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการทางานและการได้รับเลื่อนตาแหน่ง เช่น วัน/เดือน/ปีที่เริ่มทางาน สถานที่ทางาน อัตรา
เงินเดือน จานวนวันหยุด/วันลา เป็นต้น
5. ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถพิเศษต่างๆ เช่น ความสามารถทางด้านภาษา ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์
เป็นต้น
6. การใช้แรงงานคนจัดทาด้วยมือเพื่อเก็บบันทึก จัดเก็บ และค้นหาข้อมูลเอกสารประวัติบุคคลเพียงคนเดียวเพื่อนา
ใช้งานนั้นเป็นเรื่องที่ไม่ยุ่งยากมากนัก หากทว่าในหน่วยงานต่างๆ มักประกอบด้วยบุคคลที่สังกัดฝ่ายต่างๆ แผนกต่างๆ จานวนมาก
แต่ละคนต่างก็มีข้อมูลประวัติของตนเองและความสามารถต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป การจัดเก็บบันทึกข้อมูลเอกสารประวัติ
บุคลากรให้เป็นระเบียบ เพื่อจะได้สะดวกต่อการค้นหา/เรียกใช้เพื่อนาข้อมูลลับมาใช้ให้ทันเวลา จึงค่อนข้างเป็นเรื่องที่มี
ความสาคัญและจาเป็นมากทีเดียว
ดังนั้นการจัดการข้อมูลดังกล่าวจึงจาเป็นต้องใช้เทคนิคระบบการจัดการฐานข้อมูลเข้ามาช่วยในการดาเนินการแต่ละ
กิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการเก็บบันทึก การค้นหา และการแก้ไข/เปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงข้อมูล เพื่ออานวยความสะดวกแก่
ผู้ปฏิบัติงานและผู้ต้องการใช้ข้อมูลในเรื่องบุคลากร ทั้งนี้ ความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานบุคลากร
อาจจาแนกตามระดับการทางานได้ดังนี้
1. ระดับบริหาร
โดยทั่วไปผู้บริหารระดับสูงจะเป็นผู้กาหนดนโยบายในการดาเนินงานขององค์กร ส่วนผู้บริหารระดับกลางจะเป็น
ผู้รับนโยบายเหล่านั้นมามอบหมายให้ผู้บริหารระดับปฏิบัติการนาไปดาเนินงาน ซึ่งผู้บริหารแต่ละระดับจาเป็นต้องใช้ฐานข้อมูล
ทางด้านบุคลากรเพื่อการวางแผน การตัดสินใจ การจัดสายงาน การอานวยการ และการควบคุมงานให้เหมาะสมในเรื่องต่าง ๆ เช่น
การจัดสรรบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงานในตาแหน่งต่าง ๆ ตามความรู้และความสามารถ การวางแผนอัตรากาลังในหน่วยงานของ
องค์กรเพื่อรองรับ การขยายงาน การพิจารณาเงินเดือน/เลื่อนขั้น/ความดีความชอบจากผลการปฏิบัติงานและวันหยุด/วันลา เป็น
ต้น
2. ระดับปฏิบัติการและบริการ
การใช้ข้อมูลเพื่อการทางานของเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติการโดยส่วนใหญ่จะเป็นไปตามหน้าที่และสายงาน ซึ่ง
การใช้ฐานข้อมูลทางด้านบุคลากรจะมีบทบาทในด้านการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารภายใน การควบคุมงาน และการติดตามงาน
เช่น การคิดภาษีเพื่อหักจากเงินเดือน ณ ที่จ่ายจาเป็นต้องทราบอัตราเงินเดือน สถานภาพสมรส และจานวนบุตร การแก้ไข/
เปลี่ยนแปลงข้อมูลชื่อ-นามสกุล การบันทึกข้อมูล การเพิ่มวุฒิ/การฝึกอบรม การติดต่อสื่อสารเพื่อติดตามงานระหว่างหน่วยงานใน
องค์กร เป็นต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
14
3. ส่วนอื่น ๆ
การใช้ฐานข้อมูลทางด้านบุคลากรในส่วนอื่น ๆ จะมีบทบาทครอบคลุมถึงงานที่มีความสัมพันธ์กับสองส่วนแรก
โดยมักจะเกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอกองค์กร ได้แก่ คู่แข่งหรือคู่ค้าของกิจการ หน่วยงาน อื่น ๆ ในภาครัฐหรือเอกชน เช่น งานที่
เกี่ยวข้องกับหน่วยงานภาครัฐที่ดูแลในเรื่องภาษีอากร การจ้างงาน สวัสดิการ รวมทั้งกฎหมาย/ข้อบังคับที่เกี่ยวกับบุคคลและการ
ดาเนินงานทางธุรกิจ
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษา
ปัจจุบันสถานศึกษาหลายแห่งนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อ/อุปกรณ์เพื่อประกอบการเรียนการสอนในลักษณะต่างๆ
เช่น การใช้วีดิทัศน์ เครื่องฉายภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รวมทั้งมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานบริหารจัดการต่างๆ ใน
สถานศึกษา เช่น การจัดทาทะเบียนประวัตินิสิตและอาจารย์ การคิดคะแนนและผลการสอบ การจัดทาตารางเรียน การใช้
คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุด เป็นต้น
การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในสถานศึกษาทาให้เกิดการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษา ซึ่งเป็นงานที่
ยุ่งยากและสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก หากต้องดาเนินการในงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลดังกล่าวด้วยการใช้แรงงานคนทาด้วยมือ
เนื่องจากสถานศึกษาแต่ละแห่งต่างก็มีนักศึกษาจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาเก่าและนักศึกษาใหม่ทั้งในระดับปริญญาตรีและ
สูงกว่า รวมทั้งในสถานศึกษาบางแห่งยังมีนักศึกษาภาคพิเศษและภาคสมทบในลักษณะอื่นอีกด้วย สานักทะเบียนของแต่ละ
สถานศึกษาจะต้องดาเนินการรับลงทะเบียนนักศึกษาแต่ละคนในทุกภาคและทุกปีการศึกษาภายในช่วงระยะเวลาที่ค่อนข้างจากัด
ซึ่งลักษณะของการลงทะเบียนยังอาจจาแนกได้เป็นการลงทะเบียนเรียนปกติ การลงทะเบียนล่าช้า การลาพักการศึกษา การเพิ่ม/
ถอนชุดวิชา ฯลฯ
หากพิจารณาเฉพาะการลงทะเบียนเรียนตามปกติจะพบว่า การเก็บบันทึกข้อมูลในเรื่องเกี่ยวกับ ใบลงทะเบียนของ
นักศึกษาในสถานศึกษาแต่ละแห่งประกอบด้วย
1. ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา เช่น รหัสประจาตัว ชื่อ-นามสกุล รหัสวิชาเอก คณะ เป็นต้น
2. ข้อมูลเกี่ยวกับอาจารย์ที่ปรึกษา เช่น รหัสอาจารย์ที่ปรึกษา ชื่ออาจารย์ เป็นต้น
3. ข้อมูลเกี่ยวกับชุดวิชาที่ลงทะเบียน เช่น ภาคการศึกษา ปีการศึกษา รหัสชุดวิชา ชื่อชุดวิชา จานวนหน่วยกิต
ค่ำลงทะเบียน เป็นต้น
นอกจากนี้ข้อมูลการลงทะเบียนของนักศึกษายังเกี่ยวข้องเชื่อมโยงและสัมพันธ์กับเรื่องอื่นๆ อีก เช่น จานวนหน่วยกิต
ขั้นต่าที่นักศึกษาจะต้องลงทะเบียน จานวนชุดวิชาที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ห้องเรียน/ชั้นเรียนที่ใช้ในการเรียนการสอน
อาจารย์ที่ทาการสอนในแต่ละชุดวิชา ฯลฯ
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
15
ดังนั้นความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษาอาจจาแนกตามผู้เกี่ยวข้องได้
ดังนี้
1. นักศึกษา
โดยทั่วไปในสถานศึกษาต่างๆ นักศึกษาจะเป็นผู้มีความต้องการใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อทาการวางแผนและ
ตัดสินใจในเรื่องการเรียนอย่างมาก เช่น ผลการศึกษาหรือเกรดเฉลี่ยในภาคการศึกษาที่ผ่านมา ข้อมูลการเรียนเกี่ยวกับวัน/เวลา/
ชุดวิชาที่เปิดสอน/จานวนหน่วยกิต/ชุดวิชาที่มีการจากัดจานวน ผู้เรียน ใบรายงานผลการศึกษา/รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร
ฯลฯ
2. อาจารย์
สาหรับความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษาต่ออาจารย์นั้นจะ
เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการปฏิบัติงานในเรื่องการเรียนการสอน เช่น รายชื่อนักศึกษาใน การปรึกษา จานวนนักศึกษาที่
ลงทะเบียนเรียนในแต่ละชุดวิชา การคิดคะแนนและผลการสอบ ฯลฯ
