SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
สัพพัญญุตญาณ : พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
ชินกร ปะวันเนย์1
Chinnakorn Pawannay
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งเน้นการเปรียบเทียบเทียบพื้นที่ความหมายของคาว่าสัพพัญญุตญาณใน
ระบบความหมายของทางพระพุทธศาสนาและความหมายของสัพพัญญุตญาณในวรรณกรรมเรื่องไตร
ภูมิพระร่วงว่าเตกต่างกันอย่างไร ผลการศึกษาพบว่าการตีความหมายของสัพพัญญุตญาณในไตรภูมิ
พระร่วงมีความหมายแคบกว่าการให้ความหมายทางพระพุทธศาสนา กล่าวคือในวรรณกรรมเรื่องไตร
ภูมิพระร่วงสามารถตีความหมายของสัพพัญญุตญาณได้สองประเด็น คือ จุตูปปาญาณ ความรู้ในจุติ
และอุบัติของสัตว์โลกได้ ซึ่งสามารถเห็นกรรมหรือหยั่งรู้อนาคตและอดีตของสัตว์เหล่านั้นได้ และอาส-
วักขยญาณ ความรู้ในการกาจัดอาสวะให้สิ้นไป คือการรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์ทั้งสิ้น จน
สามารถหลุดพ้นจากิเลสทั้งปวงได้ไม่ติข้องในภูมิทั้ง 3 อันได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งความ
เป็นสัพพัญญูตามแนวคิดของพุทธศาสนาต้องประกอบด้วย 3 ประการ คือบุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ความรู้เป็นเหตุให้ระลึกถึงขันธ์ที่เกิดในอดีตได้ คือ การระลึกชาติของตนได้ไม่จากัดภพชาติ จุตูปปา
ญาณ และอาสวักขยญาณ ซึ่งเป็นความหมายของสัพพัญญุตญาณตามพระไตรปิฎก แต่ในวรรณกรรม
ไตรภูมิพระร่วงทาให้เห็นว่าสัพพัญญุตญาณนั้นมีความหมายแคบลง
คาสาคัญ : สัพพัญญุตญาณ ญาณ ภูมิ
บทนา
หนังสือไตรภูมิพระร่วง หรือ ไตรภูมิเตมิกถา เป็นหนังสือวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่
เก่าแก่เล่มหนึ่งของไทยมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ซึ่งใช้ในการเผยแพร่แนวคิดทางพระพุทธศาสนา เช่น จัก
วาลวิทยา การเกิดโลก การเกิดของสิ่งมีชีวิต และบาป-บุญ ซึ่งทาผู้อ่านเกิดความหวาดกลัวในสร้าง
บาป และเร่งขนขวยในการทาบุญเพื่อสร้างกรรมดีอันจะทาให้ชีวิตเกิดความสุขในอนาคตข้างหน้า
อย่างไรก็ตามแนวคิดสาคัญที่เป็นจุดมุ่งหมายของไตรภูมิพระร่วง คือ ชี้ให้เห็นการเวียนว่ายตายเกิดใน
วัฏสงสารนั้นไม่มีความจริงแท้แน่นอนและมิใช่หนทางพ้นทุกข์ที่แท้จริง แต่ทางแห่งความหลุดพ้นที่
แท้จริงและยั่งยืน คือ นิพพาน อันเป็นจุดหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
1
นักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความไม่รู้หรืออวิชาในความไม่เที่ยงแท้ของ 3 ภูมิ ทาให้สัตว์ทั้งหลายยังต้องวนเวียนในภพ ภูมิ
ชาติ ชรา และมรณะ อันเป็นสังสารวัฏที่ผู้ที่ยังติดข้องในกามยังต้องวนเวียนข้องเกี่ยวอยู่ในภูมิทั้ง 3 มิ
สามารถบรรลุสู่ความสุขอันเที่ยงแท้ของพระนิพพานได้ ด้วยความไม่รู้นี้เองทาให้สัตว์ทั้งหลายต้องเวียน
ว่ายตายเกิดหลายภพหลายชาติ เพื่อใช้กรรมที่ตนเองได้กระทาไว้ ดั้งนั้นเพื่อการกาจัดชาติ ชรา และ
มรณะให้สิ้นไปเหล่าปุถุชนทั้งหลายจึงจาเป็นต้องขจัดความไม่รู้ออกจากจิตเพื่อให้เข้าสภาวะอันเป็นผู้รู้
ทั่วและไม่ยึดติดกับสภาวะที่รู้ อันจะนาไปสู่พระนิพพานอันเป็นเป้าหมายแห่งพระพุทธศาสนาอันแท้จริง
การหยั่งรู้ความจริงในไตรโลกย์ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเฉพาะแต่พระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้ทรงด้วยญาณ
ของพระองค์เอง แม้แต่เหล่าพระอรหันตาขีณาสพทั้งหลายยังมิสามารถบรรลุความจริงใน 3 ภูมิ ได้
หมดแม้แต่เพียงรูปเดียว เพราะความรู้นี้เป็น “ปัจจัตตัง” คือ รู้เฉพาะพระองค์เท่านั้น ซึ่งพระพุทธองค์
ทราบอย่างแจ่มแจ้งไร้ข้อกังขาและข้อสงสัยอื่นใด ไตรภูมิพระร่วงที่พระพุทธเจ้าได้ทรงทราบ ซึ่งเป็น
แนวทางแห่งพระนิพพาน
สัพพัญญุตญาณ สิ่งที่ทาให้พระพุทธองค์ทราบโดยพระองค์เองในความเกิดดับทั้ง 3 ภูมิ รู้ทั่ว
ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เพื่อการกาหนดรู้และการทาให้สิ้นกิเลสอาสวะทั้งหลายที่ยังข้องเกี่ยวให้
สิ้นไปและไม่บังเกิดอีกในจิตของพระองค์อันเป็น “จิตแห่งพุทธะ” คือผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ หรือ สัพพัญญ
พุทธเจ้า แปลว่า ผู้ตรัสรู้ธรรมด้วยพระองค์เอง ดังนั้นความรูแจ้งที่พระพุทธองค์ได้แจ้งแก่จิตของ
พระองค์แล้วได้ระบุไว้ในเนื้อหาของไตรภูมิพระร่วงอย่างไร เพื่อเป็นการทาแจ้งซึ่งกิเลศอาสวะแห่ง
ปุถุชนทั้งหลายท่านได้อรรถาธิบายความเป็น “สัพพัญญุตญาณ” ไว้ดังนี้
สัพพัญญุตญาณ ตามความหมายรากศัพท์ในพจนานุกรมได้กล่าว่า สัพพัญญู [สับ] น. ผู้รู้ทุก
สิ่งทุกอย่าง ผู้รู้ทั่ว พระนามพระพุทธเจ้า. (ป.). (ราชบัณฑิตยสถาน : 2542) ส่วนคาว่า ญาณ ญาณ-
[ยาน ยานะ- ยานนะ-] น. ปรีชาหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ที่เกิดจากอานาจสมาธิ ความสามารถหยั่งรู้เป็น
พิเศษ. (ป. ส. ฌาน).[ยาน ยานะ- ยานนะ-] น. ปรีชาหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ที่เกิดจากอานาจสมาธิ
ความสามารถหยั่งรู้เป็นพิเศษ. (ป. ส. ฌาน). ดังนั้น สัพพัญญุตญาณ คือ ปรีชาหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ที่
เกิดจากอานาจสมาธิในทุกสิ่ง
พุทธรักษ์ ปราบนอก (2556) ได้ให้ความหมาย สัพพัญญุตญาณ ว่ามาจากรากคาศัพท์ภาษา
บาลี 3 คา ได้แก่
1. สัพพ หมายถึง ทั้งปวง ทั่วไป ทั้งหมด
2. ญุต หมายถึง รู้แล้ว ทราบแล้ว (รากศัพท์ คือ ญา ธาตุ + ต ปัจจัย กิริยากิตก์
แปลว่า รู้แล้ว แล้ว ซ้อน ญ เข้ามา)
3. ญาณ หมายถึง ความรู้ยิ่ง
ดังนั้น สัพพัญญุตญาณ ตามความหมายตามรากศัพท์จึงหมายถึง ความรู้ในสิ่งทั้งปวงด้วยตนเอง
ในเนื้อความไตรภูมิพระร่วงได้กล่าวถึงความเป็น สัพพัญญุตญาณในอสุรกายภูมิหนึ่งไว้เพียง
หนึ่งวรรค ดังนี้ “ในกาลนั้นพระสัพพัญํูเจ้าผู้เป็นโลกวิทู” (พระญาลิไท, 2554 : 60) ดังนั้นความเป็น
สัพพัญญุตญาณ จึงหมายถึง โลกวิทู ซึ่งโลกวิทู หมายถึง เป็นผู้รู้แจ้งโลก คือทรงรู้แจ้งในสภาวะอันเป็น
คติ (ที่ไปเกิด) ธรรมดาแห่งโลก คือ สังขาร ทั้งหลาย ทรงหยั่งทราบอัธยาศัยสันดานแห่งสัตว์โลกทั้งปวง
ผู้เป็นไปตามอานาจคติธรรมโดยถ่องแท้ เป็นเหตุให้ทรงดาเนินพระองค์เป็นอิสระ พ้นจากอานาจ
ครอบงาแห่งคติอันธรรมดานั้นและทรงเป็นที่พึ่งแห่งสัตว์ทั้งหลาย ผู้ยังจมอยู่ในกระแสโลกนั้น (นิตย์
จารุศร : 2550)
สัพพัญญุญาณ แห่งพระพุทธเจ้านั้นคือความหยั่งรู้ ซึ่งประกอบด้วย 3 ประการ ดังนี้ (นิตย์
จารุศร : 2550)
1 . บุพเพนิวาสานุสสติญาณ ความรู้เป็นเหตุให้ระลึกถึงขันธ์ที่เกิดในอดีตได้ คือ การ
ระลึกชาติของตนได้ไม่จากัดภพชาติ
2. จุตูปปาญาณ ความรู้ในจุติและอุบัติของสัตว์โลกได้ เรียกว่า ทิพพจักขุญาณ หรือ
ทิพยจักษุญาณ ซึ่งสามารถเห็นกรรมหรือหยั่งรู้อนาคตและอดีตของสัตว์เหล่านั้นได้
3. อาสวักขยญาณ ความรู้ในการกาจัดอาสวะให้สิ้นไป คือการรู้ธรรมเป็นเครื่องออก
จากทุกข์ทั้งสิ้น จนสามารถหลุดพ้นจากิเลสทั้งปวงได้ไม่ติข้องในภูมิทั้ง 3
จากความหมายข้างต้น สัพพัญญุตญาณ หมายถึง ปรีชาหยั่งรู้ ข้อปฏิบัติที่จะนาไปสู่ คติ (ที่ไป
เกิด) ทั้งปวง คือ สุคติ ทุคติ หรือพ้นจากคติ รู้ว่าเมื่อปรารถนาจะเข้าถึงคติหรือประโยชน์ใด จะต้องทา
อะไรบ้าง มีรายละเอียดและวิธีการปฏิบัติอย่างไร
สัพพัญญุตญาณในไตรภูมิพระร่วง หมายถึง การหยั่งรู้ด้วยจุตูปปาญาณ คือความรู้ในจุติและ
อุบัติของสัตว์โลกได้ ซึ่งเป็นการบรรยายให้เหล่าปุถุชนทราบว่าการเข้าถึงคติต่างๆ นั้นย่อมเกิดแต่ผล
กรรมของผู้นั้น ซึ่งพระพุทธองค์ทรงทราบด้วยการ เกิด ดารงอยู่ และกับไปของสิ่งเหล่านั้นย่อมวนเวียน
เกิดทุกข์และสุขอยู่เช่นนั้น หากยังมิได้พ้นไปจาก 3 ภูมิ ซึ่งมิได้มีภูมิใดที่จีรังยังยืนเลยแม้แต่ภูมิเดียว ทุก
ภูมิล้วนแต่เกิดดับดังจะได้พรรณนาให้เห็นชัดถึงความเป็นสัพพัญญูของพระพุทธองค์ที่ทรงหยั่งรู้ด้วย
พระญาณ
ในปรีชาญาณของพระพุทธองค์ตามความในไตรภูมิพระร่วง คือทรงหยั่งทราบความเป็นไปของ
ทั้ง 3 ภูมิ อันได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงการเกิดการดารงอยู่ การสูญสลาย และ
เหตุแห่งการเกิดในคตินั้น ว่าเกิดด้วยกิเลส (โลภ โกรธ หลง) กรรม และวิบาก ดังนี้
กามภูมิ คือภพของสัตว์ที่ยังเสพกามคุณอยู่ ซึ่งเป็นที่เกิดแห่งสัตว์ทั้งหลาย มนุษย์ และเทวดา
อันสามารถแบ่งได้เป็น 2 ภูมิ คือ อบายภูมิ 4 หรือบาย 4 (ทุคติภูมิ) และกามสุคติภูมิ 7 ซึ่งสามารถแจก
แจงให้พิสดารได้ดังนี้
1. อบายภูมิ 4 หรื อบาย 4 (ทุคติภูมิ) ภูมิกาเนิดที่ปราศจากความเจริญ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4
ภูมิ ดังนี้ (มะลิวัลย์ บูรณพัฒนา : 2543)
1.1 นรกภูมิ เป็นที่เกิดของสัตว์บาป อันจะไม่มีความสุขความเจริญ อันว่าที่ตั้งของนรก
ภูมินั้นมีเฉพาะอยู่ใต้ชมพูทวีปเท่านั้น เพราะมนุษย์ชอบก่อกรรมทาเข็ญ ซึ่งลักษณะของนรกใหญ่นี้มี 8
ขุม แต่ละขุมมี 4 ทิศ แต่ละทิศมีนรกบ่าวด้านละ 4 ขุม รวมนรกบ่าวทั้งสิ้น 128 ขุม และรวมนรกใหญ่
