SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
อริยสัจ 4
อริย สัจ 4
อริย สัจ (บาลี: ariyasacca) หรือจตุร าริย สัจ
หรืออริย สัจ 4 เป็นหลักคำาสอนหนึ่งของพระโคตม
พุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริง
ของพระอริยะ หรือความ
 จริงที่ทำาให้ผเข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ
1. ทุก ข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ใน
ู้
คือ
สภาพเดิมไม่ได้
สภาพทีบีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่
่
การเก่า) มรณะ
(การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่ง
อันไม่เป็นทีรัก
่

อริย สัจ 4




2. ทุก ขสมุท ย คือ สาเหตุที่ทำาให้เกิดทุกข์ ได้แก่
ั
ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม
ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความ
ทะยานอยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่
ความอยากทีประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ
่
และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความ
ปราศจากภพ ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความ
อยากทีประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ
่
3. ทุก ขนิโ รธ คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุ
ทีทำาให้เกิดทุกข์ กล่าวคือ ดับตัณหาทัง 3 ได้อย่าง
่
้
สิ้นเชิง
อริย สัจ 4











4. ทุก ขนิโ รธคามิน ีป ฏิป ทา คือ แนวปฏิบัติที่นำา
ไปสู่หรือนำาไปถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มรรคอัน มี
องค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ
1. สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นชอบ
2. สัมมาสังกัปปะ-ความดำาริชอบ
3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ
4. สัมมากัมมันตะ-ทำาการงานชอบ
5. สัมมาอาชีวะ-เลียงชีพชอบ
้
6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ
7. สัมมาสติ-ระลึกชอบ และ
8. สัมมาสมาธิ-ตังใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้
้
กิจ ในอริย สัจ 4
กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ตองทำำต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ
้
ได้แก่
 ปริญ ญำ - ทุกข์ ควรกำำหนดรู้ คือกำรทำำควำม
เข้ำใจปัญหำหรือสภำวะที่เป็นทุกข์อย่ำงตรงไปตรง
มำตำมควำมเป็นจริง เป็นกำรเผชิญหน้ำกับปัญหำ
 ปหำนะ - สมุทัย ควรละ คือกำรกำำจัดสำเหตุที่
ทำำให้เกิดทุกข์ เป็นกำรแก้ปัญหำที่เหตุต้นตอ
 สัจ ฉิก ิร ิย ำ - นิโรธ ควรทำำให้แจ้ง คือกำรเข้ำถึง
ภำวะดับทุกข์ หมำยถึงภำวะทีไร้ปัญหำซึ่งเป็นจุดมุ่ง
่
หมำย
 ภำวนำ - มรรค ควรเจริญ คือกำรฝึกอบรมปฏิบัติ
กิจ ใน
อริย สัจ 4


กิจ ทั้ง สีน ี้จ ะต้อ งปฏิบ ัต ิใ ห้ต รงกับ
่
มรรคแต่ล ะข้อ ให้ถ ูก ต้อ ง กำรรู้จ ัก กิจ
ในอริย สัจ นี้เ รีย กว่ำ กิจ ญำณ
 กิจ ญำณ เป็น ส่ว นหนึ่ง ของญำณ 3
หรือ ญำณทัส สนะ (สัจ ญำณ, กิจ ญำณ,
กตญำณ) ซึง หมำยถึง กำรหยัง รู้ค รบ
่
่
สำมรอบ ญำณทั้ง สำมเมือ เข้ำ คู่ก ับ กิจ
่
ในอริย สัจ ทั้ง สี่จ ึง ได้เ ป็น ญำณทัส นะมี
กิจ ในอริย สัจ 4
กตญำณ หยังรู้ว่ำได้ทำำกิจที่ควร
่
ทำำได้เสร็จสิ้นแล้ว
1. ทุกข์ได้กำำหนดรู้แล้ว
2. เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
3. ควำมดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
4. ทำงแห่งควำมดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
กิจ ในอริย สัจ 4
สัจ ญำณ หยั่งรู้ควำมจริงสี่ประกำร
ว่ำ
1. นี่คือทุกข์
2. นี่คือเหตุแห่งทุกข์
3. นี่คือควำมดับทุกข์
4. นี่คือทำงแห่งควำมดับทุกข์
กิจ ในอริย สัจ 4
กิจ ญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า
1. ทุกข์ควรรู้
2. เหตุแห่งทุกข์ควรละ
3. ความดับทุกข์ควรทำาให้ประจักษ์
แจ้ง
4. ทางแห่งความดับทุกข์ควร
ฝึกหัดให้เจริญขึ้น
มรรค
มรรค
 มรรค

(ภาษาสันสกฤต : มรฺค; ภาษา
บาลี : มคฺค) คือ หนทางถึงความดับ
ทุกข์ เป็นส่วนหนึ่งของอริยสัจ (เรียก
ว่า มัคคสัจจ์ หรือ ทุกขนิโรธคามินี
ปฏิปทาอริยสัจ) และนับเป็นหลักธรรม
สำาคัญอย่างหนึงในพระพุทธศาสนา
่
ประกอบด้วยหนทาง 8 ประการด้วย
กัน เรียกว่า "มรรคมีองค์แปด" หรือ
มรรค