3. ส่วนอื่น ๆ
ความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษาในส่วนอื่น ๆ จะมีบทบาท
ครอบคลุมถึงงานที่มีความสัมพันธ์กับสองส่วนแรก ได้แก่ การจัดทาตารางเรียน การจัดทาใบเสร็จรับเงินค่าลงทะเบียน การคืนเงิน
ค่าลงทะเบียนเรียน การจัดสอบ การจัดทาใบรายงานผลการศึกษา การตรวจโครงสร้างการสาเร็จการศึกษา การจัดสวัสดิการและ
สิทธิประโยชน์เพื่อรองรับ เช่น งานห้องสมุด ฯลฯ
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์
งานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์เป็นงานหนึ่งที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก หากต้องดาเนินการใช้
แรงงานคนจัดทาด้วยมือในงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลต่างๆ เช่น ระบบบัญชีเจ้าหนี้ ระบบบัญชีสินค้าคงคลัง เป็นต้น ทั้งนี้ เนื่องจาก
งานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์เป็นงานที่เกี่ยวข้องสินค้าจานวนหลายรายการ ซึ่งทาการสั่งซื้อมาจากบริษัทขายส่งหลายแห่ง
และนามาทาการจาหน่ายในลักษณะการขายปลีกให้แก่ลูกค้าโดยทั่วไป
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์จึงเป็นการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานต่างๆ ได้แก่
การขายปลีก ระบบบัญชีเจ้าหนี้ และระบบบัญชีสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลกับการขายปลีก ทาให้องค์กร
สามารถออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง ทาให้สามารถจัดทารายงานการขายประจาวันได้อย่างรวดเร็ว
ทั้งนี้ในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์ ระบบบัญชีเจ้าหนี้จะเกิดขึ้นเมื่อองค์กรมีการสั่งซื้อสินค้าเข้ามา การบันทึกข้อมูลใบสั่งซื้อ
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
16
สินค้าด้วยการใช้เทคนิคระบบจัดการฐานข้อมูลจะทาให้สามารถพิมพ์รายงานเรียงตามลาดับวันที่ค้างชาระได้ ซึ่งรายงานนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อการนามาใช้เพื่อการบริหารจัดการการเงินขององค์กรให้มีประสิทธิภาพได้ และยังสามารถพิมพ์เช็คชาระหนี้รวมทั้ง
บันทึกรายการชาระหนี้ได้ จึงทาให้สามารถจัดทารายงานสรุปการจ่ายเงินในแต่ละวันได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
สาหรับการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารสินค้าคงคลัง
จะเป็นการบริหารเพื่อให้สินค้าคงเหลือในคลังมีมูลค่าต่าสุด แต่ในขณะเดียวกันจะต้องมีสินค้าในคลังมากเพียงพอที่จะนามา
จาหน่ายให้แก่ลูกค้าได้โดยไม่ทาให้เสียโอกาสในการขาย ซึ่งจากการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลกับการขายปลีกและการบริหารสินค้าคง
คลัง จะทาให้ได้รายงานการขายสินค้า การรับ-ส่งสินค้าซึ่งทาให้สามารถจัดทารายงานแสดงยอดคงเหลือของสินค้าแต่ละชนิด
รายงานแสดงรายการสินค้า ณ จุดสั่งซื้อ รวมทั้งสามารถนามาใช้ในการพยากรณ์ยอดขายสินค้ารายการต่างๆ ได้ ซึ่งทาให้สามารถ
บริหารจัดการสถานภาพของสินค้าคงคลังได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ดังนั้นการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์จึงช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรสามารถหาคาตอบ
ในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้ได้ เช่น ความต้องการสินค้าของลูกค้าเพิ่มมากขึ้นหรือลดลง สินค้าชนิดใดที่ได้รับความนิยม/เสื่อมความนิยม
องค์กรเป็นหนี้การค้าหน่วยงานบริษัทใดบ้าง เป็นจานวนเงินมากน้อยเพียงใด เป็นต้น จากตัวอย่างที่กล่าวมานี้จะเห็นได้ว่า หาก
องค์กรมีการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในการดาเนินงานแล้ว ผู้บริหารจะสามารถทาการวางแผนและตัดสินใจเพื่อตอบสนองต่อ
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา และถูกต้อง
สรุป
ฐานข้อมูลเป็นการรวบรวมกลุ่มของแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กันและแฟ้ม ข้อมูลเป็นกลุ่มของระเบียน และระเบียนก็เป็น
กลุ่มของเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งจะได้ว่าฐานข้อมูลนั้นมีวิวัฒนาการมาจากแฟ้มข้อมูล และฐานข้อมูลมีด้วยกันหลายประเภท
ขึ้นกับเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา ระบบการจัดการฐานข้อมูล เป็นซอฟต์แวร์ระบบที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล โดยเริ่มจากการ
ได้รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาในส่วนของระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งมีการแบ่งการทางานออกเป็น 2 ส่วนคือ ประมวลผลข้อคาถาม
และผู้จัดการหน่วยเก็บข้อมูล
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลนั้น เนื่องจากการขยายตัวของธุรกิจเกือบทุกประเภท ทาให้องค์กรหลายแห่งต้องประสบกับ
ภาวะการณ์แข่งขันในการดาเนินงานทางธุรกิจสูงมาก ในขณะที่ผู้บริหารของแต่ละองค์กรต่างก็ต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่มี
ความถูกต้องและรวดเร็วเพื่อใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ ดังนั้นจึงต้องมีการนาฐานข้อมูลมาประยุกต์ใช้ เช่น ประยุกต์ใช้กับงาน
ด้านบุคลากร งานด้านทะเบียนของนักศึกษา หรืองานด้านร้านค้า เป็นต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
17
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. จงอธิบายความหมายของฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
2. หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลมีอะไรบ้าง และมีส่วนช่วยในด้านการทางานของผู้บริหารอย่างไร
3. จงอธิบายความหมายของแฟ้มข้อมูล
4. ประเภทของแฟ้มข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง และแต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร
5. ระบบฐานข้อมูลมีองค์ประกอบอะไรบ้าง วาดรูปประกอบการอธิบาย
6. ข้อจากัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูลมีอะไรบ้าง จงอธิบาย
7. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
8. จงอธิบายการประมวลผลฐานข้อมูลโดยวาดรูปประกอบการอธิบาย
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1
18
เอกสารอ้างอิง
ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน. (2542). การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี :
นครราชสีมา.
รวิวรรณ เทนอิสสระ. (2543). ฐานข้อมูลและการออกแบบ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วราภรณ์ โกวิทวรางกูร. (2543). ระบบฐานข้อมูลและการออกแบบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
Galindo, J.; Urrutia, A.; Piattini, M. (2006). Fuzzy Databases: Modeling, Design and
Implementation (FSQL guide). USA : Idea Group Publishing Hershey.
Galindo, J., Ed. (2008). Handbook on Fuzzy Information Processing in Databases.
Hershey, PA: Idea Group Inc.
Kroenke, David M. and David J. Auer. (2007). Database Concepts. 3rd ed. New York :
Prentice.