อีก 8 ขุม รวมทั้งสิ้นนรกภูมิมีทั้งหมด 136 ขุม ซึ่งในไตรภูมิพระร่วงได้พรรณาถึงลักษณะของนรกไว้
ดังนี้
...นรกใหญ่ 8 อันนั้นมีนรกใหญ่อยู่รอบแล 16 อันอยู่ทุกอันแลอยู่ละด้าน 4 อันแล นรกบ่าว 4 ฝูงนั้นยังมี
นรกเล็กน้อยอยู่รอยนั้นมากนักจะนับบมิถ้วนได้เลย ประดุจที่บ้าน ๆ นอกและในเมือง ๆ มนุษย์เรานี้แล
ฯ ฝูงนรกบ่าวนั้นโดยกว่างได้แล 10 โยชน์ทุกอันแล ฝูงนรกบ่าวนั้นอีกนรกหลวงได้ 13 อัน แต่นรกใหญ่
48 อันนั้นหายมบาลอยู่นั้นบมิได้ไส้ ที่ยมบาลอยู่นั้นแต่ฝูงนรกบ่าวและนรกเล็กทั้งหลายฯ หากมียมบาล
อยู่ไส้ แต่ฝูงนรกบ่าวมียมบาลอยู่ดังนั้นแลเรียกชื่อว่าอุสุทธนรกผู้ 4 อันเป็นยมบาลดังนั้น เมื่ออยู่เมืองคน
บาปเขาก็ได้ทาบุญ เขาก็ได้ทา ปางเมื่อตายก็ได้ไปเกิดในนรกนั้น 1และมียมบาลฝูงอื่นมาฆ่าฟ๎นพุ่งแทง
กว่าจะถ้วน 15 วันนั้นแล้วจึงคืนมาเป็นยมบาล 15 วัน เวียนไปเล่าเวียนมาเล่าดังนั้นหึงนานนัก...
(พระญาลิไท : 2554)
สัตว์นรก 8 ขุมใหญ่นั้นจะมีเหตุการณ์เกิดที่แตกต่างกันแล้วแต่บุพกรรม ดังนั้นเการเกิด การ
ดารงอยู่ และการละจากนรกภูมิมีเวลาแตกต่างกัน ตามที่กรรมของตนได้ทาไว้ต่อไปนี้
1. สัญชีพนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์นั้น เป็นคนใจบาป
ย่อมฆ่าสัตว์ตัดชีวิต สัตว์สองเท้าและสี่เท้า ฆ่าด้วยตนเองบ้าง และใช้คนอื่นฆ่าบ้าง เมื่อสิ้นชีวิตแล้ว
อกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรกขุมนี้ ย่อมถูกเพลิงเผา ถูกหั่น ถูกเชือดเฉือนจนได้รับทุกข์
โทษอันแสนสาหัสจนขาดใจตายก็กลับมีชีวิตขึ้นมาเสวยทุกข์โทษต่อไปอีก สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้
500 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับเก้าล้านปีในเมืองมนุษย์
2. กาลสุตตนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์นั้น ประทุษร้าย
บิดา มารดา มิตรทั้งหลาย ผู้มีพระคุณ เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรกขุมนี้
ถูกเลื่อย ถูกฟันตามแนวด้ายดาที่ทาไว้ตามร่างกายของสัตว์นรก สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 1,000
ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับ สามสิบหกล้านปีในเมืองมนุษย์
3. สังฆาฏนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ฆ่าสัตว์ต่าง ๆ
เป็นประจา ทารุณสัตว์ โดยขาดความเมตตากรุณา เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้
บังเกิดในนรกขุมนี้ ย่อมถูกภูเขาเหล็กแดงบดขยี้ตามร่างกาย ให้ได้รับทุกขเวทนาอยู่ตลอดเวลาไม่
ว่างเว้น สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 2,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับ หนึ่งร้อยสี่
สิบห้าล้านปีในเมืองมนุษย์
4. โรรุวนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ย่อมกระทาความ
เดือดร้อนกายและใจแก่สัตว์ทั้งหลาย บางตนพิพากษาความไม่ยุติธรรม บางคนชอบรุกที่บ้านและสวน
ไร่นาของผู้อื่นมาเป็นของตน บางคนเคยคบหาภรรยาของผู้อื่นแล้วก็ฆ่าสามีเขาให้ตายเสียเพื่อเอา
ภรรยาเขามา บางคนเคยเป็นหญิงใจไม่ดี มีสามีแล้วกลับมีชู้ แล้วฆ่าผัวตัวให้ตาย บางคนเคยฉ้อโกง
หรือเบียดบังทรัพย์สมบัติที่เขาอุทิศถวายพระสงฆ์ เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิด
ในนรกขุมนี้
ย่อมถูกเปลวไฟนรกเผาไหม้เข้าไปตามทวารทั้งเก้า ทาให้เจ็บปวดอย่างแสนสาหัสต้องร้องไห้ครวญ
ครางอยู่ตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 4,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้
กับ ห้าร้อยเจ็ดสิบหกล้านปีในเมืองมนุษย์
5. มหาโรรุวนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ทา
โจรกรรม ปล้นขโมยสิ่งของต่าง ๆ ของพระสงฆ์ ของพ่อแม่ ของครูอาจารย์ และของผู้อื่น มีใจโหดร้าย
ตัดศีรษะสัตว์และมนุษย์ด้วยอานาจความโกรธ เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดใน
นรกขุมนี้ ย่อมถูกกลุ่มควันอันแสนแสบพุ่งเข้าตามทวารทั้งเก้า ทาให้เร่าร้อนเจ็บแสบอย่างสาหัส จึง
ต้องส่งเสียงร้องครวญคราง สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 8,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้
เทียบได้กับ สองพันสามร้อยสี่ล้านปีในเมืองมนุษย์
6. ตาปนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ทาการเผาล้าง
ป่า ฆ่าสัตว์ทั้งหลายให้ตายเป็นจานวนมาก เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรก
ขุมนี้ ย่อมได้รับทุกข์โทษหมกไหม้ในกองเพลิงอย่างเร่าร้อนตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้
16,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับ เก้าพันสองร้อยสามสิบหกล้านปีในเมืองมนุษย์
7. มหาตาปนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ย่อม
ประกาศความเห็นผิดของตนว่า กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลไม่มี มีความยึดถือความเห็นว่าขาดสูญ ทา
ให้หมู่สัตว์ทั้งหลายเดือดร้อน เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรกขุมนี้ย่อมถูก
เพลิงอันเร่าร้อนอย่างยิ่งตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุยืนยาวมากนัก จะนับเป็นปีเดือนนรก
นั้นมิได้เลย นับเป็นกัลป์ได้กึ่งกัลป์
8. มหาอเวจีนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ได้ทา ปัญ
จานันตริยกรรม คืออกุศลกรรม 5 อย่าง ได้แก่ มาตุฆาต ปิตุฆาต อรหันตฆาต โลหิตตุปบาท สังฆ
เภท สัตว์นรกอยู่ในระหว่างเปลวไฟอยู่ตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุยืนยาวมากน ไม่
สามารถจะนับเป็นเดือนนรกได้เลย นับเป็นกัลป์ได้หนึ่งกัลป์
นอกจากนี้ความเป็นสัพพัญญูถึงโลกันตนรก อันเป็นนรกที่อยู่นอกจักวาล มีสภาพมืดมนอยู่
ตลอดกาล จะเกิดแสงสว่างขึ้นก็ต่อเมื่อ “ถ้าและว่าต่อเมื่อใดโพธิสัตว์ผู้จะลงมาอุบัติตรัสแก่สัพพัญํุต
ญาณ และเมื่อท่านเสด็จลงไปเอาปฏิสนธิในครรภ์พระมารดานั้นก็ดี แลเมื่อท่านสมภพจาตุโกรธรนั้นก็ดี
แล เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสแก่สัพพัญํุตญาณนั้นก็ดีแล เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสเทศนาพระธรรมจักรนั้นก็ดี
แล เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าสู่นิพพานนั้นก็ดี ในกาล 5 ที่นี้ในโลกันตนรกนั้นจึงได้เห็นหนแท้นักหนา คน
ซึ่งอยู่ในนรกนั้นจึงได้เห็นกัน” สัตว์ที่เกิดในโลกันตนรกนี้มีร่างกายใหญ่โตเล็บเมือเล็บเท้ายาวเกาะอยู่ที่
กาแพงจักรวาล เหตุที่ได้เกิดในโลกัตนรกนั้น เพราะทาทารุณต่อบิดามารดา สมณพราหมณ์ ผู้ทรง
ธรรมและกรรมที่สาหัสอย่าอื่น เช่น ฆ่าสัตว์ทุกวัน เป็นต้น ต้องทนทุกขเวทนาชั่วหนึ่งพุทธันดรกัลป์
นรกภูมิเป็นคติที่มนุษย์ที่ทากรรมที่ผิดศีลธรรม เกิดจากเหตุ 3 อย่าง คือ โลภะ โทสะ และโมหะ
ซึ่งทาให้ไปเกิดในแดนนรก ทั้งนี้ผู้ที่เกิดในนรกไม่ว่าจะทาบาปด้วยเจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี แล้วจะต้อง
ได้รับผลของกรรมย่อมมาสู่เมืองนรกเพื่อรับใช้กรรมที่ตนกระทาไว้ เช่น “สุนักขนรก คนผู้ใดกล่าวคา
ร้ายแก่สมณพราหมณ์ผู้มีศีล และพ่อแม่และผู้เฒ่าผู้แก่ครูบาทยาย คนผู้นั้นตายไปเกิดในนรกอันชื่อว่าสุ
นักขนรกนั้นแล ในสุนักขนรกนั้นมีหมา 4 สิ่ง หมาจาพวก 1 นั้นขาว หมาจาพวก 1 นั้นแดง หมาจาพวก
1 นั้นดา หมาจาพวก 1 นั้นเหลือง แลตัวหมาผู้นั้นใหญ่เท่าช้างสารทุกตัว ฝูงแร้งและกาอันอยู่ในนรกนั้น
ใหญ่เท่าเกวียนทุก ๆ ตัว ปากแร้งและกาและตีนนั้น เทียรย่อมเหล็กแดงลุกเป็นเปลวไฟอยู่บ่อมิได้เหือด
สักคาบ” (พระญาลิไท : 2554) จะเห็นได้ว่านรกนี้มิได้มีความสุขสบายใดเลย มีแต่ความทุกข์อันเกิด
จากกรรม ทั้งทางกาย วาจา และใจ ย่อมเผาไหม้ผู้ที่ยังไม่ลดละกิเลสธรรมทั้งสามอยู่ทุกเมื่อและยังมิทา
ให้สิ้นภพและชาติยังเวียนว่ายตายเกิดอยู่อย่างนั้นนับครั้งไม่ถ้วน
1.2 เปตภูมิ คือผู้หิวกระหายอยูเป็นนิจ เป็นที่อยู่ของสัตว์ที่เรียกว่า “เปรต”
คือผู้ละโลกนี้ไปแล้ว ซึ่งเป็นสัตว์จาพวกหนึ่งที่อยู่ในอบายภูมิ มีความเดือดร้อนเพราะอดอยากหิวโหย
และยังต้องทุกข์ทรมานร่างกายคล้ายสัตว์นรก การเกิดปฏิสนธิทั้ง 4 แบบ ไม่อยู่อาศัยเฉพาะที่อาศัยอยู่
ทั่วไป เรียกว่า “วินิปาติกะ” มีทั้งได้รับความสุขประดุจดังเทวดาบนสวรรค์สลับกับความทุกข์ หรือได้รับ
ความทุกข์ทรมานจนสิ้นอายุขัยของตน ตามแต่กรรมที่สร้างขึ้น ดังที่ได้พรรณนาไว้ดังนี้
...ฝูงเปรตแลฝูงผีเสื้อทั้งลาย เมื่อจะตายเขากลายเป็นมดตะนอยดา ลางคาบเป็นตะเข็บแลแมลงป่อง แมลงเม่า
ลางคาบเป็นตักแตนเป็นนอน ลางคาบเป็นเนื้อแลนกแสกน้อยดังฝูงนกจิบนกจาบนั้น ลางคาบกลายเป็นเนื้อ
เถื่อน ผิแลว่าเขาตายไส้เนื้อเขากลายเป็นดังนั้นทุกเมื่อแลฯ เปรตลางจาพวกยืนได้ 100 ปี ลางจาพวกยืนได้
1000 ปี ลางจาพวกยืนชั่วพุทธันดรกัลปฯ แม้นว่าข้าวเมล็ด 1 ก็ดี น้าหยาด 1 ก็ดี แลจะได้เข้าไปในปากในคอเขา