สัม มาทิฏ ฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมาย
ถึงเห็นถูกตามความเป็นจริงด้วยปัญญา
สัม มาสัง กัป ปะ คือ ดำาริชอบ หมายถึง
การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ใน
ทางกุศลหรือความดีงาม
สัม มาวาจา คือ เจรจาชอบ หมายถึง
การพูดสนทนา แต่ในสิ่งที่สร้างสรรค์ดี
งาม
สัม มากัม มัน ตะ คือ การประพฤติดีงาม
มรรค








สัม มาอาชีว ะ คือ การทำามาหากิน
อย่างสุจริตชน
สัม มาวายามะ คือ ความอุตสาหะ
พยายาม ประกอบความเพียรใน
การกุศลกรรม
สัม มาสติ คือ การไม่ปล่อยให้เกิด
ความพลั้งเผลอ จิตเลื่อนลอย ดำารง
อยูด้วยความรู้ตัวอยู่เป็นปกติ
่
สัม มาสมาธิ คือ การฝึกจิตให้ตั้ง
มรรค

อริยมรรคมีองค์แปด เป็นปฏิปทางสายกลาง
คือทางทีนำาไปสู่การพ้นทุกข์ ที่พระพุทธองค์ได้
่
ทรงตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำาญาณให้
เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบเพื่อความรู้ยิ่ง
เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน
มรรคมีองค์แปด สามารถจัดเป็นหมวดหมู่ได้
เป็น ศีล สมาธิ ปัญญา
 ข้อ1-2 เป็น ปัญญา (สัมมาทิฏฐิ สัมมา
สังกัปปะ)
 ข้อ3-4-5 เป็น ศีล (สัมมาวาจา สัมมากัม
มันตะ สัมมาอาชีวะ)


More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
Anchalee BuddhaBucha
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
chonlataz
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
ต๊อบ แต๊บ
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 

What's hot (20)

หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 

Viewers also liked

หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
Suriyawaranya Asatthasonthi
 

Viewers also liked (13)

072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
ใบความรู้ ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-1page
ใบความรู้  ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-1pageใบความรู้  ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-1page
ใบความรู้ ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-1page
 
ใบความรู้ ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-4page
ใบความรู้  ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-4pageใบความรู้  ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-4page
ใบความรู้ ฆราวาสธรรม4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 05-4page
 
ใบความรู้ สังคหวัตถุ4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 11-4page
ใบความรู้  สังคหวัตถุ4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 11-4pageใบความรู้  สังคหวัตถุ4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 11-4page
ใบความรู้ สังคหวัตถุ4 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 11-4page
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 

Similar to อริยสัจ 4

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
Napakan Srionlar
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
Onpa Akaradech
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
Chinnakorn Pawannay
 

Similar to อริยสัจ 4 (20)

อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
พื้นฐานชีวิต 19.pptx
พื้นฐานชีวิต 19.pptxพื้นฐานชีวิต 19.pptx
พื้นฐานชีวิต 19.pptx
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 