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์Thanawut Rattanadon
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
แนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมแนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมSujareeFakfoom
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยKiiKz Krittiya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมแนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรม
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น

การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศOng Lada
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5hattayagif
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณlovelovejung
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 

Similar to ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น (20)

การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น

  • 1. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 1 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น ปัจจุบันฐานข้อมูลมีความเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตประจาวันโดยเฉพาะเรื่องของการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการนาไปใช้ หรือประมวลผล เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ เนื่องจากฐานข้อมูลเป็นกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กัน โดยมีระบบการจัดการ ฐานข้อมูล(Database Management System : DBMS) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ในการจัดการและควบคุมการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูล สาหรับการใช้งานฐานข้อมูล ผู้ใช้จะใช้งานผ่านโปรแกรมประยุกต์(Database Application) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ติดต่อกับฐานข้อมูลเพื่อใช้ ในการประมวลผลให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ ตัวอย่างของระบบงานฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เช่น การซื้อของโดยใช้ บัตรเครดิต เมื่อลูกค้าซื้อสินค้าโดยใช้บัตรเครดิต พนักงานขายก็สามารถตรวจสอบได้ว่าลูกค้ามีวงเงินที่สามารถชาระค่าสินค้าได้ หรือไม่ ซึ่งในการตรวจสอบนี้สามารถทาได้โดยการโทรศัพท์ตรวจสอบหรือการอ่านผ่านเครื่องอ่านบัตรอัตโนมัติที่เชื่อมต่อเข้ากับ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดก็จะมีฐานข้อมูลเกี่ยวข้องที่ใดที่หนึ่งที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อสินค้าที่ลูกค้าใช้บัตร เครดิตในการชาระเงิน ในส่วนของการตรวจสอบวงเงินคงเหลือนั้น จะมีโปรแกรมที่ใช้หมายเลขบัตรเครดิตเพื่อตรวจสอบราคา สินค้าที่ลูกค้าต้องการซื้อร่วมกับยอดซื้อทั้งหมดของเดือนว่ายังอยู่ในวงเงินที่กาหนดหรือไม่ เมื่อการซื้อสินค้าถูกยืนยัน รายละเอียด ต่างๆในการซื้อสินค้าก็จะถูกบันทึกไว้ในฐานข้อมูล หรือการจองตั๋วเครื่องบินผ่านตัวแทนจาหน่าย เมื่อลูกค้าต้องการจองหรือซื้อตั๋ว เครื่องบิน พนักงานขายจะเข้าถึงฐานข้อมูลเพื่อค้นหาที่นั่งว่างที่เหลือของเที่ยวบินที่ลูกค้าต้องการ ซึ่งอาจเป็นขาไปและขากลับ และเมื่อลูกค้ายืนยันว่าต้องการซื้อหรือจองที่นั่งที่ต้องการแล้ว พนักงานก็จะบันทึกรายละเอียดในการจองและข้อมูลของลูกค้าลงใน ฐานข้อมูล เมื่อถึงวันเวลาเดินทาง ลูกค้าก็ต้องนาตั๋วเครื่องบินที่ซื้อไว้มาเช็คอิน พนักงานก็สามารถดึงข้อมูลของลูกค้าขึ้นมา ตรวจสอบความถูกต้องได้ เป็นต้น ความหมายของฐานข้อมูลและระบบจัดการฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันนามาเก็บรวบรวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบ และ ข้อมูลที่ประกอบกันเป็นฐานข้อมูลนั้นต้องตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานขององค์กรด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น ในสานักงานก็จะ เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ที่มาติดต่อจนถึงการเก็บเอกสารทุกอย่างของสานักงาน ซึ่งข้อมูลส่วนนี้จะมีส่วนที่ สัมพันธ์กันและเป็นที่ต้องการนาออกมาใช้ประโยชน์ต่อไปในภายหลัง โดยข้อมูลนั้นอาจจะเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ สถานที่ หรือ เหตุการณ์ใดๆ ก็ได้ที่บุคคลสนใจศึกษา หรือข้อมูลได้มาจากการสังเกต การนับ การวัด รวมทั้งข้อมูลที่เป็นตัวเลข ข้อความ และ รูปภาพต่างๆ ก็สามารถนามาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลได้ แต่ข้อมูลทุกอย่างต้องมีความสัมพันธ์กัน เพราะจะต้องนามาใช้ประโยชน์ ต่อไปในอนาคต
  • 2. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 2 ตัวอย่างของข้อมูล ชื่อฐานข้อมูล กลุ่มข้อมูล บริษัท พนักงาน ลูกค้า สินค้า ใบสั่งสินค้า โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย นักเรียน อาจารย์ วิชา การลงทะเบียน ระบบจัดการฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่บริหารฐานข้อมูล ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เป็นเครื่องมือที่ช่วยอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรับรู้ เกี่ยวกับรายละเอียดภายในโครงสร้างฐานข้อมูล ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลจะเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้และ โปรแกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล ตัวอย่างของระบบจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft Access, FoxPro, SQL Server, Oracle, Informix, DB2 เป็นต้น หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล มีดังนี้ 1. กำหนดมำตรฐำนข้อมูล 2. ควบคุมกำรเข้ำถึงข้อมูลแบบต่ำง ๆ 3. ดูแล-จัดเก็บข้อมูลให้มีควำมถูกต้องแม่นยำ 4. จัดเรื่องกำรสำรอง และฟื้นสภำพแฟ้ มข้อมูล 5. จัดระเบียบแฟ้ มทำงกำยภำพ (Physical Organization) 6. รักษำควำมปลอดภัยของข้อมูลภำยในฐำนข้อมูล และป้ องกันไม่ใช้ข้อมูลสูญหำย 7. บำรุงรักษำฐำนข้อมูลให้เป็นอิสระจำกโปรแกรมแอพพลิเคชันอื่น ๆ 8. เชื่อมโยงข้อมูลที่มีควำมสัมพันธ์เข้ำด้วยกัน เพื่อรองรับควำมต้องกำรใช้ข้อมูลในระดับต่าง ๆ
  • 3. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 3 ภาพที่ 1.1 ระบบจัดการฐานข้อมูล แฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูล เป็นคาที่มีความหมายได้เป็น 2 นัย คือ Data File และ Database ดังนั้นจึงมีข้อแตกต่าง ของแฟ้มข้อมูล ไว้ดังนี้ 1. Data File คือ การรวบรวมข้อมูลหรือเรคอร์ดที่เกี่ยวข้องกันไว้เป็นชุดและจัดเก็บไว้ เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อดาเนินงานเฉพาะกิจภายในองค์กร ทั้งนี้อาจเป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ชั่วคราว หรืออาจ เก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงถึงภายหลังได้ มักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้เฉพาะกับโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งเท่านั้น 2. Database คือการรวบรวมข้อมูลที่สัมพันธ์กันและกาหนดรูปแบบการจัดเก็บอย่างเป็น ระบบ การจัดเก็บที่เป็นฐานข้อมูลมักจะจัดเก็บไว้ที่หน่วยศูนย์กลาง ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ในหลายๆ หน่วยงานใน องค์กรสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่จัดเก็บไว้ได้ตามความต้องการของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งอาจจะถูกเรียกใช้ได้เสมอๆ เนื่องจากเป็นข้อมูลที่ใช้เป็นประจา แฟ้มข้อมูล หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันเก็บเอาไว้อย่างเป็นระบบ ซึ่ง บางระบบอาจมีเพียงหนึ่งแฟ้มข้อมูลหรือมากกว่า ในการรวบรวมแฟ้มข้อมูลนั้นสามารถเก็บรวบรวมทั้งหมดไว้ที่ หน่วยศูนย์กลางภายในองค์กร หรือแยกเก็บแฟ้มข้อมูลเฉพาะเรื่องเก็บไว้ในแต่ละหน่วยงานได้ ดังนั้นคาว่า แฟ้มข้อมูลในที่นี้จะไม่ได้มีความหมายจากัดเพียงแค่ชุดข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อใช้กับโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง โดยเฉพาะเท่านั้น สาหรับการประมวลผลข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูลนั้น ผู้ใช้จะต้องทราบว่าภายในแฟ้มข้อมูลนั้นๆ มีเรคอร์ดที่ประกอบด้วยฟิลด์อะไรบ้าง แต่ละฟิลด์มีลักษณะอย่างไร ในกรณีที่มีเพียงหนึ่งแฟ้มข้อมูล การ ระบบจัดกำรฐำนข้อมูล (DBMS) โปรแกรมรับสมัครนักศึกษำ โปรแกรมกำรลงทะเบียน โปรแกรมพฤติกรรมนักศึกษำ - Student.Mdb - Teacher.Mdb - Suvject.Mdb