นั้นหาบมิได้เลยฯ เปรตลางจาพวกตัวเขาใหญ่ปากเขาน้อยเท่ารูเข็มนั้นก็มีฯ เปรตลางจาพวกผอมนักหนาเพื่อ
อาหารจะกินบมิได้ แม้นว่าจะขอดเอาเนื้อน้อย 1 ก็ดี เลือดหยด 1 ก็ดีบมิได้เลย เท่าว่ามีแต่กระดูกแลหนังพอก
กระดูกภายนอกอยู่ไส้ หนังท้องนั้นเหี่ยวติดกระดูกสันหลังแลตานั้นลึกและกลวงดังแสร้งควักเสีย ผมเขานั้นยุ่ง
รุ่ยร่ายลงมาปกปากเขา มาตรว่าผ้าร้ายน้อย 1 ก็ดี แลจะมีปกกายเขานั้นก็หาบมิได้เลยเทียรย่อมเปลือยอยู่ชั่ว
ตน ตัวเขานั้นเหม็นสาบพึงเกลียดนักหนาแล เขานั้นเทียรย่อมเดือดเนื้ออ้อนใจเขาแล เขาร้องไห้ร้องครางอยู่ทุก
เมื่อแล เพราะว่าเขาอยากอาหารนักหนาแล ฝูงเปรตทั้งหลายนั้นเขายิ่งหาแรงบมิได้เขาย่อมนอนหงายอยู่ไส้ เมื่อ
แลฝูงนั้นเขานอนอยู่แลหูเขานั้นได้ยินประดุจเสี ยงคนร้องเรียกเขาว่า สูทั้งหลายเอ๋ยจงมากินข้าวกินน้า แลฝูง
เปรตทั้งหลายนั้นเขาได้ยินเสียงดังนั้นเขาก็ใส่ใจว่าเขามีข้าวมีน้า จึงเขาจะลุกไปหากินไส้ก็ยิ่งหาแรงบมิได้ เขาจะ
ชวนกันลุกขึ้นต่างคนต่างก็ล้มไปล้มมา และบางคนล้มคว่าบางคนล้มหงาย แต่เขาทนทุกข์อยู่ฉันนั้นหลายคาบนัก
แล แต่เขาล้มฟ๎ดกันหกไปหกมาและค่อยลุกไปดังนั้น แลเขาได้ยินดังนั้นแลเขามิใช่ว่าแต่คาบเดียวไส้ ได้ยินอยู่ทั้ง
พันปีนั้นแล ผิแลว่าเขาอยู่เมื่อใดหูเขานั้นเทียรย่อมได้ยินดังนั้นทุกเมื่อ ครั้นว่าเขาลุกขึ้นได้เขาเอามือทั้งสองพาด
เหนือหัวแล้วแล่นชื่นชมดีใจไปสู่ที่เสียงเรียกนั้นเร่งไปเร่งแลหาที่แห่งใดแลจักมีข้าวแลน้าไส้ก็หาบมิได้ เขาจึงร่า
ร้องไห้ด้วยเสียงแรงแล้วเขาเป็นทุกข์นักหนา เขาก็ล้มนอนอยู่เหนือพื้นแผ่นดินนั้นแล เปรตทั้งหลายเมื่อเขาแล่น
ไปดังนั้นไกลนักหนาแล เปรตเหล่านี้ไส้เมื่อเป็นคนอยู่นั้นมักริษยาท่าน เห็นท่านมีดูมิได้ เห็นท่านยากไร้ดูแคลน
เห็นท่านมีทรัพย์สินจะใคร่ได้ทรัพย์สินท่านย่อมริกระทากลที่จะเอาสินท่านนั้นมาเป็นสินตน แล ตระหนี่มิได้ให้
ทาน รั้นว่าเห็นเขาจะให้ทานตนย่อมห้ามปรามมิให้เขาให้ทานได้แล ฉ้อเอาทรัพย์สินสงฆ์มาไว้เป็นประโยชน์แก่
ตน คนจาพวกนี้แลตายไปเกิดเป็นเปรตอยู่ที่ร้ายนักดังนั้นทุกตนแลฯ แลเปรตจาพวก 1 มีตัวดังมหาพรหมแลงาม
ดังทอง แลปากนั้นดังปากหมูแลอดอยากนักหนาหาอันจะกินบมิได้สักสิ่งสักอัน เขานั้นมีตนงามดังทองนั้นเพื่ อ
ดังฤๅสิ้น เมื่อก่อนเขาได้บวชเป็นชีจาศีลบริสุทธิ์ฯ อันว่ามีปากดังปากหมูนั้นเพราะว่าเขาได้ประมาทและ
กล่าวขวัญครูบาอาจารย์แลเจ้ากูสงฆ์ผู้มีศีลฯ... (พระญาลิไท : 2554)
เปรตภูมิเกิดจากผู้ที่สร้างทั้งกรรมดีและกรรมชั่วสลับกันไปทาให้เหล่าเปรตนั้นยังมีกรรมที่หนัก
ต้องชดใช้กรรมทนทุกขเวทนาอยู่เช่นนั้น เปรตบางพวกต้องอดข้าว อดน้า บางพวกกินเศษอาหาร
เสมหะ น้าลาย และของโสโครกอื่น ๆ ซึ่งต่างจากสัตว์นรกที่ได้รับความทุกเพราะถูกทรมาน จะเห็นได้
ว่าเปรตภูมิได้รับความทุกข์จากความหิวโหย อดอยากและมีอายุยายนานบางพวก 100 ปี หรือ 1,000 ปี
หรือ สิ้นกัป จนกว่าจะสิ้นผลกรรมที่ตนได้กระทาไว้
1.3 สูรกายภูมิ หรือ อสุรกายภูมิ คือภพของสัตว์กึ่งเทพที่มีความเป็นอยู่อย่าง
ฝืดเคือง ทุกข์ยากลาบากกาย อสุรกายนั้นมีอยู่ 2 จาพวก คือ กาละกัญชะกาอสูร คืออสูรที่มีตัวผอม
บางดั่งใบไม้แห้ง ไม่มีเลือดเนื้อ มีลักษณะพิกลพิการต่าง ๆ และทิพพอสูร คืออสุรกายที่มีอานาจฤทธิ์
เช่นเดียวกับเทวดามีบ้านเมืองปกครองอยู่ย่างสุขสบายเช่นเทวาดาบนสวรรค์
1.4 ติรัจฉามภูมิ คือภูมิสัตว์ที่มีลาตัวขวางส่วนมากจะได้รับความเดือดร้อนด้วย กาม
สัญญา อาหารสัญญา และมรณสัญญา ซึ่งการเกิดในภพนี้จะไม่สามารถบรรลุธรรมได้ ซึ่งมีรูปร่างทั้ง
ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ อาศัยอยู่บนโลกไม่มีหลักแหล่ง นอกจากนี้ยังมีสัตว์กึ่งเทพ เช่น นาค ครุฑ
และสัตว์อื่น ๆ ในป่าหิมพานต์ เป็นต้น ในติรัจฉานภูมินี้ย่อมมีความทุกข์อันเกิดจากสัญญาทั้ง 3 และ
เวียนว่ายตายเกิดอยู่ในทุคติภูมิอันหาความสุขที่แท้จริงมิได้
2. กามสุคติภูมิ 7
2.1 มนุสสภูมิ คือที่อยู่อาศัยของคนทั้งหลาย บนแผ่นดิน ที่เรียกว่าทวีป 4 ทวีป (ทอง
ทศ สุทธรัตนกุล : 2555) ได้แก่
1) อุตรกุรุทวีป อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้
มีลักษณะใบหน้าเป็นรูป 4 เหลี่ยม รักษาศีล 5 เป็นนิจ มีอายุ ประมาณ 1,000 ปี เมื่อตายแล้วจะไป
เกิดในเทวโลก ลักษณะของคนอุตรกุรุทวีป เป็นหนุ่มสาวอยู่เสมอ อาศัยอยู่ตามโพรงไม้ ไม่ต้องทางาน
ใด ๆ แต่งตัวสวยงาม มีกับข้าวและที่นอนเกิดขึ้นตามใจปรารถนา
2) บุรพวิเทหทวีป (พวกที่เสื่อมจากที่สูง พวกที่ผิดอาญาสวรรค์มาอยู่)อยู่ทาง
ทิศตะวันออกของภูเขาพระสุเมรุ มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้มีใบหน้าตอนบนโค้งตัดลงมาเหมือนบาตร
มีอายุ ประมาณ 700 ปี
3) อมรโคยานทวีป (เดินทางในอากาศ) อยู่ทางทิศตะวันตกของภูเขาพระสุเมรุ
มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้มีใบหน้าวงกลม คล้ายวงพระจันทร์ มีอายุ ประมาณ 500 ปี
4) ชมพูทวีป อยู่ ทางทิศใต้ ของภูเขาพระสุเมรุ คือ มนุษย์โลกนี้เอง อายุขัย
ของมนุษย์ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับการทาบุญหรือทากรรม แต่ทวีปนี้ก็พิเศษกว่า 3 ทวีปคือ เป็นที่เกิดของ
พระพุทธเจ้า พระจักรพรรดิราช และพระอรหันต์
ไตรภูมิพระร่วงกล่าวว่า มนุษย์ส่วนใหญ่จะเกิดเป็นชลามพุชะ (เกิดจากปุ่มเปือกและมีรก
ห่อหุ้ม) แต่ที่เกิดเป็นอุปปาติกะ เช่น นางอัมปาลิคณิกา (อัมพปาลิกา) หญิงโสเภณี ซึ่งต่อมามีบุตรชื่อ
โกณฑัญกุมาร ทั้งนางและบุตรได้ออกบวชในพระพุทธศาสนาต่อมา และบรรลุอรหันต์ทั้งคู่
ในไตรภูมิพระร่วงกล่าวว่าสาเหตุที่สตรีจะตั้งครรภ์ได้นั้นมี 7 ประการ คือ
1. เพราะเสพสังวาสอยู่ร่วมกับบุรุษ
2. เพราะเอาเสื่อผ้า เครื่องนุ่งห่มของชายที่ตนรักมานุ่ง มาห่มชมเชยแทนตัวชาย
3. เพราะได้กินน้าราคะของชายที่ตนรัก
4. เพราะถูกชายลูบคลาเนื้อตัวและท้อง แล้วตนมีใจยินดีรักชายนั้น
5. เพราะตนรักบุรุษแล้วบุรุษนั้นกลายมาเป็นสตรีตนก็ยินดี
6. เพราะได้ยินเสียงบุรุษที่ตนรักใคร่ เจรจาพาทีก็เกิดยินดี
7. เพราะได้ดมกลิ่นบุรุษที่ตนรัก
จะเห็นได้ว่าสาเหตุหลักคือ ข้อที่ 1 ส่วนข้อที่ 2-7 นั้นเป็นมูลเหตุที่จะทาให้เกิดสาเหตุข้อที่
1 ได้ ซึ่งคาสอนของคนโบราณนั้นไม่ได้ล้าสมัย 7 ประการที่กล่าวมานั้นเป็นสิ่งที่สตรีควรระมัดระวังเป็น
อย่างยิ่ง ในภาวะที่ยังไม่มีความพร้อมในการจะมีครอบครัว หรือวุฒิภาวะยังไม่พร้อมพอ เนื่องจาก
ปัญหาอื่น ๆ อาจจะตามมาอีก (วลัยพร ถาอ้าย : 2556)
ส่วนสตรีที่ยังสาวทุกคนจะตั้งครรภ์ได้ และลูกจะอยู่ในท้องน้อย เมื่อลูกจะปฏิสนธินั้นต้อง
เป็นระยะที่หมดประจาเดือน 7 วัน และถ้าตั้งท้องแล้วจะไม่มีประจาเดือนอีก สตรีที่มีสามีแล้วจึงควรมี
ลูก ส่วนสตรีที่ไม่สามารถมีลูกได้เป็นเพราะกรรมของผู้มาเกิดนั้นเป็นเหตุให้เกิดลมในท้องและพัดต้อง
ครรภ์ก็แท้งตาย หรือบางครั้งก็มีตัวพยาธิมากิน
สัตว์ที่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาเมื่อแรกก่อตัวมีลักษณะเป็น กลละ มีขนาดเล็กที่สุดเหลือที่
นึกเห็น (เซลล์) เปรียบได้กับการนาเส้นผมชาวอุตตรกุรุทวีป (ซึ่งเล็กกว่าเส้นผมชาวชมพูทวีปถึงแปด
เท่า) มาชุบน้ามันงาอันงามใสแล้วสลัดเสียเจ็ดครั้ง ถ้าเหลือน้ามันย้อยลงตรงปลายผมเท่าใด ก็ยังถือว่า
ใหญ่กว่า กลละ ถ้าจะเปรียบให้เท่ากันก็ต้องใช้ขนเนื้อทรายที่ชื่อ ชาติอุณนาโลม ซึ่งอยู่ที่เชิงเขาหิม
พานต์ เนื้อทรายชนิดนี้มีขนเส้นเล็กกว่าผมชาวอุตรกุรุทวีป เมื่อเอาขนเนื้อทรายนี้ชุบน้ามันงาอัน
สวยงามแล้วเอามาสลัด 7 ครั้ง น้ามันที่ย้อยลงมาปลายขนทรายจะมีขนาดใหญ่เท่ากลละ
ต่อจากนี้ กลละ ก็เจริญเติบโตขึ้น เพราะมีธาตุทั้ง 4 (ดิน น้า ลม ไฟ) เมื่อครบ 7 วัน จะ
เป็นน้าล้างเนื้อ ต่อมาอีก 7 วันจะข้นเป็นชิ้นเนื้อ ต่อมา 7 วัน แข็งเป็นก้อนดังไข่ไก่แล้วค่อยโตขึ้น อีก 7
วันก็เป็นตุ่มราวหัวหูดขึ้น 5 แห่ง เรียกว่า ปัญจสาขา ( ศีรษะ มือ เท้า) อีก 7 วันเป็นฝ่ามือ นิ้วมือ แล้ว
จึงเป็นขนเป็นเล็บ และอื่นๆครบถ้วน 32 ประการ เป็นตัวเด็กนั่งอยู่กลางท้องแม่ เอาหลังมาต่อหนัง
ท้องแม่ อาหารที่แม่กินเข้าไปก่อนจะอยู่ใต้กุมารนั้น อาหารที่แม่กินเข้าไปทีหลังจะอยู่เหนือกุมารและ
ทับหัวกุมารนั้นอยู่ กุมารจึงได้รับความลาบากยิ่งนักเพราะในท้องแม่เป็นที่ชื้น เหม็นกลิ่นเน่าอันเกิดจาก
อาหารที่แม่กินเข้าไป และกลิ่นพยาธิที่อยู่ในท้องแม่อันได้ 80 ครอก กุมารนั้นนั่งยองๆ กามือทั้งสอง คู้
ตัวต่อหัวเข่าทั้งสอง เอาหัวไว้เหนือเข่าเหมือนกับลิงเมื่อที่นั่งกามือซบเซาเมื่อฝนตก อยู่ในโพรงไม้นั้น
และในท้องของแม่ก็ร้อนดังในหม้อต้ม แม้อาหารที่กินเข้าไปก็ไหม้และย่อยได้ด้วยอานาจแห่งไฟนั้น แต่
ตัวกุมารไม่ไหม้ตายก็เพราะด้วยบุญที่จะเกิดเป็นคนนั่นเอง กุมารเมื่ออยู่ในท้องแม่นั้น ไม่เคยได้หายใจ
เข้าออก มี่เคยได้เหยียดมือ เหยียดเท้าออกเลย ต้องทนทุกข์ทรมานเจ็บเนื้อเจ็บตัวดังคนที่เขาเอาใส่ไว้