อริยสัจ 4

  • 2. อริย สัจ 4 อริย สัจ (บาลี: ariyasacca) หรือจตุร าริย สัจ หรืออริย สัจ 4 เป็นหลักคำาสอนหนึ่งของพระโคตม พุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริง ของพระอริยะ หรือความ  จริงที่ทำาให้ผเข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ 1. ทุก ข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ใน ู้ คือ สภาพเดิมไม่ได้ สภาพทีบีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ ่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่ง อันไม่เป็นทีรัก ่ 
  • 3. อริย สัจ 4   2. ทุก ขสมุท ย คือ สาเหตุที่ทำาให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ั ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความ ทะยานอยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากทีประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ ่ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความ ปราศจากภพ ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความ อยากทีประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ ่ 3. ทุก ขนิโ รธ คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุ ทีทำาให้เกิดทุกข์ กล่าวคือ ดับตัณหาทัง 3 ได้อย่าง ่ ้ สิ้นเชิง
  • 4. อริย สัจ 4          4. ทุก ขนิโ รธคามิน ีป ฏิป ทา คือ แนวปฏิบัติที่นำา ไปสู่หรือนำาไปถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มรรคอัน มี องค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ-ความดำาริชอบ 3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ-ทำาการงานชอบ 5. สัมมาอาชีวะ-เลียงชีพชอบ ้ 6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ 7. สัมมาสติ-ระลึกชอบ และ 8. สัมมาสมาธิ-ตังใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ ้
  • 5. กิจ ในอริย สัจ 4 กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ตองทำำต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ้ ได้แก่  ปริญ ญำ - ทุกข์ ควรกำำหนดรู้ คือกำรทำำควำม เข้ำใจปัญหำหรือสภำวะที่เป็นทุกข์อย่ำงตรงไปตรง มำตำมควำมเป็นจริง เป็นกำรเผชิญหน้ำกับปัญหำ  ปหำนะ - สมุทัย ควรละ คือกำรกำำจัดสำเหตุที่ ทำำให้เกิดทุกข์ เป็นกำรแก้ปัญหำที่เหตุต้นตอ  สัจ ฉิก ิร ิย ำ - นิโรธ ควรทำำให้แจ้ง คือกำรเข้ำถึง ภำวะดับทุกข์ หมำยถึงภำวะทีไร้ปัญหำซึ่งเป็นจุดมุ่ง ่ หมำย  ภำวนำ - มรรค ควรเจริญ คือกำรฝึกอบรมปฏิบัติ
  • 6. กิจ ใน อริย สัจ 4  กิจ ทั้ง สีน ี้จ ะต้อ งปฏิบ ัต ิใ ห้ต รงกับ ่ มรรคแต่ล ะข้อ ให้ถ ูก ต้อ ง กำรรู้จ ัก กิจ ในอริย สัจ นี้เ รีย กว่ำ กิจ ญำณ  กิจ ญำณ เป็น ส่ว นหนึ่ง ของญำณ 3 หรือ ญำณทัส สนะ (สัจ ญำณ, กิจ ญำณ, กตญำณ) ซึง หมำยถึง กำรหยัง รู้ค รบ ่ ่ สำมรอบ ญำณทั้ง สำมเมือ เข้ำ คู่ก ับ กิจ ่ ในอริย สัจ ทั้ง สี่จ ึง ได้เ ป็น ญำณทัส นะมี
  • 7. กิจ ในอริย สัจ 4 กตญำณ หยังรู้ว่ำได้ทำำกิจที่ควร ่ ทำำได้เสร็จสิ้นแล้ว 1. ทุกข์ได้กำำหนดรู้แล้ว 2. เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว 3. ควำมดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว 4. ทำงแห่งควำมดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
  • 8. กิจ ในอริย สัจ 4 สัจ ญำณ หยั่งรู้ควำมจริงสี่ประกำร ว่ำ 1. นี่คือทุกข์ 2. นี่คือเหตุแห่งทุกข์ 3. นี่คือควำมดับทุกข์ 4. นี่คือทำงแห่งควำมดับทุกข์
  • 9. กิจ ในอริย สัจ 4 กิจ ญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า 1. ทุกข์ควรรู้ 2. เหตุแห่งทุกข์ควรละ 3. ความดับทุกข์ควรทำาให้ประจักษ์ แจ้ง 4. ทางแห่งความดับทุกข์ควร ฝึกหัดให้เจริญขึ้น
  • 11. มรรค  มรรค (ภาษาสันสกฤต : มรฺค; ภาษา บาลี : มคฺค) คือ หนทางถึงความดับ ทุกข์ เป็นส่วนหนึ่งของอริยสัจ (เรียก ว่า มัคคสัจจ์ หรือ ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทาอริยสัจ) และนับเป็นหลักธรรม สำาคัญอย่างหนึงในพระพุทธศาสนา ่ ประกอบด้วยหนทาง 8 ประการด้วย กัน เรียกว่า "มรรคมีองค์แปด" หรือ
  • 12. มรรค     สัม มาทิฏ ฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมาย ถึงเห็นถูกตามความเป็นจริงด้วยปัญญา สัม มาสัง กัป ปะ คือ ดำาริชอบ หมายถึง การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ใน ทางกุศลหรือความดีงาม สัม มาวาจา คือ เจรจาชอบ หมายถึง การพูดสนทนา แต่ในสิ่งที่สร้างสรรค์ดี งาม สัม มากัม มัน ตะ คือ การประพฤติดีงาม
  • 13. มรรค     สัม มาอาชีว ะ คือ การทำามาหากิน อย่างสุจริตชน สัม มาวายามะ คือ ความอุตสาหะ พยายาม ประกอบความเพียรใน การกุศลกรรม สัม มาสติ คือ การไม่ปล่อยให้เกิด ความพลั้งเผลอ จิตเลื่อนลอย ดำารง อยูด้วยความรู้ตัวอยู่เป็นปกติ ่ สัม มาสมาธิ คือ การฝึกจิตให้ตั้ง
  • 14. มรรค อริยมรรคมีองค์แปด เป็นปฏิปทางสายกลาง คือทางทีนำาไปสู่การพ้นทุกข์ ที่พระพุทธองค์ได้ ่ ทรงตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำาญาณให้ เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน มรรคมีองค์แปด สามารถจัดเป็นหมวดหมู่ได้ เป็น ศีล สมาธิ ปัญญา  ข้อ1-2 เป็น ปัญญา (สัมมาทิฏฐิ สัมมา สังกัปปะ)  ข้อ3-4-5 เป็น ศีล (สัมมาวาจา สัมมากัม มันตะ สัมมาอาชีวะ) 