  • 4. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 4 ประมวลผลจะไม่ยุ่งยากมากนัก แต่ในกรณีที่ต้องการใช้ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลมากกว่าหนึ่งแฟ้มข้อมูล ผู้ใช้จะต้อง พิจารณาว่าผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร และการที่จะได้ผลลัพธ์ที่ต้องการนั้นต้องอ่านค่าเข้ามาจากฟิลด์ใดใน แฟ้มข้อมูลใดบ้าง ตัวอย่างเช่น โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์สารสนเทศต้องการผลลัพธ์เป็นรายการชื่อนักศึกษา ชื่อ อาจารย์ผู้สอนและเบอร์โทรศัพท์ของอาจารย์ผู้สอน แต่ข้อมูลถูกจัดเก็บไว้ในสองแฟ้มข้อมูลแยกกัน คือ Horse file และ Owner file ดังนั้นในการที่จะได้ผลลัพธ์ดังกล่าวจะต้องดาเนินการเป็นขั้นตอน ดังนี้ 1. เปิด Horse file เพื่ออ่านเรคอร์ด 2. อ่านชื่อนักศึกษา และชื่ออาจารย์ผู้สอนเพื่อนามาออกเป็นผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. ใช้ชื่อของอาจารย์ผู้สอนไปเชื่อมโยงกับเรคอร์ดใน Owner file 4. อ่านเบอร์โทรศัพท์ใน Owner file แล้วนามาออกเป็นผลลัพธ์ ภาพที่ 1.2 การประมวลผลข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลสองแฟ้ม สมฤทัย รัศมี ดีเลิศ (044) 595-211 ชื่อ : สมฤทัย เพศ : หญิง ว/ด/ป เกิด : 1/09/2535 ชื่อ : รัศมี ดีเลิศ สถานะ : อาจารย์ผู้สอน ว/ด/ป ที่เริ่มสอน : 12/2/2547 ที่อยู่ : 509/3 ต.ในเมือง อ.เมือง นครรำชสีมำ เชื่อมโยง โดย ชื่ออาจารย์ ผู้สอน Horse file Owner file
  • 5. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 5 ภาพที่ 1.3 การประมวลความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลเพื่อออกใบแจ้งหนี้ ภาพที่ 1.4 ข้อมูลที่ได้จากแฟ้มข้อมูลลูกค้าและแฟ้มข้อมูลใบแจ้งหนี้เพื่อออกใบแจ้งหนี้ จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่าในการประมวลผลข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูล นอกจากจาเป็นที่จะต้องทราบว่าภายในแต่ละ แฟ้มข้อมูลมีข้อมูลอะไรบ้างแล้ว จะต้องทราบว่าสามารถเชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกันได้อย่างไร ในกรณีที่ระบบมีความ ซับซ้อนมากขึ้น การประมวลความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลต่างๆ ยิ่งมีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น กรณีที่มีลูกค้าสั่งสินค้าเข้ามา บริษัทไทยน้าทิพย์ ใบแจ้งหนี้ เลขที่ J2343 เลขที่ 111 รามคาแหง 11 บางกะปิ กทม. 10000 20 กุมภาพันธ์ 2554 ใบแจ้งหนี้ นาส่ง นายประหยัด มัฐยัด โทร.02-2484848 ลาดับที่ หมายเลขสินค้า รายละเอียด ราคา/หน่วย จานวน ราคารวม 1 TACK-2397A โค๊ก 23.00 1 23.00 2 TACK-90100 เป๊ปซี่ 23.25 2 46.50 3 TACK-50031 น้าแดง 22.50 4 90.00 รวม 159.50 ข้อมูลจาก แฟ้มข้อมูล ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลลูกค้า ลูกค้ำสั่งซื้อ สินค้ำ แฟ้มข้อมูล ลูกค้า แฟ้ มข้อมูล สินค้ำ แฟ้มข้อมูล ใบแจ้งหนี้ แฟ้มข้อมูล รายละเอียดการ สั่งซื้อ
  • 6. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 6 ข้อมูลในการสั่งสินค้าที่จะป้อนเข้าไปในระบบ ต้องนาไปตรวจสอบกับแฟ้มข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้าทั้งหมดของบริษัท และ แฟ้มข้อมูล รายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าทั้งหมดที่มีอยู่ เมื่อตรวจสอบและปรับเปลี่ยนค่าในแฟ้มข้อมูลทั้งสองเรียบร้อยแล้ว จึงนา ค่าที่ได้ไปออกเป็นแฟ้มข้อมูลผลลัพธ์ให้กับอีกสองแฟ้มข้อมูล คือ แฟ้มข้อมูลใบแจ้งหนี้ ซึ่งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการติดต่อ ของลูกค้าและแฟ้มรายละเอียดการสั่งซื้อ ซึ่งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าแต่ละอย่างที่ลูกค้าสั่งซื้อ และจากแฟ้มข้อมูลผลลัพธ์ ทั้งสองแฟ้มข้อมูลรวมกับแฟ้มข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้าทั้งหมดของบริษัทได้ผลลัพธ์เป็นใบแจ้งหนี้ ซึ่งแสดงรายละเอียดของ ราคาสินค้าที่ลูกค้าต้องจ่ายกลับออกมาเพื่อส่งต่อให้ลูกค้าต่อไป ประเภทของแฟ้มข้อมูล สามารถแบ่งชนิดของแฟ้มข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์ในทางธุรกิจ ได้เป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1. แฟ้มข้อมูลรายการหลัก (Master file) ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีสภาพ ค่อนข้างคงที่ เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา จะประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ เช่น รหัสนักศึกษา ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ คณะ และโปรแกรมวิชา เป็นต้น ซึ่งการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลในแฟ้มข้อมูลรายการหลักให้ทันสมัยสามารถทาได้ 3 รูปแบบคือ การเพิ่ม (Add) การลบออก (Delete) และการแก้ไข (Modify) เช่น การเพิ่มระเบียนของนักศึกษาใน กรณีที่เป็นนักศึกษาใหม่ การลบระเบียนของนักศึกษาในกรณีที่นักศึกษาลาออก และการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของ นักศึกษา หรือ ข้อมูลของลูกค้าธนาคาร เช่น เลขที่บัญชี ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ ยอดเงินคงเหลือ ซึ่งจะถูกแก้ไขเมื่อมี รายการฝากถอนเงินจากลูกค้า โดยการแก้ไขแฟ้มข้อมูลอาจทาได้โดยตรงหรือแก้ไขโดยใช้ข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล รายการเปลี่ยนแปลง 2. แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่มักมีการเคลื่อนไหว หรือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เช่น แฟ้มข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาที่จะต้องมีการลงทะเบียนเรียน ในทุกๆ ภาคการศึกษา แฟ้มข้อมูลรายการฝาก-ถอนเงินในบัญชีลูกค้าธนาคาร หรือแฟ้มข้อมูลการขายสินค้า ประจาวัน เป็นต้น 3. แฟ้มข้อมูลรายงาน (Report File) เป็นแฟ้มที่รายงานข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลรายการหลัก โดย ระเบียนจากแฟ้มข้อมูลรายการหลักจะถูกดึงไปใช้ในการออกรายงาน