ในไหอันคับแคบ ยามแม่เปลี่ยนอิริยาบถแต่ละครั้งไม่ว่าจะยืน เดิน นั่งหรือนอน กุมารนั้นก็จะเจ็บราว
จะตาย เปรียบได้กับลูกงูที่หมองูเอาไปเล่น สายสะดือของกุมารนั้นกลวงดังบัวสายที่ชื่อ อุบล ปลายไป
ติดเกาะที่หลังท้องแม่ ข้าว น้า และอาหารอันใดที่แม่กินและโอชารสก็เป็นน้าชุ่มเข้าไปในสะดือ แล้วเข้า
ไปในท้องกุมารเพื่อเลี้ยงชีวิตให้เติบโตต่อไป
กุมารนั้นต้องทนทุกข์ทรมานอยู่ในท้องนานนักหนา บ้างก็ 7 เดือน บ้าง ก็ 8 เดือน 9 เดือน
10 เดือน หรือครบขวบปี จึงคลอดออกจากท้องแม่ กุมารใดอยู่ในท้องแม่พียง 6 เดือน เมื่อคลอดแล้วก็
อาจจะไม่รอดชีวิต คนที่อยู่ในท้องแม่ 7 เดือน จะเป็นคนอ่อนแอ ไม่ทนแดดทนฝน คนผู้ใดมาจากนรก
มาเกิด เมื่ออยู่ในท้องแม่ แม่จะเดือดร้อนใจ ตระหนก และกระหาย
เมื่อกุมารในครรภ์เป็นสัตว์นรกมาเกิด แม่ก็พลอยร้อนไปด้วยและเมื่อคลอดออกมากุมาร
นั้นร้อน ผู้ที่จากสวรรค์มาเกิด เมื่ออยู่ในท้องอยู่เย็นเป็นสุข มารดาก็อยู่เย็นเป็นสุข เมื่อคลอดออกมา
กุมารนั้นก็เย็นเนื้อเย็นใจ ผู้ใดที่เคยเป็นสัตว์นรกหรือเป็นเปรตมาก่อน เมื่อคลอดออกมาก็ร้องไห้ เพราะ
คิดถึงความลาบากที่ล่วงมาแล้ว ถ้ามาจากสวรรค์ก็หัวเราะก่อนเพราะคิดถึงความสุขแต่หนหลัง
คนเราเมื่อมาเกิดในท้องแม่และเมื่อออกจากท้องแม่ไม่รู้เดียงสา ไม่รู้อะไรจาอะไรไม่ได้
ทั้งหมด ส่วนผู้ที่จะมาเกิดเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตาขีณาสพเจ้า และจะมาเป็นพระอัคร
สาวก จะรู้อะไรทุกอย่างตั้งแต่ถือกาเนิดมาเป็นคน แต่เมื่อออกจากท้องแม่ก็ย่อมหลงลืมไปเช่นคน
ทั้งหลาย ส่วนพระโพธิสัตว์ในชาติสุดท้ายคือชาติที่จะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า จะรู้ทุกอย่างตั้งแต่แรก
มาปฏิสนธิ เมื่ออยู่ในครรภ์และเมื่อออกจากครรภ์ เมื่ออยู่ในครรภ์ก็ไม่ได้นั่งจับเจ่าห่อตัวเหมือนกับคน
ทั้งหลาย แต่จะนั่งแพนงเชิง (นั่งขัดสมาธิ) อย่างนักปราชญ์นั่ง มีรัศมีจากกายตัวเรืองงามดั่งทองทะลุ
พุ่งออกมาภายนอกท้อง พระมารดาและผู้อื่นก็แลเห็น รุ่งเรืองงดงามดังเอาไหมแดงมาร้อยแก้วขาว
ความใสของแก้วทาให้มองเห็นไหมแดงที่อยู่ภายในได้ และเมื่อจะเสด็จออกจากครรภ์มารดาลมอันเป็น
บุญนั้นก็ไม่ได้พัดเอาหัวมาเบื้องต่าให้เท้าขึ้นข้างบนเหมือนฝูงคนทั้งหลาย แต่พระองค์จะเหยียดเท้าออก
ลุกขึ้นยืนและเสด็จออกจากครรภ์มารดา ส่วนพระโพธิสัตว์ในชาติอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ชาติสุดท้ายจะเป็นปกติ
เหมือนคนทั้งหลาย เมื่อใดที่พระโพธิสัตว์ซึ่งจะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าลงมาปฏิสนธิ หรือมาประสูติ
แผ่นดินทั่วโลกธาตุจะหวั่นไหวเป็นเครื่องหมายหรือนิมิตบอกให้รู้ว่า พระโพธิสัตว์มาเกิด เรียกว่า
แผ่นดินไหวทั่วทั้งหมื่นจักรวาล น้าที่ชูแผ่นดินก็ไหว น้ามหาสมุทรก็ฟูมฟอง เขาพระสุเมรุก็หวั่นไหวด้วย
บุญสมภารของพระองค์
ฝูงคนทั้งหลายเมื่อออกจากท้องแม่ จะเกิดเป็นลมกรรมชวาตพัดให้ศีรษะคล้อยต่าลงสู่ที่จะ
ออกอันคับแคบนักหนา ดุจดังฝูงสัตว์นรกอันยมบาลกุมตีนและหย่อนหัวลงในขุมนรกอันลึกได้ร้อยวา
เมื่อคลอดออกมากุมารนั้นก็เจ็บเนื้อนักหนาเปรียบได้กับช้างสารที่เขาเข็นออกทางประตูเล็กและแคบ
หรือมิฉะนั้นก็เปรียบกับสัตว์นรกที่ถูกคังไคยบรรพตบดทับไว้ เมื่อพ้นท้องแม่แล้วลมในท้องกุมารก็พัด
ออกก่อน ลมภายนอกจึงพัดเข้าไปถึงลิ้นกุมารนั้น กุมารจึงรู้จักหายใจเข้าออก ฝูงคนทั้งหลายในโลกแม้
องค์พระโพธิสัตว์เมื่อออกจากท้องแม่แล้ว ด้วยเหตุที่แม่มีใจรักเลือดในอกแม่จึงหลายเป็นน้านมไหล
ออกมาให้ลูกได้ดูดกิน
ลูกที่เกิดมา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. อภิชาตบุตร เฉลียวฉลาด นักปราชญ์ รูปงาม มั่งมี มียศถาบรรดาศักดิ์ มีกาลังยิ่ง
กว่าพ่อแม่
2. อนุชาตบุตร มีความรู้ รูปโฉม และกาลังเท่ากับพ่อแม่
3. อวชาตบุตร ลูกที่ถ่อยกว่าพ่อแม่ทุกประการ
คนทั้งหลายแบ่งเป็น 4 ชนิด คือ
1. คนนรก : ผู้ทาบาป ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต บาปนั้นตามทันถูกตัดตีนมือ และทุกข์โศก
เวทนา
2. คนเปรต : คนที่ไม่เคยทาบุญเลยตั้งแต่ชาติปางก่อน เกิดมาเป็นคนเข็ญใจ เสื้อผ้า
แทบไม่มีพันกาย อดอยากไม่มีกิน รูปโฉมขี้ริ้วขี้เหร่
3. คนเดรัจฉาน : คนที่ไม่รู้บาป บุญ ไม่มีเมตตากรุณา ไม่รู้จักยาเกรงผู้ใหญ่ ไม่รู้จัก
ปฏิบัติพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ ไม่รักพี่รักน้อง กระทาบาปอยู่เสมอ
4. มนุษย์: คนที่รู้จักบาปบุญ รู้กลัว ละอายต่อบาป รักพี่รักน้อง มีเมตตากรุณา ยา
เกรงผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูอาจารย์ รู้จักคุณพระรัตนตรัย
มนุษย์ทั้งหลายแบ่งออกเป็น 2 จาพวก คือ
1. อันธปุถุชน เมื่อตายไปย่อมไปเกิดในจัตุราบาย คือ นรกภูมิ เปรตภูมิ ดิรัจฉานภูมิ
อสุรกายภูมิ ถ้ามาเกิดเป็นมนุษย์ก็ย่อมทุพพลภาพ เป็นคนอัปลักษณ์บัดสี เป็นคนโหดเพราะไม่รู้จัก
การทาบุญ
2. กัลยาณปุถุชน เมื่อตายไปก็ไปเกิดในสวรรค์
ลาดับการกาเนิดของมนุษย์ ในไตรภูมิพระร่วง เริ่มจาก
ปฏิสนธิ = กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน 256 ของเส้นผม)
7 วัน = อัมพุทะ (น้าล้างเนื้อ)
14 วัน = เปสิ (ชิ้นเนื้อ)
21 วัน = ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่)
28 วัน = เบญจสาขาหูด (มีหัว แขน 2 ขา 2) ครบ 1 เดือน
35 วัน = มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ
42 วัน = มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบสมบูรณ์)
50 วัน = ท่อนล่างสมบูรณ์
84 วัน = ท่อนบนสมบูรณ์
184 วัน = เป็นเด็กสมบูรณ์ นั่งกลางท้องแม่ ( 6 เดือน)
การคลอด - ท้อง 6 เดือนคลอด ทารกนั้นไม่รอด (บ่ห่อนได้สักคาบ) ท้อง 7 เดือนคลอด
ทารกนั้นไม่แข็งแรง (บ่มิได้กล้าแข็ง)
จะเห็นได้ว่าการเกิดเป็นมนุษย์นั้นยกหนักหนา โดยเฉพาะการเกิดเป็นมนุษย์ในชมพูทวีป เพราะ
การเกิดเป็นมนุษย์ในชมพูทวีปนั้น สามารถที่จะบรรลุถึงซึ่งพระนิพานอันเป็นการหลุดพ้นจากภูมิทั้ง 3
คือเลือกที่จะทากุศลหรืออกุศลได้ ให้เกิดในภูมิต่าง ๆ กล่าวคือการเกิดเป็นมนุษย์นั้นเป็นการมาสั่งสม
บุญและบาป เพราะมนุษย์ในชมพูทวีปสามารถเข้าใจได้ในสิ่งที่เป็นกุศลและอกุศล ส่วนในทั้ง 3 ทวีปนั้น
จะไม่สามารถเข้าในในเรื่องบาปบุญได้ ได้แต่ใช้ชีวิตให้ดาเนินไปจนกว่าจะสิ้นอายุขัยของตน
2.2 ฉกามาพจรภูมิ คือ ภูมิผู้แห่งความเจริญ แต่ยังติดข้องในกามอยู่ ซึ่งได้บาเพ็ญ
ทาน ศีล และภาวนา มากน้อยต่างกันจึงมาเกิดในนี้หรือที่เรียกว่า “สวรรค์” ซึ่งประกอบไปด้วย 6 ชั้น
ตามวิบากกรรมที่ได้สร้าง(สรเมธี วชิรปราการ : 2550) ดังนี้
1) จาตุมหาราชิกาภูมิ เป็นสวรรค์ชั้นแรกตั้งอยู่เหนือเขายุคนธร อยู่เหนือโลกมนุษย์ขึ้น
ไป 46000 โยชน์ มีพระยาผู้เป็นเจ้าทั้ง 4 รวมเรียกว่า พระยาจตุโลกบาล คือ ท้าวธตรฐราชอยู่ทิศ
ตะวันออก ท้าววิรุฬหกราชอยู่ทิศใต้ ท้าวไพศรพณ์มหาราชอยู่ทิศเหนือ ท้าววิรูปักข์อยู่ทิศตะวันนตก มี
หน้าที่คอยดูแลสอดส่องมนุษย์ที่ประกอบผลบุญ แล้วรายงานต่อพระอินทร์ เพื่อให้ไปเกิดในสรวง
สวรรค์ เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกามีอายุ “เทพยดาทั้งหลายในจาตุมหาราชิกานั้นได้ 500 ปีทิพย์ ผิว่าจะ
นับปีในมนุษย์เรานี้ได้ 9 ล้านปีในมนุษย์เราแลฯ”
2) ดาวดึงสภูมิ อยู่เหนือจาตุมหาราชิกาภูมิขึ้นไปอีก 46000 โยชน์ มีพระอินทร์เป็นเจ้า
แก่พระยาเทพยดาทั้งหลาย ที่รายล้อมออกไปทั้ง 4 ทิศ รวม 32 พระองค์ เทวดาในดาวดึงส์ มีอายุได้
1,000 ปีทิพย์หรือ 36 ล้านปี เหล่าเทพยดามี 3 จาพวก คือ
(1) สมมุติเทวดา คือฝูงท้าวและพระยาในแผ่นดิน ผู้รู้หลักแห่งบุญธรรม และ
กระทาโดยทศพิศราชธรรมทั้ง 10 ประการ
(2) อุปปัติเทวดา คือเหล่าเทพยดาในพรหมโลก
(3) วิสุทธิเทวดา คือพระพุทธปัจเจกโพธิเจ้า และพระอรหันตสาวกเจ้า ผู้เสด็จ
เข้าสู่นิพพาน
3) ยามาภูมิ อยู่สูงกว่าชั้นดาวดึงส์ขึ้นไปอีก 84000 โยชน์ อยู่เหนือพระอาทิตย์และ
พระจันทร์ แสงสว่างในภูมินี้ เกิดจากรัศมีของเหล่าเทวดาในชั้นนี้เอง อายุเทวดาชั้นนี้ยืนได้ 2,000 ปี
ทิพย์ แลได้ 142,000,000 ปีมนุษย์
4) ดุสิตาภูมิ สูงกว่ายามาสวรรค์อีก 168000 โยชน์ เป็นที่สถิตย์ของพระโพธิสัตว์ และ
พระศรีอาริย์ มีอายุได้ 4,000 ปีทิพย์ หรือได้ 567,000,000 ปีมนุษย์
5) นิมมานนรดีภูมิ สูงขึ้นไปอีก 336000 โยชน์ เหล่าเทวดาชั้นนี้ต้องการสิ่งใดเนรมิตร
เอาเองได้ดังใจตน ฝูงเทวดาอันอยู่ในชั้นฟ้านั้นอายุยืนได้ 8,000 ปีทิพย์ ผิจะคณนาปีในมนุษย์โลกย์ได้
2,304,000,000 ปีแลฯ
6) ปรนิมมิตวสวัตดีภูมิ สวรรค์ชั้นที่สุดของฉกามาพจรภูมิ สูงสุดในระดับกามาภูมิ อยู่
ถัดไแอีก 672000 โยชน์ เหล่าเทวดาในสวรรค์ชั้นนี้ อยากได้อะไรก็เนรมิตเอาเอง มีพระยาผู้เป็นเจ้าแห่ง
เทพยดาทั้งหลาย 2 องค์ มีอายุตั้งแต่ 500-16000 ปีทิพย์ (500 ปีทิพย์ เท่ากับ 9 ล้านปีมนุษย์)
การสิ้นอายุขัยของเทวดาเกิดจากเหตุ 4 ประการ คือ
1. สิ้นอายุจากชั้นฟ้าของตน ซึ่งอาจไปเกิดในชั้นฟ้าอื่น เรียกว่า “อายุขัย”
2. หมด บุญ เรียกว่า “บุญขัย”
3. ลืมกินอาหารเทวดาทั้งหลายนั้นก็สิ้นชีวิต เรียกว่า “อาหารขัย”
4. เกิดความริษยา โกรธ อันจนเป็นไฟไหม้ตนเองสิ้นชีวิต เรียกว่า “โกธาพลขัย”
เมื่อเหล่าเทวดาจะลงมา จุติ (ตาย) ย่อมเกิดให้เห็นนิมิต 5 ประการ คือ
1. ดอกไม้อันมีในวิมานตนนั้นเหี่ยวและไม่หอม
2. ผ้าอันทรงอยู่นั้นไส้ดูหม่นดูหมองไป
3 นิมิตอนึ่งคือว่าอยู่สุขแล้วอุบัติหาสุขบมิได้ และมีเหงื่อไหลแลไคลออกกแต่รักแร้ตน
4. อาสน์ของตนนั่งและนอนนั้นร้อนและแข็งกระด้าง
5. ร่าง กายของเทวดาเศร้าหมองไม่มีสว่างดังเดิม
เมืองสวรรค์เป็นเมืองที่เต็มไปด้วยความสุขสนุกสนาน แต่ก็ไม่จีรังยังยืน แม้ว่าการเกิดใน
ฉกามาพจรภูมิเสวยความสุขอันยาวนาน มีวิมานเสวยแต่ของที่มีรสอร่อย รูปร่างและผิวพรรณละเอียด
ประณีตเพียงใด ย่อมสูญสลายไปตามการเวลาที่บุญของตนเองได้สั่งสมมา ดังนั้นความรู้แจ้งให้เห็นว่า
แม้สวรรค์จะมีความสุขมากแค่ไหน แต่อาจก็ต้องไปเวียนว่ายตายเกิดในภูมิต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดความ
ทรมาน เกิดทุกขเวทนาต่อตนเองได้เสมอ
รูปภูมิ หรือ รูปพรหม คือภูมิระดับกลาง เป็นรูปพรหม มี 16 ชั้น แบ่งออกเป็น ปฐมฌานภูมิ 3
ทุติยฌานภูมิ 3 ตติยฌานภูมิ 3 และ จตุตฌานภูมิ 7 อยู่เหนือสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ ขึ้นไปนับ
ประมาณไม่ได้ (นิตย์ จารุศร : 2550)
ผู้ที่ได้มาเกิดในพรหมโลกนี้ต้องจาเจริญสมาธิภาวนา เจริญกรรมฐาน เพื่อกาจัดปัญจนิวรณ์
คือ กามฉันทะ (ความพอใจในกาม) พยาบาท (ความคิดร้ายเคืองแค้นในใจ) ถีนมิทธะ (ความหดหู่เซื่อง
ซึม) อุทรธัจจกุกกุจจะ (ความกระวนกระวายใจ) และวิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) จะได้เกิดเป็นพรหม
ชั้นนปฐมฌานถูมิ ถ้าเจริญภาวนาฌานให้ได้นิ่งสงบนานขึ้น เมื่อสิ้นอายุจะไปเกิดใน ทุติยฌานภูมิ ตติย
ฌานภูมิ และ จตุตถฌานภูมิ ตามลาดับ
พรหมในรูปภูมินี้มีแต่ผู้ชายไม่มีผู้หญิง มีตา หู จมูก มีตัวตน แต่ไม่รู้กลิ่นหอมหรือเหม็น ไม่รู้รส
ไม่รู้เจ็บ ไม่ยินดีในกาม ไม่รู้หิว ไม่ต้องการข้าว - น้า เนื้อตัวเกลี้ยงเกลา ส่องสว่างกว่าพระอาทิตย์
พระจันทร์พันเท่า ผู้ใดได้จตุตถฌานภูมิเต็มที่ เมื่อสิ้นอายุ จะได้เกิดแต่ใน ปัญจสุทธาวาส ภูมิ 5 ชั้น
สุดท้ายของรูปภูมิ จะไม่มาเกิดเป็นมนุษย์อีก จนกว่าจะเข้าสู่นิพพาน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้จตุตถฌานภูมิ
เต็มที่ เมื่อสิ้นอายุ ใจนั้นก็จะคืนสู่ปกติดั่งคนทั้งหลาย แล้วไปเกิดตามบุญตามกรรมต่อไป
สามชั้นแรก รวมเรียกว่า ปฐมฌานภูมิ ด้วยพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยปฐมฌาน ทั้งสามชั้นนี้
ความจริงตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่เป็น 3 เขต คือตั้งแต่ชั้นที่ 1 - ชั้นที่ 3
ชั้นที่ 4 - ชั้นที่ 6 รวมเรียกว่า ทุติยฌานภูมิ ด้วยเหล่าพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยทุติยฌาน ทั้ง
สามชั้นนี้ ความจริงตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่เป็น 3 เขต
ชั้นที่ 7 - ชั้นที่ 9 รวมเรียกว่า ตติยฌานภูมิ ด้วยเหล่าพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยตติยฌาน ทั้ง
สามชั้นนี้ ความจริงตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่เป็น 3 เขต
ตั้งแต่ชั้นที่ 10 ขึ้นไป รวมเรียกว่า จตุตถฌานภูมิ ด้วยเหล่าพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยจตุตถ
ฌาน ชั้นที่ 10-11 ตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่กันอยู่ และมีระยะห่างไกลกันมาก
หากแต่เฉพาะเหล่าพระพรหมในชั้นที่ 12 – 16 เรียกว่า ปัญจสุทธาวาส หรือ สุทธาวาสภูมิ อันเป็นชั้นที่
เหล่าพระพรหมในชั้นนี้ ต้องเป็นพระพรหมอริยบุคคลในพุทธศาสนา ระดับอนาคามีอริยบุคคล เท่านั้น
ต่างจาก 11 ชั้นแรก แม้พระพรหมทั้งหลายจะได้สาเร็จฌานวิเศษเพียงใด ก็อุบัติในสุทธาวาสภูมิไม่ได้
อย่างเด็ดขาด สุทธาวาสภูมินี้มีอยู่ 5 ชั้น ตั้งอยู่ท่ามกลางอากาศ และตั้งอยู่เป็นชั้นๆ ขึ้นไป ตามลาดับ
(นิตย์ จารุศร : 2550)
ชั้นที่ 1 พรหมปาริสัชชาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้เป็นบริวารแห่งท้าวมหาพรหม
ตั้งอยู่เบื้องบนสูงกว่าปรนิมมิตวสวัตตีสวรรค์ขึ้นไปถึงห้าล้านห้าแสน แปดพันโยชน์ คือไกลจาก
มนุษยโลกจนไม่สามารถนับได้ ซึ่งหากเอาก้อนศิลาขนาดเท่าปราสาทเหล็ก (โลหปราสาท) ทิ้งลงมาจาก
ชั้นนี้ ยังใช้เวลาถึง 4 เดือนจึงจะตกถึงแผ่นดิน พระพรหมในที่นี้มีคุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐาน
จนได้บรรลุ ปฐมฌาน อย่างสามัญมาแล้วทั้งสิ้น เสวยปณีตสุขอยู่ มีความเป็นอยู่อย่างแสนจะสุข
นักหนา ตราบจนหมด พรหมายุขัย มีอายุแห่งพรหมประมาณส่วนที่ 3 แห่งมหากัป
ชั้นที่ 2 พรหมปุโรหิตาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้เป็นปุโรหิต (อาจารย์ใหญ่) ของ
ท้าวมหาพรหม เป็นที่อยู่ของพระพรหมผู้ทรงฐานะประเสริฐ คือเป็นปุโรหิตของท่านมหาพรหม ความ
เป็นอยู่ทุกอย่างล้าเลิศวิเศษกว่าพรหมโลกชั้นแรก รัศมีก็รุ่งเรืองกว่า รูปทรงร่างกายใหญ่กว่า สวยงาม
กว่า พรหมทุกท่านล้วนมีคุณวิเศษ ได้เคยเจริญสมถกรรมฐานจนได้ บรรลุ ปฐมฌาน ขั้นมัชฌิมะ คือขั้น
ปานกลาง มาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณครึ่งมหากัป
ชั้นที่ 3 มหาพรหมาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้ยิ่งใหญ่ ที่อยู่แห่งท่านพระพรหม ผู้
ยิ่งใหญ่ทั้งหลาย มีความเป็นอยู่และรูปกายประเสริฐยิ่งขึ้นไปอีก ได้เคยเจริญสมถกรรมฐานจนได้บรรลุ
ปฐมฌานขั้น ปณีตะคือขั้นสูงสุดมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 1 มหากัป
ชั้นที่ 4 ปริตรตาภาภูมิ เป็นสถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีน้อยกว่าชั้นพรหมที่สูงกว่าตน ที่
อยู่ของพระพรหม ทั้งหลายผู้มีรัศมีน้อยกว่าพระพรหมที่มีศักดิ์สูงกว่าตน ได้เจริญภาวนากรรมบาเพ็ญ
สมถกรรมฐาน จนได้บรรลุ ทุติยฌาน ขั้นปริตตะ คือ ขั้นสามัญมาแล้ว มีอายุแห่งพรหมประมาณ 2
มหากัป
ชั้นที่ 5 อัปปมาณาภาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีรุ่งเรืองหาประมาณมิได้ ที่
อยู่ของพระพรหม ผู้มีรัศมีรุ่งเรืองมากมายหาประมาณมิได้ เคยเจริญภาวนาการบาเพ็ญสมถกรรมฐาน
จนได้บรรลุ ทุติยฌาน ขั้นมัชฌิมะ คือขั้นปานกลางมาแล้ว มีอายุแห่งพรหมประมาณ 4 มหากัป
ชั้นที่ 6 อาภัสราภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีเป็นประกายรุ่งเรือง พรหม เคย
เจริญภาวนากรรมบาเพ็ญ สมถกรรมฐานจนได้บรรลุ ทุติยฌาน ขั้นปณีตะ คือ ประณีตสูงสุดมาแล้ว มี
อายุแห่งพรหมประมาณ 8 มหากัป
ชั้นที่ 7 ปริตตสุภาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีสง่างามน้อยกว่าชั้นพรหมที่สูง
กว่าตน ที่อยู่ของพระพรหมผู้มีความสง่าสวยงามแห่งรัศมีเป็นส่วนน้อย คือน้อยกว่าพระพรหมในพรหม
โลกที่สูงกว่าตนนั่นเอง ได้เคยเจริญภาวนากรรม บาเพ็ญสมถกรรมฐานจนได้บรรลุตติยฌาน ขั้น
ปริตตะ คือขั้นสามัญมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 16 มหากัป
ชั้นที่ 8 อัปปมาณสุภาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้รัศมีสง่างามหาประมาณมิได้ ที่
อยู่ของพระพรหม ทั้งหลาย ผู้มีความสง่าสวยงามแห่งรัศมีมากมายไม่มี ประมาณ สง่าสวยงามแห่ง
รัศมีซึ่งซ่านออกจากกายตัว มากมายสุดประมาณได้เคยเจริญภาวนากรรมบาเพ็ญสมถกรรมฐาน จน
ได้บรรลุ ตติยฌาน ขั้นมัชฌิมะ คือขั้นปานกลางมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 32 มหากัป
ชั้นที่ 9 สุภกิณหาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีสง่างามสุกปลั่งทั่วสรรพางค์
กาย ที่อยู่ของพระพรหม ผู้มีความสง่าสวยงามแห่งรัศมี ที่ออกสลับ ปะปนกันอยู่เสมอเป็นนิตย์ ทรง
รัศมีนานาพรรณ เป็นที่น่าเพ่งพิศทัศนาได้เคยเจริญภาวนากรรมบาเพ็ญสมถกรรมฐาน จนได้บรรลุ
ตติยฌาน ขั้นปณีตะ คือขั้นประณีตสูงสุดมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 64 มหากัป
ชั้นที่ 10 เวหัปผลาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้ได้รับผลแห่งฌานอันไพบูลย์เป็นที่อยู่
ของพระพรหมทั้งหลาย ผู้ได้รับผลแห่งฌานกุศลอย่างไพบูลย์ มีอายุแห่งพรหมประมาณ 500 มหากัป
อนึ่งผลแห่งฌานกุศล ที่ส่งให้ไปอุบัติเกิดในพรหมโลก 9 ชั้นแรกนั้น ไม่เรียกว่า มีผลไพบูลย์เต็มที่ ทั้งนี้ก็
โดยมี เหตุผลตามสภาวธรรมที่เป็นจริง ดังต่อไปนี้
เมื่อคราวโลกถูกทาลายด้วยไฟนั้น พรหมภูมิ 4 ชั้นแรก ก็ถูกทาลายไปด้วย
มื่อคราวโลกถูกทาลายด้วยน้านั้น พรหมภูมิ 6 ชั้นแรก ก็ถูกทาลายไปด้วย
มื่อคราวโลกถูกทาลายด้วยลมนั้น พรหมภูมิทั้ง 9 ชั้นแรก ก็ถูกทาลายไปไม่มีเหลือเลย
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง

More Related Content

What's hot

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาTupPee Zhouyongfang
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีKiat Chaloemkiat
 

What's hot (20)

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญา
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 

Similar to สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง

๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดHappy Sara
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdfmaruay songtanin
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาPunya Benja
 

Similar to สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง (20)

๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
F7
F7F7
F7
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 

More from Chinnakorn Pawannay

สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทยสรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทยChinnakorn Pawannay
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1Chinnakorn Pawannay
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)Chinnakorn Pawannay
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาลวิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาลChinnakorn Pawannay
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองChinnakorn Pawannay
 

More from Chinnakorn Pawannay (9)

สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทยสรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
 
Social media with Thailand
Social media with ThailandSocial media with Thailand
Social media with Thailand
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาลวิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
 

สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง

  • 1. สัพพัญญุตญาณ : พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง ชินกร ปะวันเนย์1 Chinnakorn Pawannay บทคัดย่อ บทความวิชาการนี้มุ่งเน้นการเปรียบเทียบเทียบพื้นที่ความหมายของคาว่าสัพพัญญุตญาณใน ระบบความหมายของทางพระพุทธศาสนาและความหมายของสัพพัญญุตญาณในวรรณกรรมเรื่องไตร ภูมิพระร่วงว่าเตกต่างกันอย่างไร ผลการศึกษาพบว่าการตีความหมายของสัพพัญญุตญาณในไตรภูมิ พระร่วงมีความหมายแคบกว่าการให้ความหมายทางพระพุทธศาสนา กล่าวคือในวรรณกรรมเรื่องไตร ภูมิพระร่วงสามารถตีความหมายของสัพพัญญุตญาณได้สองประเด็น คือ จุตูปปาญาณ ความรู้ในจุติ และอุบัติของสัตว์โลกได้ ซึ่งสามารถเห็นกรรมหรือหยั่งรู้อนาคตและอดีตของสัตว์เหล่านั้นได้ และอาส- วักขยญาณ ความรู้ในการกาจัดอาสวะให้สิ้นไป คือการรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์ทั้งสิ้น จน สามารถหลุดพ้นจากิเลสทั้งปวงได้ไม่ติข้องในภูมิทั้ง 3 อันได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งความ เป็นสัพพัญญูตามแนวคิดของพุทธศาสนาต้องประกอบด้วย 3 ประการ คือบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ความรู้เป็นเหตุให้ระลึกถึงขันธ์ที่เกิดในอดีตได้ คือ การระลึกชาติของตนได้ไม่จากัดภพชาติ จุตูปปา ญาณ และอาสวักขยญาณ ซึ่งเป็นความหมายของสัพพัญญุตญาณตามพระไตรปิฎก แต่ในวรรณกรรม ไตรภูมิพระร่วงทาให้เห็นว่าสัพพัญญุตญาณนั้นมีความหมายแคบลง คาสาคัญ : สัพพัญญุตญาณ ญาณ ภูมิ บทนา หนังสือไตรภูมิพระร่วง หรือ ไตรภูมิเตมิกถา เป็นหนังสือวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่ เก่าแก่เล่มหนึ่งของไทยมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ซึ่งใช้ในการเผยแพร่แนวคิดทางพระพุทธศาสนา เช่น จัก วาลวิทยา การเกิดโลก การเกิดของสิ่งมีชีวิต และบาป-บุญ ซึ่งทาผู้อ่านเกิดความหวาดกลัวในสร้าง บาป และเร่งขนขวยในการทาบุญเพื่อสร้างกรรมดีอันจะทาให้ชีวิตเกิดความสุขในอนาคตข้างหน้า อย่างไรก็ตามแนวคิดสาคัญที่เป็นจุดมุ่งหมายของไตรภูมิพระร่วง คือ ชี้ให้เห็นการเวียนว่ายตายเกิดใน วัฏสงสารนั้นไม่มีความจริงแท้แน่นอนและมิใช่หนทางพ้นทุกข์ที่แท้จริง แต่ทางแห่งความหลุดพ้นที่ แท้จริงและยั่งยืน คือ นิพพาน อันเป็นจุดหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา 1 นักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. ความไม่รู้หรืออวิชาในความไม่เที่ยงแท้ของ 3 ภูมิ ทาให้สัตว์ทั้งหลายยังต้องวนเวียนในภพ ภูมิ ชาติ ชรา และมรณะ อันเป็นสังสารวัฏที่ผู้ที่ยังติดข้องในกามยังต้องวนเวียนข้องเกี่ยวอยู่ในภูมิทั้ง 3 มิ สามารถบรรลุสู่ความสุขอันเที่ยงแท้ของพระนิพพานได้ ด้วยความไม่รู้นี้เองทาให้สัตว์ทั้งหลายต้องเวียน ว่ายตายเกิดหลายภพหลายชาติ เพื่อใช้กรรมที่ตนเองได้กระทาไว้ ดั้งนั้นเพื่อการกาจัดชาติ ชรา และ มรณะให้สิ้นไปเหล่าปุถุชนทั้งหลายจึงจาเป็นต้องขจัดความไม่รู้ออกจากจิตเพื่อให้เข้าสภาวะอันเป็นผู้รู้ ทั่วและไม่ยึดติดกับสภาวะที่รู้ อันจะนาไปสู่พระนิพพานอันเป็นเป้าหมายแห่งพระพุทธศาสนาอันแท้จริง การหยั่งรู้ความจริงในไตรโลกย์ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเฉพาะแต่พระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้ทรงด้วยญาณ ของพระองค์เอง แม้แต่เหล่าพระอรหันตาขีณาสพทั้งหลายยังมิสามารถบรรลุความจริงใน 3 ภูมิ ได้ หมดแม้แต่เพียงรูปเดียว เพราะความรู้นี้เป็น “ปัจจัตตัง” คือ รู้เฉพาะพระองค์เท่านั้น ซึ่งพระพุทธองค์ ทราบอย่างแจ่มแจ้งไร้ข้อกังขาและข้อสงสัยอื่นใด ไตรภูมิพระร่วงที่พระพุทธเจ้าได้ทรงทราบ ซึ่งเป็น แนวทางแห่งพระนิพพาน สัพพัญญุตญาณ สิ่งที่ทาให้พระพุทธองค์ทราบโดยพระองค์เองในความเกิดดับทั้ง 3 ภูมิ รู้ทั่ว ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เพื่อการกาหนดรู้และการทาให้สิ้นกิเลสอาสวะทั้งหลายที่ยังข้องเกี่ยวให้ สิ้นไปและไม่บังเกิดอีกในจิตของพระองค์อันเป็น “จิตแห่งพุทธะ” คือผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ หรือ สัพพัญญ พุทธเจ้า แปลว่า ผู้ตรัสรู้ธรรมด้วยพระองค์เอง ดังนั้นความรูแจ้งที่พระพุทธองค์ได้แจ้งแก่จิตของ พระองค์แล้วได้ระบุไว้ในเนื้อหาของไตรภูมิพระร่วงอย่างไร เพื่อเป็นการทาแจ้งซึ่งกิเลศอาสวะแห่ง ปุถุชนทั้งหลายท่านได้อรรถาธิบายความเป็น “สัพพัญญุตญาณ” ไว้ดังนี้ สัพพัญญุตญาณ ตามความหมายรากศัพท์ในพจนานุกรมได้กล่าว่า สัพพัญญู [สับ] น. ผู้รู้ทุก สิ่งทุกอย่าง ผู้รู้ทั่ว พระนามพระพุทธเจ้า. (ป.). (ราชบัณฑิตยสถาน : 2542) ส่วนคาว่า ญาณ ญาณ- [ยาน ยานะ- ยานนะ-] น. ปรีชาหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ที่เกิดจากอานาจสมาธิ ความสามารถหยั่งรู้เป็น พิเศษ. (ป. ส. ฌาน).[ยาน ยานะ- ยานนะ-] น. ปรีชาหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ที่เกิดจากอานาจสมาธิ ความสามารถหยั่งรู้เป็นพิเศษ. (ป. ส. ฌาน). ดังนั้น สัพพัญญุตญาณ คือ ปรีชาหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ที่ เกิดจากอานาจสมาธิในทุกสิ่ง พุทธรักษ์ ปราบนอก (2556) ได้ให้ความหมาย สัพพัญญุตญาณ ว่ามาจากรากคาศัพท์ภาษา บาลี 3 คา ได้แก่ 1. สัพพ หมายถึง ทั้งปวง ทั่วไป ทั้งหมด 2. ญุต หมายถึง รู้แล้ว ทราบแล้ว (รากศัพท์ คือ ญา ธาตุ + ต ปัจจัย กิริยากิตก์ แปลว่า รู้แล้ว แล้ว ซ้อน ญ เข้ามา) 3. ญาณ หมายถึง ความรู้ยิ่ง ดังนั้น สัพพัญญุตญาณ ตามความหมายตามรากศัพท์จึงหมายถึง ความรู้ในสิ่งทั้งปวงด้วยตนเอง ในเนื้อความไตรภูมิพระร่วงได้กล่าวถึงความเป็น สัพพัญญุตญาณในอสุรกายภูมิหนึ่งไว้เพียง หนึ่งวรรค ดังนี้ “ในกาลนั้นพระสัพพัญํูเจ้าผู้เป็นโลกวิทู” (พระญาลิไท, 2554 : 60) ดังนั้นความเป็น