  • 7. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 7 4. แฟ้มเรียงลาดับข้อมูล (Sort file) เป็นแฟ้มที่มีการจัดเรียงข้อมูลให้เป็นลาดับ โดยแฟ้มที่จะถูก จัดเรียงข้อมูล อาจเป็นแฟ้มข้อมูลรายการหลัก หรือแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง หรือแฟ้มข้อมูลรายงานก็ได้ 5. แฟ้มข้อมูลสารอง (Backup) ใช้เก็บสารองข้อมูลในแฟ้มข้อมูลที่มีความสาคัญสูง การสารองข้อมูล เป็นสิ่งสาคัญมากในการใช้งานคอมพิวเตอร์ เนื่องจากสื่อที่เก็บข้อมูลต่างๆ อาจเกิดปัญหาได้โดยที่ผู้ใช้คาดไม่ถึง ดังนั้นควรจัดเก็บข้อมูลลงบนสื่อบันทึกข้อมูลอื่นเพื่อเป็นการสารองข้อมูลในกรณีที่มีปัญหา ซึ่งจะช่วยให้ได้ข้อมูลที่ สาคัญกลับมาใช้ใหม่ ระบบแฟ้มข้อมูล ระบบแฟ้มข้อมูล(File System) คือ การจัดเก็บข้อมูลด้วยระบบแฟ้มข้อมูลเป็นรูปแบบการจัดเก็บ ข้อมูลแบบดั้งเดิมที่นิยมใช้กันเมื่อคอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บและประมวลผลสารสนเทศในยุค เริ่มต้น การศึกษารูปแบบการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูลจะทาให้เห็นถึงข้อบกพร่องต่างๆ ที่เป็นสาเหตุให้การ จัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูลได้รับความนิยมขึ้นมาแทนที่การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล ระบบแฟ้มข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลที่สัมพันธ์กันหรือเกี่ยวข้องกันมาไว้ที่เดียวกัน เพื่อให้ สะดวกในการเรียกใช้และค้นหาข้อมูล เช่น ดิสก์ การเก็บข้อมูลแบบไฟล์นี้การคงอยู่ของข้อมูลจะเป็นแบบถาวร กว่าการเก็บข้อมูลไว้ในตัวแปรซึ่งเมื่อเราจบการทางานของโปรแกรมข้อมูลที่อยู่ภายในตัวแปรนั้นๆ จะหายไป ดังนั้นในภาษา C จะมองข้อมูลที่เก็บอยู่ในแฟ้มข้อมูล มีลักษณะเป็นข้อมูลที่อยู่ต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ต้นแฟ้มข้อมูลจน จบแฟ้มข้อมูล โดยไม่มีการแบ่งช่วงเหมือนกับภาษาระดับสูงทั่วๆ ซึ่งในการประมวลผลแฟ้มข้อมูลแต่ละครั้งผู้เขียน โปรแกรมจะเป็นผู้กาหนดขอบเขตในการนาข้อมูลไปประมวลเอง ระบบแฟ้มข้อมูลเป็นรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบคอมพิวเตอร์ที่เข้ามาแทนที่การจัดเก็บข้อมูลด้วย เอกสารแบบเก่า ระบบแฟ้มข้อมูลถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของงานอุตสาหกรรมเพื่อให้การเข้าถึง ข้อมูลมีประสิทธิภาพขึ้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้วมักจะเกิดขึ้นในระบบแฟ้มข้อมูล
  • 8. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 8 ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล ในยุคเริ่มแรกของการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูล จะใช้ระบบแฟ้มข้อมูล ซึ่งแฟ้ม ข้อมูลแต่ ละแฟ้มมักจะถูกสร้างตามภาษาคอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมเมอร์ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น หาก โปรแกรมเมอร์ใช้ ภาษาซีในการเขียนโปรแกรม แฟ้มข้อมูลที่ถูกสร้างก็จะมีโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลตามโครงสร้างที่ภาษาซีกาหนด ไว้ ซึ่งทาให้เกิดปัญหาระบบแฟ้มข้อมูล ดังนี้ 1. ความซ้าซ้อนของข้อมูลเนื่องจากมีการเก็บข้อมูลชุดเดียวกันไว้หลายๆ ที่ เช่นแผนกบุคคล มีการ เก็บข้อมูลพนักงานไว้ ส่วนแผนกบัญชี ก็มีการเก็บข้อมูลพนักงานไว้เช่นกัน เพื่อนาไปใช้ในระบบเงินเดือน ซึ่ง ความซ้าซ้อนของข้อมูลนอกจากจะทาให้สิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว ยังก่อให้เกิดปัญหาตามมาอีก มากมาย 2. ปัญหาจากการเพิ่ม, ลบ, แก้ไข ข้อมูลสาเหตุมาจากความซ้าซ้อนของข้อมูล เมื่อทาการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไข ข้อมูล ในแฟ้มข้อมูลหนึ่ง แต่ไม่ได้ทากับอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่ง เช่น หากแผนกบุคคลมีการรับพนักงานใหม่ มีการเพิ่มข้อมูล แต่ในแผนกบัญชีไม่ได้มีการเพิ่มข้อมูล ก็จะทาให้ข้อมูลไม่ตรงกัน หรือหากมีการแก้ไขข้อมูลชื่อ พนักงานในแผนกบัญชี โดยไม่ได้แก้ไขในแผนกบุคคล ก็ทาให้ข้อมูลเกิดความขัดแย้งกัน ทั้งที่เป็นข้อมูลของ พนักงานคนเดียวกันแต่ข้อมูลที่ได้จะไม่ตรงกัน 3. ความไม่เป็นอิสระระหว่างโปรแกรมกับแฟ้มข้อมูลการใช้งานข้อมูลต่างๆ ในแฟ้มข้อมูลนั้น จะต้อง เขียนโปรแกรมเพื่อนาข้อมูลนั้นมาใช้งาน ซึ่งลักษณะการเขียนโปรแกรมนั้นจะยึดติดกับโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล ทาให้เกิดความไม่เป็นอิสระของโครงสร้างแฟ้มข้อมูล หากต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล เช่น เพิ่ม ข้อมูลบางฟิลด์ โดยที่ฟิดล์ข้อมูลนั้นไม่ได้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมที่มีอยู่เดิมเลย แต่ก็จาเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมที่เคย ใช้งานแฟ้มข้อมูลนั้น เนื่องจากโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลเปลี่ยนแปลงไป ทาให้โปรแกรมที่เคยเขียนไว้เรียกใช้ ข้อมูลผิดพลาดไปจากเดิม ดังนั้นจึงเกิดความไม่สะดวกในการปรับปรุงแก้ไขโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล นอกจากปัญหาหลักๆ ที่กล่าวมาแล้ว ยังมีปัญหาอื่นๆ เช่น ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล, ความไม่ สะดวกในการเรียกใช้งานข้อมูล หรือกรณีที่ความต้องการในการเรียกดูข้อมูลเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ เช่นเพิ่มการ แสดงผลข้อมูลบางฟิลด์ ก็ต้องแก้ไขโปรแกรมทุกครั้ง
  • 9. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 9 ข้อจากัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล ในการประมวลผลข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูลก่อให้เกิดข้อจากัดในการปัญหาด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลถูกแบ่งและแยกไว้คนละไฟล์ เมื่อข้อมูลถูกแบ่งและแยกให้อยู่คนละไฟล์ การเข้าถึงข้อมูล จึงเป็นไปได้ยาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องการแสดงรายการบ้านที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า อันดับแรกต้อง ทาการสร้างแฟ้มชั่วคราวซึ่งมีข้อมูลลูกค้าที่มีความต้องการสิ่งปลูกสร้างประเภท”บ้าน” โดยดึงข้อมูลมาจากแฟ้ม ลูกค้าที่ต้องการเช่า หลังจากนั้นทาการค้นหาข้อมูลสิ่งปลูกสร้างประเภท”บ้าน” ในแฟ้มสิ่งปลูกสร้างที่ให้เช่าและ มีค่าเช่า/เดือนไม่เกินค่าเช่าสูงสุดที่ลูกค้ากาหนด สาหรับระบบแฟ้มข้อมูลนี้ทาให้การประมวลผลดังกล่าวทาได้ยาก ผู้พัฒนาโปรแกรมต้องประมวลผลแฟ้มข้อมูลจากทั้งสองแฟ้มในเวลาเดียวกันและคานึงถึงความถูกต้องของข้อมูล ด้วย 2. ข้อมูลมีความซ้าซ้อนกัน เนื่องจากแต่ละฝ่ายก็จะมีระบบแฟ้มข้อมูลที่ประมวลผลงานของตนเอง จึงทาให้ไม่สามารถควบคุมความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ ดังนั้นการที่ไม่มีการควบคุมความซ้าซ้อนของข้อมูลทาให้เกิด ปัญหาต่างๆ ดังนี้ 2.1 ทาให้สิ้นเปลืองเงินและเวลาสาหรับการใช้งานข้อมูลที่มีอยู่ในหลายแฟ้ม 2.2 ทาให้สิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล 2.3 ทาให้ขาดความคงสภาพของข้อมูล(Integrity) หรือกล่าวว่าข้อมูลไม่ต้องกัน (Inconsistency) 3. มีความขึ้นต่อกันของข้อมูล โครงสร้างและการจัดเก็บข้อมูลของแฟ้มข้อมูลและรายการข้อมูล ต่างๆ ถูกกาหนดไว้ในโปรแกรมประยุกต์ ทาให้การแก้ไขโครงสร้างแฟ้มข้อมูลทาได้ยาก ดังนั้นโปรแกรมเมอร์ต้อง ตรวจดูทุกโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลดังกล่าวและแก้ไขให้ถูกต้อง หลังจากนั้นต้องทดสอบโปรแกรมดังกล่าว หลังการแก้ไข ทาให้เสียเวลา คุณลักษณะของระบบแฟ้มข้อมูลแบบนี้เรียกอีกอย่างว่า การขึ้นต่อกันระหว่าง โปรแกรมและข้อมูล(Program – Data dependence) 4. รูปแบบข้อมูลไม่ตรงกัน เนื่องจากโครงสร้างข้อมูลจะถูกฝังไว้ในส่วนของโปรแกรมประยุกต์ ทาให้ โครงสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นอยู่กับภาษาการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมประยุกต์ ตัวอย่างเช่น โครงสร้างของ