  • 3. สัพพัญญุตญาณ จึงหมายถึง โลกวิทู ซึ่งโลกวิทู หมายถึง เป็นผู้รู้แจ้งโลก คือทรงรู้แจ้งในสภาวะอันเป็น คติ (ที่ไปเกิด) ธรรมดาแห่งโลก คือ สังขาร ทั้งหลาย ทรงหยั่งทราบอัธยาศัยสันดานแห่งสัตว์โลกทั้งปวง ผู้เป็นไปตามอานาจคติธรรมโดยถ่องแท้ เป็นเหตุให้ทรงดาเนินพระองค์เป็นอิสระ พ้นจากอานาจ ครอบงาแห่งคติอันธรรมดานั้นและทรงเป็นที่พึ่งแห่งสัตว์ทั้งหลาย ผู้ยังจมอยู่ในกระแสโลกนั้น (นิตย์ จารุศร : 2550) สัพพัญญุญาณ แห่งพระพุทธเจ้านั้นคือความหยั่งรู้ ซึ่งประกอบด้วย 3 ประการ ดังนี้ (นิตย์ จารุศร : 2550) 1 . บุพเพนิวาสานุสสติญาณ ความรู้เป็นเหตุให้ระลึกถึงขันธ์ที่เกิดในอดีตได้ คือ การ ระลึกชาติของตนได้ไม่จากัดภพชาติ 2. จุตูปปาญาณ ความรู้ในจุติและอุบัติของสัตว์โลกได้ เรียกว่า ทิพพจักขุญาณ หรือ ทิพยจักษุญาณ ซึ่งสามารถเห็นกรรมหรือหยั่งรู้อนาคตและอดีตของสัตว์เหล่านั้นได้ 3. อาสวักขยญาณ ความรู้ในการกาจัดอาสวะให้สิ้นไป คือการรู้ธรรมเป็นเครื่องออก จากทุกข์ทั้งสิ้น จนสามารถหลุดพ้นจากิเลสทั้งปวงได้ไม่ติข้องในภูมิทั้ง 3 จากความหมายข้างต้น สัพพัญญุตญาณ หมายถึง ปรีชาหยั่งรู้ ข้อปฏิบัติที่จะนาไปสู่ คติ (ที่ไป เกิด) ทั้งปวง คือ สุคติ ทุคติ หรือพ้นจากคติ รู้ว่าเมื่อปรารถนาจะเข้าถึงคติหรือประโยชน์ใด จะต้องทา อะไรบ้าง มีรายละเอียดและวิธีการปฏิบัติอย่างไร สัพพัญญุตญาณในไตรภูมิพระร่วง หมายถึง การหยั่งรู้ด้วยจุตูปปาญาณ คือความรู้ในจุติและ อุบัติของสัตว์โลกได้ ซึ่งเป็นการบรรยายให้เหล่าปุถุชนทราบว่าการเข้าถึงคติต่างๆ นั้นย่อมเกิดแต่ผล กรรมของผู้นั้น ซึ่งพระพุทธองค์ทรงทราบด้วยการ เกิด ดารงอยู่ และกับไปของสิ่งเหล่านั้นย่อมวนเวียน เกิดทุกข์และสุขอยู่เช่นนั้น หากยังมิได้พ้นไปจาก 3 ภูมิ ซึ่งมิได้มีภูมิใดที่จีรังยังยืนเลยแม้แต่ภูมิเดียว ทุก ภูมิล้วนแต่เกิดดับดังจะได้พรรณนาให้เห็นชัดถึงความเป็นสัพพัญญูของพระพุทธองค์ที่ทรงหยั่งรู้ด้วย พระญาณ ในปรีชาญาณของพระพุทธองค์ตามความในไตรภูมิพระร่วง คือทรงหยั่งทราบความเป็นไปของ ทั้ง 3 ภูมิ อันได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงการเกิดการดารงอยู่ การสูญสลาย และ เหตุแห่งการเกิดในคตินั้น ว่าเกิดด้วยกิเลส (โลภ โกรธ หลง) กรรม และวิบาก ดังนี้ กามภูมิ คือภพของสัตว์ที่ยังเสพกามคุณอยู่ ซึ่งเป็นที่เกิดแห่งสัตว์ทั้งหลาย มนุษย์ และเทวดา อันสามารถแบ่งได้เป็น 2 ภูมิ คือ อบายภูมิ 4 หรือบาย 4 (ทุคติภูมิ) และกามสุคติภูมิ 7 ซึ่งสามารถแจก แจงให้พิสดารได้ดังนี้ 1. อบายภูมิ 4 หรื อบาย 4 (ทุคติภูมิ) ภูมิกาเนิดที่ปราศจากความเจริญ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ภูมิ ดังนี้ (มะลิวัลย์ บูรณพัฒนา : 2543) 1.1 นรกภูมิ เป็นที่เกิดของสัตว์บาป อันจะไม่มีความสุขความเจริญ อันว่าที่ตั้งของนรก ภูมินั้นมีเฉพาะอยู่ใต้ชมพูทวีปเท่านั้น เพราะมนุษย์ชอบก่อกรรมทาเข็ญ ซึ่งลักษณะของนรกใหญ่นี้มี 8
  • 4. ขุม แต่ละขุมมี 4 ทิศ แต่ละทิศมีนรกบ่าวด้านละ 4 ขุม รวมนรกบ่าวทั้งสิ้น 128 ขุม และรวมนรกใหญ่ อีก 8 ขุม รวมทั้งสิ้นนรกภูมิมีทั้งหมด 136 ขุม ซึ่งในไตรภูมิพระร่วงได้พรรณาถึงลักษณะของนรกไว้ ดังนี้ ...นรกใหญ่ 8 อันนั้นมีนรกใหญ่อยู่รอบแล 16 อันอยู่ทุกอันแลอยู่ละด้าน 4 อันแล นรกบ่าว 4 ฝูงนั้นยังมี นรกเล็กน้อยอยู่รอยนั้นมากนักจะนับบมิถ้วนได้เลย ประดุจที่บ้าน ๆ นอกและในเมือง ๆ มนุษย์เรานี้แล ฯ ฝูงนรกบ่าวนั้นโดยกว่างได้แล 10 โยชน์ทุกอันแล ฝูงนรกบ่าวนั้นอีกนรกหลวงได้ 13 อัน แต่นรกใหญ่ 48 อันนั้นหายมบาลอยู่นั้นบมิได้ไส้ ที่ยมบาลอยู่นั้นแต่ฝูงนรกบ่าวและนรกเล็กทั้งหลายฯ หากมียมบาล อยู่ไส้ แต่ฝูงนรกบ่าวมียมบาลอยู่ดังนั้นแลเรียกชื่อว่าอุสุทธนรกผู้ 4 อันเป็นยมบาลดังนั้น เมื่ออยู่เมืองคน บาปเขาก็ได้ทาบุญ เขาก็ได้ทา ปางเมื่อตายก็ได้ไปเกิดในนรกนั้น 1และมียมบาลฝูงอื่นมาฆ่าฟ๎นพุ่งแทง กว่าจะถ้วน 15 วันนั้นแล้วจึงคืนมาเป็นยมบาล 15 วัน เวียนไปเล่าเวียนมาเล่าดังนั้นหึงนานนัก... (พระญาลิไท : 2554) สัตว์นรก 8 ขุมใหญ่นั้นจะมีเหตุการณ์เกิดที่แตกต่างกันแล้วแต่บุพกรรม ดังนั้นเการเกิด การ ดารงอยู่ และการละจากนรกภูมิมีเวลาแตกต่างกัน ตามที่กรรมของตนได้ทาไว้ต่อไปนี้ 1. สัญชีพนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์นั้น เป็นคนใจบาป ย่อมฆ่าสัตว์ตัดชีวิต สัตว์สองเท้าและสี่เท้า ฆ่าด้วยตนเองบ้าง และใช้คนอื่นฆ่าบ้าง เมื่อสิ้นชีวิตแล้ว อกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรกขุมนี้ ย่อมถูกเพลิงเผา ถูกหั่น ถูกเชือดเฉือนจนได้รับทุกข์ โทษอันแสนสาหัสจนขาดใจตายก็กลับมีชีวิตขึ้นมาเสวยทุกข์โทษต่อไปอีก สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 500 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับเก้าล้านปีในเมืองมนุษย์ 2. กาลสุตตนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์นั้น ประทุษร้าย บิดา มารดา มิตรทั้งหลาย ผู้มีพระคุณ เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรกขุมนี้ ถูกเลื่อย ถูกฟันตามแนวด้ายดาที่ทาไว้ตามร่างกายของสัตว์นรก สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 1,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับ สามสิบหกล้านปีในเมืองมนุษย์ 3. สังฆาฏนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ฆ่าสัตว์ต่าง ๆ เป็นประจา ทารุณสัตว์ โดยขาดความเมตตากรุณา เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้ บังเกิดในนรกขุมนี้ ย่อมถูกภูเขาเหล็กแดงบดขยี้ตามร่างกาย ให้ได้รับทุกขเวทนาอยู่ตลอดเวลาไม่ ว่างเว้น สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 2,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับ หนึ่งร้อยสี่ สิบห้าล้านปีในเมืองมนุษย์ 4. โรรุวนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ย่อมกระทาความ เดือดร้อนกายและใจแก่สัตว์ทั้งหลาย บางตนพิพากษาความไม่ยุติธรรม บางคนชอบรุกที่บ้านและสวน ไร่นาของผู้อื่นมาเป็นของตน บางคนเคยคบหาภรรยาของผู้อื่นแล้วก็ฆ่าสามีเขาให้ตายเสียเพื่อเอา ภรรยาเขามา บางคนเคยเป็นหญิงใจไม่ดี มีสามีแล้วกลับมีชู้ แล้วฆ่าผัวตัวให้ตาย บางคนเคยฉ้อโกง
  • 5. หรือเบียดบังทรัพย์สมบัติที่เขาอุทิศถวายพระสงฆ์ เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิด ในนรกขุมนี้ ย่อมถูกเปลวไฟนรกเผาไหม้เข้าไปตามทวารทั้งเก้า ทาให้เจ็บปวดอย่างแสนสาหัสต้องร้องไห้ครวญ ครางอยู่ตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 4,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้ กับ ห้าร้อยเจ็ดสิบหกล้านปีในเมืองมนุษย์ 5. มหาโรรุวนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ทา โจรกรรม ปล้นขโมยสิ่งของต่าง ๆ ของพระสงฆ์ ของพ่อแม่ ของครูอาจารย์ และของผู้อื่น มีใจโหดร้าย ตัดศีรษะสัตว์และมนุษย์ด้วยอานาจความโกรธ เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดใน นรกขุมนี้ ย่อมถูกกลุ่มควันอันแสนแสบพุ่งเข้าตามทวารทั้งเก้า ทาให้เร่าร้อนเจ็บแสบอย่างสาหัส จึง ต้องส่งเสียงร้องครวญคราง สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 8,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับ สองพันสามร้อยสี่ล้านปีในเมืองมนุษย์ 6. ตาปนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ทาการเผาล้าง ป่า ฆ่าสัตว์ทั้งหลายให้ตายเป็นจานวนมาก เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรก ขุมนี้ ย่อมได้รับทุกข์โทษหมกไหม้ในกองเพลิงอย่างเร่าร้อนตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุได้ 