  • 10. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 10 แฟ้มข้อมูลที่สร้างด้วยภาษา COBOL ก็จะแตกต่างจากโครงสร้างแฟ้มที่สร้างด้วยภาษา C จากโครงสร้างที่ แตกต่างกันทาให้การใช้ข้อมูลร่วมกันทาได้ยาก 5. โปรแกรมที่ใช้งานคงที่ไม่มีความยืดหยุ่น โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานในระบบแฟ้มข้อมูลจะ ประมวลผลให้รายงานเฉพาะที่กาหนดไว้โดยผู้เขียนโปรแกรมเท่านั้น ทาให้ไม่สามารถแสดงรายงานที่ต้องการโดย รายงานดังกล่าวเป็นรายงานที่ไม่ได้มีการวางแผนให้มีในโปรแกรมที่สร้างขึ้น หากต้องการได้รายงานดังกล่าวนั้น ต้องทาการเขียนโปรแกรมขึ้นมาเพื่อประมวลผลใหม่ ทาให้ไม่สะดวกและสิ้นเปลืองถ้ารายงานนั้นไม่ได้มีการใช้ บ่อยครั้ง หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบฐานการจัดการฐานข้อมูลที่ดีจะต้องทาหน้าที่แก้ปัญหาความไม่สมบูรณ์ ไม่คงเส้นคงวาของข้อมูลและ ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องไม่ขัดแย้งกันได้ จึงต้องมีหน้าที่ให้ครอบคลุมหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ 1. หน้าที่จัดการพจนานุกรมข้อมูล ในการออกแบบฐานข้อมูลโดยปกติ ผู้ออกแบบได้เขียนพจนานุกรมข้อมูลในรูป ของเอกสารให้กับโปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอร์จะใช้ซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้างพจนานุกรมข้อมูลต่อไป และ สามารถกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล จาเป็นต้องเปลี่ยนที่พจนานุกรมข้อมูลด้วย โปรแกรมเมอร์สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลได้ทันที ต่อจากนั้นจึงให้พจนานุกรมข้อมูลพิมพ์รายงาน พจนานุกรมข้อมูลที่ เปลี่ยนแปลงไปแล้วเป็นเอกสารได้เลยทันที่ โดยไม่ต้องแก้ไขที่เอกสาร 2. หน้าที่จัดการแหล่งจัดเก็บข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทันสมัยจะไม่ทาหน้าที่เพียงจัดการแหล่งจัดเก็บ ข้อมูลเท่านั้น แต่ยังเพิ่มหน้าที่ที่เกี่ยวกับการสร้างฟอร์มป้อนข้อมูลเข้า หรือกาหนดแบบจอภาพ แบบรายงาน หรือแม้แต่การตรวจสอบข้อมูลนาเข้าว่าถูกต้องหรือไม่ และจัดการเรื่องอื่นๆ อีกหลายอย่าง 3. การเปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลข้อมูล การเปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลข้อมูล เป็นหน้าที่สาหรับเปลี่ยน ข้อมูลที่ถูกป้อนเข้าไปเป็นโครงสร้างข้อมูลจะจัดเก็บ ซึ่งอยู่ในมุมมองทางกายภาพ หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล ทาข้อมูลให้เป็นอิสระจากโปรแกรมประยุกต์ได้ 4. จัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลทาหน้าที่รักษาความมั่นคง ความปลอดภัยของ ข้อมูล การไม่ยินยอมเข้าถึงข้อมูลจากผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิ์เข้าไปใช้ฐานข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งฐานข้อมูลประเภทผู้ใช้หลายคน นอกจากนี้ยังสามารถกาหนดสิทธิ์ให้ผู้ใช้แต่ละคนใช้คาสั่ง เพิ่ม หรือลบ ปรับปรุงข้อมูลได้เป็นรายคนหรือรายกลุ่ม
  • 11. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 11 5. ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล เป็นการทาหน้าที่ให้ผู้ใช้เข้าใช้ได้หลาย ๆ คนใน เวลาเดียวกันโดยไม่ทาให้เกิดขัดข้องของข้อมูล ซึ่งจะเน้นกฎความสมบูรณ์ของข้อมูลและการใช้ข้อมูลพร้อมกัน 6. สารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล การสารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล เป็นหน้าที่ที่จาเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้ผู้ใช้ ระบบฐานข้อมูลมั่นใจว่าข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ได้เสียหาย ยังมีความสมบูรณ์อยู่ตลอดเวลา ผู้ใช้ที่เป็นผู้บริหาร ฐานข้อมูลสามารถใช้คาสั่งสารองข้อมูลและคาสั่งกู้คืนข้อมูลได้ 7. จัดการด้านบูรณภาพของข้อมูล เป็นข้อกาหนดให้มีกฎความสมบูรณ์เป็นบูรณภาพ โดยจะให้มีข้อมูลที่ซ้าซ้อน กันให้น้อยที่สุด แต่ให้มีความถูกต้องตรงกันให้มากที่สุด เพราะในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะมีหลาย ๆ ตารางที่สัมพันธ์กัน ตารางที่เกี่ยวข้องกันจะขัดแย้งกันไม่ได้ 8. เป็นภาษาสาหรับจัดการข้อมูลและจัดสร้างส่วนประสานกับผู้ใช้ ระบบจัดการฐานข้อมูลจัดให้มีภาษาสาหรับ สอบถาม เป็นภาษาที่เขียนเข้าใจง่ายไม่เหมือนภาษาชั้นสูงประเภท Procedural ทั่วไป ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมภาษาระดับสูงเขียน คาสั่งเข้าไปสอบถามข้อมูลหรือประมวลผลสารสนเทศได้ตามต้องการ 9. เป็นส่วนประสานกับผู้ใช้ในด้านการสื่อสารฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลสมัยใหม่จะสนับสนุนการ ทางานแบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเขียนคาสั่งด้วยโปรแกรมที่ทางานบน www เช่น browser ของ Internet Explorer หรือ Netscape เป็นต้น การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล ในปัจจุบันเนื่องจากการขยายตัวของธุรกิจเกือบทุกประเภท ทาให้องค์กรหลายแห่งต้องประสบกับภาวะการณ์แข่งขัน ในการดาเนินงานทางธุรกิจสูงมาก ในขณะที่ผู้บริหารของแต่ละองค์กรต่างก็ต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่มีความถูกต้องและ รวดเร็วเพื่อใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ แต่ปัญหาที่ประสบในองค์กรหลายแห่งก็คือ การได้มาอย่างยากยิ่งซึ่งข้อมูลหรือ สารสนเทศที่ถูกต้องและรวดเร็วอันเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างมากในระบบงาน ทาให้เกิดปัญหาตามมาในการบริหารจัดการ ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้สาเหตุของปัญหาดังกล่าวอาจเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ ได้แก่ 1. ข้อมูลที่ใช้เพื่อการดาเนินงานอยู่ในสภาพกระจัดกระจาย ขาดการเก็บรวบรวมอย่างเหมาะสม ทาให้เกิดความไม่ สะดวกในการค้นหาเมื่อต้องการใช้ข้อมูลนั้น ๆ 2. ข้อมูลที่ใช้เพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจไม่เพียงพอ หรือไม่อาจค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้ทันเวลา ทาให้ต้อง เสียโอกาสทางการตลาดหรือทาให้การตัดสินใจบางเรื่องต้องผิดพลาดเสียหาย
  • 12. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 12 3. การเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อนกันภายในหน่วยงาน ตัวอย่างเช่น การเก็บบันทึกข้อมูลของพนักงานคนเดียวกันในองค์กร อาจปรากฏข้อมูลของพนักงานคนเดียวกันนั้นซ้าซ้อนในหลายฝ่าย เมื่อต้องการปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จึงต้องยุ่งยาก เสียเวลาในดาเนินการหลายแห่งและอาจทาได้ไม่ครบถ้วนหรือมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ง่าย ตัวอย่างเช่น หากต้องการเปลี่ยนแปลง แก้ไขนามสกุลของพนักงาน อาจต้องกระทาทั้งที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายการเงิน 4. ข้อมูลขาดความเป็นเอกภาพเนื่องมาจากการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อนกัน ทาให้ปรากฏข้อมูลเรื่องเดียวกันในหลายที่ หลายฝ่ายและข้อมูลดังกล่าวไม่สอดคล้องกัน การเลือกใช้ข้อมูลที่ผิดพลาดหรือไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดการตรวจทานตรวจสอบ ในเวลาที่เร่งรีบ อาจทาให้เกิดผลเสียหายต่อการวางแผนและตัดสินใจได้โดยง่าย 5. การขาดการประสานงานและความหย่อนประสิทธิภาพในการทางานของผู้ที่ปฏิบัติงานกับข้อมูล ทาให้การจัดเก็บ ข้อมูลไม่เป็นระบบ การค้นหาข้อมูลจึงเป็นไปอย่างล่าช้า เป็นผลให้องค์กรไม่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเท่าที่ควร จากเหตุผลดังกล่าว ทาให้องค์กรมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานโดยนาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้กับระบบงานที่ทาอยู่ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารและจัดการองค์กร ทาให้ผู้บริหารได้รับข้อมูลและสารสนเทศที่จะนามาใช้ประโยชน์เพื่อการ วางแผนและตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทั้งนี้ เนื่องจากความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลได้อย่าง ถูกต้องและแม่นยา การจัดเก็บและค้นหาข้อมูลจานวนมากได้อย่างรวดเร็ว การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคนิคการ จัดระบบฐานข้อมูล ทาให้ความซ้าซ้อนและการกระจัดกระจายในการจัดเก็บข้อมูลลดลง ทาให้การเรียกใช้ข้อมูลสามารถทาได้ อย่างถูกต้องทันเวลา เกิดความสะดวกและคล่องตัวในการปฏิบัติงาน การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานบุคลากร เนื่องจากบุคคลเป็นทรัพยากรที่สาคัญต่อการดาเนินงานและปฏิบัติงานขององค์กร ในการเก็บบันทึกประวัติบุคลากร ของหน่วยงานแต่ละแห่ง ประวัติของบุคคลหนึ่งคนจึงประกอบด้วย 1. ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว เช่น ชื่อ-นามสกุล วัน/เดือน/ปีเกิด สถานภาพสมรส ชื่อ-นามสกุลของสามี หรือภรรยา จานวนบุตร ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เป็นต้น 2. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการศึกษาในระดับต่างๆ เช่น ระดับการศึกษาสูงสุด สถานศึกษาที่จบ เกรดเฉลี่ย การทา กิจกรรมพิเศษต่างๆ เป็นต้น 3. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการเข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ดูงาน เช่น วัน/เดือน/ปี/ที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ดู งาน สถานที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ดูงาน เป็นต้น
  • 13. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 13 4. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการทางานและการได้รับเลื่อนตาแหน่ง เช่น วัน/เดือน/ปีที่เริ่มทางาน สถานที่ทางาน อัตรา เงินเดือน จานวนวันหยุด/วันลา เป็นต้น 5. ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถพิเศษต่างๆ เช่น ความสามารถทางด้านภาษา ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 6. การใช้แรงงานคนจัดทาด้วยมือเพื่อเก็บบันทึก จัดเก็บ และค้นหาข้อมูลเอกสารประวัติบุคคลเพียงคนเดียวเพื่อนา ใช้งานนั้นเป็นเรื่องที่ไม่ยุ่งยากมากนัก หากทว่าในหน่วยงานต่างๆ มักประกอบด้วยบุคคลที่สังกัดฝ่ายต่างๆ แผนกต่างๆ จานวนมาก แต่ละคนต่างก็มีข้อมูลประวัติของตนเองและความสามารถต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป การจัดเก็บบันทึกข้อมูลเอกสารประวัติ บุคลากรให้เป็นระเบียบ เพื่อจะได้สะดวกต่อการค้นหา/เรียกใช้เพื่อนาข้อมูลลับมาใช้ให้ทันเวลา จึงค่อนข้างเป็นเรื่องที่มี ความสาคัญและจาเป็นมากทีเดียว ดังนั้นการจัดการข้อมูลดังกล่าวจึงจาเป็นต้องใช้เทคนิคระบบการจัดการฐานข้อมูลเข้ามาช่วยในการดาเนินการแต่ละ กิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการเก็บบันทึก การค้นหา และการแก้ไข/เปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงข้อมูล เพื่ออานวยความสะดวกแก่ ผู้ปฏิบัติงานและผู้ต้องการใช้ข้อมูลในเรื่องบุคลากร ทั้งนี้ ความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานบุคลากร อาจจาแนกตามระดับการทางานได้ดังนี้ 1. ระดับบริหาร โดยทั่วไปผู้บริหารระดับสูงจะเป็นผู้กาหนดนโยบายในการดาเนินงานขององค์กร ส่วนผู้บริหารระดับกลางจะเป็น ผู้รับนโยบายเหล่านั้นมามอบหมายให้ผู้บริหารระดับปฏิบัติการนาไปดาเนินงาน ซึ่งผู้บริหารแต่ละระดับจาเป็นต้องใช้ฐานข้อมูล ทางด้านบุคลากรเพื่อการวางแผน การตัดสินใจ การจัดสายงาน การอานวยการ และการควบคุมงานให้เหมาะสมในเรื่องต่าง ๆ เช่น การจัดสรรบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงานในตาแหน่งต่าง ๆ ตามความรู้และความสามารถ การวางแผนอัตรากาลังในหน่วยงานของ องค์กรเพื่อรองรับ การขยายงาน การพิจารณาเงินเดือน/เลื่อนขั้น/ความดีความชอบจากผลการปฏิบัติงานและวันหยุด/วันลา เป็น ต้น 2. ระดับปฏิบัติการและบริการ การใช้ข้อมูลเพื่อการทางานของเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติการโดยส่วนใหญ่จะเป็นไปตามหน้าที่และสายงาน ซึ่ง การใช้ฐานข้อมูลทางด้านบุคลากรจะมีบทบาทในด้านการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารภายใน การควบคุมงาน และการติดตามงาน เช่น การคิดภาษีเพื่อหักจากเงินเดือน ณ ที่จ่ายจาเป็นต้องทราบอัตราเงินเดือน สถานภาพสมรส และจานวนบุตร การแก้ไข/ เปลี่ยนแปลงข้อมูลชื่อ-นามสกุล การบันทึกข้อมูล การเพิ่มวุฒิ/การฝึกอบรม การติดต่อสื่อสารเพื่อติดตามงานระหว่างหน่วยงานใน องค์กร เป็นต้น
  • 14. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 14 3. ส่วนอื่น ๆ การใช้ฐานข้อมูลทางด้านบุคลากรในส่วนอื่น ๆ จะมีบทบาทครอบคลุมถึงงานที่มีความสัมพันธ์กับสองส่วนแรก โดยมักจะเกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอกองค์กร ได้แก่ คู่แข่งหรือคู่ค้าของกิจการ หน่วยงาน อื่น ๆ ในภาครัฐหรือเอกชน เช่น งานที่ เกี่ยวข้องกับหน่วยงานภาครัฐที่ดูแลในเรื่องภาษีอากร การจ้างงาน สวัสดิการ รวมทั้งกฎหมาย/ข้อบังคับที่เกี่ยวกับบุคคลและการ ดาเนินงานทางธุรกิจ การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษา ปัจจุบันสถานศึกษาหลายแห่งนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อ/อุปกรณ์เพื่อประกอบการเรียนการสอนในลักษณะต่างๆ เช่น การใช้วีดิทัศน์ เครื่องฉายภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รวมทั้งมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานบริหารจัดการต่างๆ ใน สถานศึกษา เช่น การจัดทาทะเบียนประวัตินิสิตและอาจารย์ การคิดคะแนนและผลการสอบ การจัดทาตารางเรียน การใช้ คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุด เป็นต้น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในสถานศึกษาทาให้เกิดการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษา ซึ่งเป็นงานที่ ยุ่งยากและสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก หากต้องดาเนินการในงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลดังกล่าวด้วยการใช้แรงงานคนทาด้วยมือ เนื่องจากสถานศึกษาแต่ละแห่งต่างก็มีนักศึกษาจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาเก่าและนักศึกษาใหม่ทั้งในระดับปริญญาตรีและ สูงกว่า รวมทั้งในสถานศึกษาบางแห่งยังมีนักศึกษาภาคพิเศษและภาคสมทบในลักษณะอื่นอีกด้วย สานักทะเบียนของแต่ละ สถานศึกษาจะต้องดาเนินการรับลงทะเบียนนักศึกษาแต่ละคนในทุกภาคและทุกปีการศึกษาภายในช่วงระยะเวลาที่ค่อนข้างจากัด ซึ่งลักษณะของการลงทะเบียนยังอาจจาแนกได้เป็นการลงทะเบียนเรียนปกติ การลงทะเบียนล่าช้า การลาพักการศึกษา การเพิ่ม/ ถอนชุดวิชา ฯลฯ หากพิจารณาเฉพาะการลงทะเบียนเรียนตามปกติจะพบว่า การเก็บบันทึกข้อมูลในเรื่องเกี่ยวกับ ใบลงทะเบียนของ นักศึกษาในสถานศึกษาแต่ละแห่งประกอบด้วย 1. ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา เช่น รหัสประจาตัว ชื่อ-นามสกุล รหัสวิชาเอก คณะ เป็นต้น 2. ข้อมูลเกี่ยวกับอาจารย์ที่ปรึกษา เช่น รหัสอาจารย์ที่ปรึกษา ชื่ออาจารย์ เป็นต้น 3. ข้อมูลเกี่ยวกับชุดวิชาที่ลงทะเบียน เช่น ภาคการศึกษา ปีการศึกษา รหัสชุดวิชา ชื่อชุดวิชา จานวนหน่วยกิต ค่ำลงทะเบียน เป็นต้น นอกจากนี้ข้อมูลการลงทะเบียนของนักศึกษายังเกี่ยวข้องเชื่อมโยงและสัมพันธ์กับเรื่องอื่นๆ อีก เช่น จานวนหน่วยกิต ขั้นต่าที่นักศึกษาจะต้องลงทะเบียน จานวนชุดวิชาที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ห้องเรียน/ชั้นเรียนที่ใช้ในการเรียนการสอน อาจารย์ที่ทาการสอนในแต่ละชุดวิชา ฯลฯ
  • 15. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 15 ดังนั้นความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษาอาจจาแนกตามผู้เกี่ยวข้องได้ ดังนี้ 1. นักศึกษา โดยทั่วไปในสถานศึกษาต่างๆ นักศึกษาจะเป็นผู้มีความต้องการใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อทาการวางแผนและ ตัดสินใจในเรื่องการเรียนอย่างมาก เช่น ผลการศึกษาหรือเกรดเฉลี่ยในภาคการศึกษาที่ผ่านมา ข้อมูลการเรียนเกี่ยวกับวัน/เวลา/ ชุดวิชาที่เปิดสอน/จานวนหน่วยกิต/ชุดวิชาที่มีการจากัดจานวน ผู้เรียน ใบรายงานผลการศึกษา/รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร ฯลฯ 2. อาจารย์ สาหรับความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษาต่ออาจารย์นั้นจะ เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการปฏิบัติงานในเรื่องการเรียนการสอน เช่น รายชื่อนักศึกษาใน การปรึกษา จานวนนักศึกษาที่ ลงทะเบียนเรียนในแต่ละชุดวิชา การคิดคะแนนและผลการสอบ ฯลฯ 3. ส่วนอื่น ๆ ความสาคัญและประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานทะเบียนนักศึกษาในส่วนอื่น ๆ จะมีบทบาท ครอบคลุมถึงงานที่มีความสัมพันธ์กับสองส่วนแรก ได้แก่ การจัดทาตารางเรียน การจัดทาใบเสร็จรับเงินค่าลงทะเบียน การคืนเงิน ค่าลงทะเบียนเรียน การจัดสอบ การจัดทาใบรายงานผลการศึกษา การตรวจโครงสร้างการสาเร็จการศึกษา การจัดสวัสดิการและ สิทธิประโยชน์เพื่อรองรับ เช่น งานห้องสมุด ฯลฯ การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์ งานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์เป็นงานหนึ่งที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก หากต้องดาเนินการใช้ แรงงานคนจัดทาด้วยมือในงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลต่างๆ เช่น ระบบบัญชีเจ้าหนี้ ระบบบัญชีสินค้าคงคลัง เป็นต้น ทั้งนี้ เนื่องจาก งานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์เป็นงานที่เกี่ยวข้องสินค้าจานวนหลายรายการ ซึ่งทาการสั่งซื้อมาจากบริษัทขายส่งหลายแห่ง และนามาทาการจาหน่ายในลักษณะการขายปลีกให้แก่ลูกค้าโดยทั่วไป การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์จึงเป็นการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานต่างๆ ได้แก่ การขายปลีก ระบบบัญชีเจ้าหนี้ และระบบบัญชีสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลกับการขายปลีก ทาให้องค์กร สามารถออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง ทาให้สามารถจัดทารายงานการขายประจาวันได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์ ระบบบัญชีเจ้าหนี้จะเกิดขึ้นเมื่อองค์กรมีการสั่งซื้อสินค้าเข้ามา การบันทึกข้อมูลใบสั่งซื้อ
  • 16. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 16 สินค้าด้วยการใช้เทคนิคระบบจัดการฐานข้อมูลจะทาให้สามารถพิมพ์รายงานเรียงตามลาดับวันที่ค้างชาระได้ ซึ่งรายงานนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อการนามาใช้เพื่อการบริหารจัดการการเงินขององค์กรให้มีประสิทธิภาพได้ และยังสามารถพิมพ์เช็คชาระหนี้รวมทั้ง บันทึกรายการชาระหนี้ได้ จึงทาให้สามารถจัดทารายงานสรุปการจ่ายเงินในแต่ละวันได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว สาหรับการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารสินค้าคงคลัง จะเป็นการบริหารเพื่อให้สินค้าคงเหลือในคลังมีมูลค่าต่าสุด แต่ในขณะเดียวกันจะต้องมีสินค้าในคลังมากเพียงพอที่จะนามา จาหน่ายให้แก่ลูกค้าได้โดยไม่ทาให้เสียโอกาสในการขาย ซึ่งจากการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลกับการขายปลีกและการบริหารสินค้าคง คลัง จะทาให้ได้รายงานการขายสินค้า การรับ-ส่งสินค้าซึ่งทาให้สามารถจัดทารายงานแสดงยอดคงเหลือของสินค้าแต่ละชนิด รายงานแสดงรายการสินค้า ณ จุดสั่งซื้อ รวมทั้งสามารถนามาใช้ในการพยากรณ์ยอดขายสินค้ารายการต่างๆ ได้ ซึ่งทาให้สามารถ บริหารจัดการสถานภาพของสินค้าคงคลังได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานซื้อขายสินค้าในซุปเปอร์สโตร์จึงช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรสามารถหาคาตอบ ในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้ได้ เช่น ความต้องการสินค้าของลูกค้าเพิ่มมากขึ้นหรือลดลง สินค้าชนิดใดที่ได้รับความนิยม/เสื่อมความนิยม องค์กรเป็นหนี้การค้าหน่วยงานบริษัทใดบ้าง เป็นจานวนเงินมากน้อยเพียงใด เป็นต้น จากตัวอย่างที่กล่าวมานี้จะเห็นได้ว่า หาก องค์กรมีการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในการดาเนินงานแล้ว ผู้บริหารจะสามารถทาการวางแผนและตัดสินใจเพื่อตอบสนองต่อ สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา และถูกต้อง สรุป ฐานข้อมูลเป็นการรวบรวมกลุ่มของแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กันและแฟ้ม ข้อมูลเป็นกลุ่มของระเบียน และระเบียนก็เป็น กลุ่มของเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งจะได้ว่าฐานข้อมูลนั้นมีวิวัฒนาการมาจากแฟ้มข้อมูล และฐานข้อมูลมีด้วยกันหลายประเภท ขึ้นกับเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา ระบบการจัดการฐานข้อมูล เป็นซอฟต์แวร์ระบบที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล โดยเริ่มจากการ ได้รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาในส่วนของระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งมีการแบ่งการทางานออกเป็น 2 ส่วนคือ ประมวลผลข้อคาถาม และผู้จัดการหน่วยเก็บข้อมูล การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลนั้น เนื่องจากการขยายตัวของธุรกิจเกือบทุกประเภท ทาให้องค์กรหลายแห่งต้องประสบกับ ภาวะการณ์แข่งขันในการดาเนินงานทางธุรกิจสูงมาก ในขณะที่ผู้บริหารของแต่ละองค์กรต่างก็ต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่มี ความถูกต้องและรวดเร็วเพื่อใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ ดังนั้นจึงต้องมีการนาฐานข้อมูลมาประยุกต์ใช้ เช่น ประยุกต์ใช้กับงาน ด้านบุคลากร งานด้านทะเบียนของนักศึกษา หรืองานด้านร้านค้า เป็นต้น
  • 17. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 17 แบบฝึกหัดท้ายบท 1. จงอธิบายความหมายของฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลมีอะไรบ้าง และมีส่วนช่วยในด้านการทางานของผู้บริหารอย่างไร 3. จงอธิบายความหมายของแฟ้มข้อมูล 4. ประเภทของแฟ้มข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง และแต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร 5. ระบบฐานข้อมูลมีองค์ประกอบอะไรบ้าง วาดรูปประกอบการอธิบาย 6. ข้อจากัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูลมีอะไรบ้าง จงอธิบาย 7. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล 8. จงอธิบายการประมวลผลฐานข้อมูลโดยวาดรูปประกอบการอธิบาย
  • 18. ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 1 18 เอกสารอ้างอิง ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน. (2542). การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี : นครราชสีมา. รวิวรรณ เทนอิสสระ. (2543). ฐานข้อมูลและการออกแบบ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. วราภรณ์ โกวิทวรางกูร. (2543). ระบบฐานข้อมูลและการออกแบบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Galindo, J.; Urrutia, A.; Piattini, M. (2006). Fuzzy Databases: Modeling, Design and Implementation (FSQL guide). USA : Idea Group Publishing Hershey. Galindo, J., Ed. (2008). Handbook on Fuzzy Information Processing in Databases. Hershey, PA: Idea Group Inc. Kroenke, David M. and David J. Auer. (2007). Database Concepts. 3rd ed. New York : Prentice.