16,000 ปีนรก หนึ่งวันหนึ่งคืนในนรกขุมนี้ เทียบได้กับ เก้าพันสองร้อยสามสิบหกล้านปีในเมืองมนุษย์ 7. มหาตาปนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ ย่อม ประกาศความเห็นผิดของตนว่า กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลไม่มี มีความยึดถือความเห็นว่าขาดสูญ ทา ให้หมู่สัตว์ทั้งหลายเดือดร้อน เมื่อสิ้นชีวิตแล้วอกุศลกรรมเหล่านี้จึงพามาให้บังเกิดในนรกขุมนี้ย่อมถูก เพลิงอันเร่าร้อนอย่างยิ่งตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุยืนยาวมากนัก จะนับเป็นปีเดือนนรก นั้นมิได้เลย นับเป็นกัลป์ได้กึ่งกัลป์ 8. มหาอเวจีนรก เหล่าสัตว์ที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ เมื่อครั้งเป็นมนุษย์ได้ทา ปัญ จานันตริยกรรม คืออกุศลกรรม 5 อย่าง ได้แก่ มาตุฆาต ปิตุฆาต อรหันตฆาต โลหิตตุปบาท สังฆ เภท สัตว์นรกอยู่ในระหว่างเปลวไฟอยู่ตลอดเวลา สัตว์ที่เกิดในนรกขุมนี้มีอายุยืนยาวมากน ไม่ สามารถจะนับเป็นเดือนนรกได้เลย นับเป็นกัลป์ได้หนึ่งกัลป์ นอกจากนี้ความเป็นสัพพัญญูถึงโลกันตนรก อันเป็นนรกที่อยู่นอกจักวาล มีสภาพมืดมนอยู่ ตลอดกาล จะเกิดแสงสว่างขึ้นก็ต่อเมื่อ “ถ้าและว่าต่อเมื่อใดโพธิสัตว์ผู้จะลงมาอุบัติตรัสแก่สัพพัญํุต ญาณ และเมื่อท่านเสด็จลงไปเอาปฏิสนธิในครรภ์พระมารดานั้นก็ดี แลเมื่อท่านสมภพจาตุโกรธรนั้นก็ดี แล เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสแก่สัพพัญํุตญาณนั้นก็ดีแล เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสเทศนาพระธรรมจักรนั้นก็ดี แล เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าสู่นิพพานนั้นก็ดี ในกาล 5 ที่นี้ในโลกันตนรกนั้นจึงได้เห็นหนแท้นักหนา คน ซึ่งอยู่ในนรกนั้นจึงได้เห็นกัน” สัตว์ที่เกิดในโลกันตนรกนี้มีร่างกายใหญ่โตเล็บเมือเล็บเท้ายาวเกาะอยู่ที่ กาแพงจักรวาล เหตุที่ได้เกิดในโลกัตนรกนั้น เพราะทาทารุณต่อบิดามารดา สมณพราหมณ์ ผู้ทรง ธรรมและกรรมที่สาหัสอย่าอื่น เช่น ฆ่าสัตว์ทุกวัน เป็นต้น ต้องทนทุกขเวทนาชั่วหนึ่งพุทธันดรกัลป์
  • 6. นรกภูมิเป็นคติที่มนุษย์ที่ทากรรมที่ผิดศีลธรรม เกิดจากเหตุ 3 อย่าง คือ โลภะ โทสะ และโมหะ ซึ่งทาให้ไปเกิดในแดนนรก ทั้งนี้ผู้ที่เกิดในนรกไม่ว่าจะทาบาปด้วยเจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี แล้วจะต้อง ได้รับผลของกรรมย่อมมาสู่เมืองนรกเพื่อรับใช้กรรมที่ตนกระทาไว้ เช่น “สุนักขนรก คนผู้ใดกล่าวคา ร้ายแก่สมณพราหมณ์ผู้มีศีล และพ่อแม่และผู้เฒ่าผู้แก่ครูบาทยาย คนผู้นั้นตายไปเกิดในนรกอันชื่อว่าสุ นักขนรกนั้นแล ในสุนักขนรกนั้นมีหมา 4 สิ่ง หมาจาพวก 1 นั้นขาว หมาจาพวก 1 นั้นแดง หมาจาพวก 1 นั้นดา หมาจาพวก 1 นั้นเหลือง แลตัวหมาผู้นั้นใหญ่เท่าช้างสารทุกตัว ฝูงแร้งและกาอันอยู่ในนรกนั้น ใหญ่เท่าเกวียนทุก ๆ ตัว ปากแร้งและกาและตีนนั้น เทียรย่อมเหล็กแดงลุกเป็นเปลวไฟอยู่บ่อมิได้เหือด สักคาบ” (พระญาลิไท : 2554) จะเห็นได้ว่านรกนี้มิได้มีความสุขสบายใดเลย มีแต่ความทุกข์อันเกิด จากกรรม ทั้งทางกาย วาจา และใจ ย่อมเผาไหม้ผู้ที่ยังไม่ลดละกิเลสธรรมทั้งสามอยู่ทุกเมื่อและยังมิทา ให้สิ้นภพและชาติยังเวียนว่ายตายเกิดอยู่อย่างนั้นนับครั้งไม่ถ้วน 1.2 เปตภูมิ คือผู้หิวกระหายอยูเป็นนิจ เป็นที่อยู่ของสัตว์ที่เรียกว่า “เปรต” คือผู้ละโลกนี้ไปแล้ว ซึ่งเป็นสัตว์จาพวกหนึ่งที่อยู่ในอบายภูมิ มีความเดือดร้อนเพราะอดอยากหิวโหย และยังต้องทุกข์ทรมานร่างกายคล้ายสัตว์นรก การเกิดปฏิสนธิทั้ง 4 แบบ ไม่อยู่อาศัยเฉพาะที่อาศัยอยู่ ทั่วไป เรียกว่า “วินิปาติกะ” มีทั้งได้รับความสุขประดุจดังเทวดาบนสวรรค์สลับกับความทุกข์ หรือได้รับ ความทุกข์ทรมานจนสิ้นอายุขัยของตน ตามแต่กรรมที่สร้างขึ้น ดังที่ได้พรรณนาไว้ดังนี้ ...ฝูงเปรตแลฝูงผีเสื้อทั้งลาย เมื่อจะตายเขากลายเป็นมดตะนอยดา ลางคาบเป็นตะเข็บแลแมลงป่อง แมลงเม่า ลางคาบเป็นตักแตนเป็นนอน ลางคาบเป็นเนื้อแลนกแสกน้อยดังฝูงนกจิบนกจาบนั้น ลางคาบกลายเป็นเนื้อ เถื่อน ผิแลว่าเขาตายไส้เนื้อเขากลายเป็นดังนั้นทุกเมื่อแลฯ เปรตลางจาพวกยืนได้ 100 ปี ลางจาพวกยืนได้ 1000 ปี ลางจาพวกยืนชั่วพุทธันดรกัลปฯ แม้นว่าข้าวเมล็ด 1 ก็ดี น้าหยาด 1 ก็ดี แลจะได้เข้าไปในปากในคอเขา นั้นหาบมิได้เลยฯ เปรตลางจาพวกตัวเขาใหญ่ปากเขาน้อยเท่ารูเข็มนั้นก็มีฯ เปรตลางจาพวกผอมนักหนาเพื่อ อาหารจะกินบมิได้ แม้นว่าจะขอดเอาเนื้อน้อย 1 ก็ดี เลือดหยด 1 ก็ดีบมิได้เลย เท่าว่ามีแต่กระดูกแลหนังพอก กระดูกภายนอกอยู่ไส้ หนังท้องนั้นเหี่ยวติดกระดูกสันหลังแลตานั้นลึกและกลวงดังแสร้งควักเสีย ผมเขานั้นยุ่ง รุ่ยร่ายลงมาปกปากเขา มาตรว่าผ้าร้ายน้อย 1 ก็ดี แลจะมีปกกายเขานั้นก็หาบมิได้เลยเทียรย่อมเปลือยอยู่ชั่ว ตน ตัวเขานั้นเหม็นสาบพึงเกลียดนักหนาแล เขานั้นเทียรย่อมเดือดเนื้ออ้อนใจเขาแล เขาร้องไห้ร้องครางอยู่ทุก เมื่อแล เพราะว่าเขาอยากอาหารนักหนาแล ฝูงเปรตทั้งหลายนั้นเขายิ่งหาแรงบมิได้เขาย่อมนอนหงายอยู่ไส้ เมื่อ แลฝูงนั้นเขานอนอยู่แลหูเขานั้นได้ยินประดุจเสี ยงคนร้องเรียกเขาว่า สูทั้งหลายเอ๋ยจงมากินข้าวกินน้า แลฝูง เปรตทั้งหลายนั้นเขาได้ยินเสียงดังนั้นเขาก็ใส่ใจว่าเขามีข้าวมีน้า จึงเขาจะลุกไปหากินไส้ก็ยิ่งหาแรงบมิได้ เขาจะ ชวนกันลุกขึ้นต่างคนต่างก็ล้มไปล้มมา และบางคนล้มคว่าบางคนล้มหงาย แต่เขาทนทุกข์อยู่ฉันนั้นหลายคาบนัก แล แต่เขาล้มฟ๎ดกันหกไปหกมาและค่อยลุกไปดังนั้น แลเขาได้ยินดังนั้นแลเขามิใช่ว่าแต่คาบเดียวไส้ ได้ยินอยู่ทั้ง พันปีนั้นแล ผิแลว่าเขาอยู่เมื่อใดหูเขานั้นเทียรย่อมได้ยินดังนั้นทุกเมื่อ ครั้นว่าเขาลุกขึ้นได้เขาเอามือทั้งสองพาด เหนือหัวแล้วแล่นชื่นชมดีใจไปสู่ที่เสียงเรียกนั้นเร่งไปเร่งแลหาที่แห่งใดแลจักมีข้าวแลน้าไส้ก็หาบมิได้ เขาจึงร่า ร้องไห้ด้วยเสียงแรงแล้วเขาเป็นทุกข์นักหนา เขาก็ล้มนอนอยู่เหนือพื้นแผ่นดินนั้นแล เปรตทั้งหลายเมื่อเขาแล่น ไปดังนั้นไกลนักหนาแล เปรตเหล่านี้ไส้เมื่อเป็นคนอยู่นั้นมักริษยาท่าน เห็นท่านมีดูมิได้ เห็นท่านยากไร้ดูแคลน
  • 7. เห็นท่านมีทรัพย์สินจะใคร่ได้ทรัพย์สินท่านย่อมริกระทากลที่จะเอาสินท่านนั้นมาเป็นสินตน แล ตระหนี่มิได้ให้ ทาน รั้นว่าเห็นเขาจะให้ทานตนย่อมห้ามปรามมิให้เขาให้ทานได้แล ฉ้อเอาทรัพย์สินสงฆ์มาไว้เป็นประโยชน์แก่ ตน คนจาพวกนี้แลตายไปเกิดเป็นเปรตอยู่ที่ร้ายนักดังนั้นทุกตนแลฯ แลเปรตจาพวก 1 มีตัวดังมหาพรหมแลงาม ดังทอง แลปากนั้นดังปากหมูแลอดอยากนักหนาหาอันจะกินบมิได้สักสิ่งสักอัน เขานั้นมีตนงามดังทองนั้นเพื่ อ ดังฤๅสิ้น เมื่อก่อนเขาได้บวชเป็นชีจาศีลบริสุทธิ์ฯ อันว่ามีปากดังปากหมูนั้นเพราะว่าเขาได้ประมาทและ กล่าวขวัญครูบาอาจารย์แลเจ้ากูสงฆ์ผู้มีศีลฯ... (พระญาลิไท : 2554) เปรตภูมิเกิดจากผู้ที่สร้างทั้งกรรมดีและกรรมชั่วสลับกันไปทาให้เหล่าเปรตนั้นยังมีกรรมที่หนัก ต้องชดใช้กรรมทนทุกขเวทนาอยู่เช่นนั้น เปรตบางพวกต้องอดข้าว อดน้า บางพวกกินเศษอาหาร เสมหะ น้าลาย และของโสโครกอื่น ๆ ซึ่งต่างจากสัตว์นรกที่ได้รับความทุกเพราะถูกทรมาน จะเห็นได้ ว่าเปรตภูมิได้รับความทุกข์จากความหิวโหย อดอยากและมีอายุยายนานบางพวก 100 ปี หรือ 1,000 ปี หรือ สิ้นกัป จนกว่าจะสิ้นผลกรรมที่ตนได้กระทาไว้ 1.3 สูรกายภูมิ หรือ อสุรกายภูมิ คือภพของสัตว์กึ่งเทพที่มีความเป็นอยู่อย่าง ฝืดเคือง ทุกข์ยากลาบากกาย อสุรกายนั้นมีอยู่ 2 จาพวก คือ กาละกัญชะกาอสูร คืออสูรที่มีตัวผอม บางดั่งใบไม้แห้ง ไม่มีเลือดเนื้อ มีลักษณะพิกลพิการต่าง ๆ และทิพพอสูร คืออสุรกายที่มีอานาจฤทธิ์ เช่นเดียวกับเทวดามีบ้านเมืองปกครองอยู่ย่างสุขสบายเช่นเทวาดาบนสวรรค์ 1.4 ติรัจฉามภูมิ คือภูมิสัตว์ที่มีลาตัวขวางส่วนมากจะได้รับความเดือดร้อนด้วย กาม สัญญา อาหารสัญญา และมรณสัญญา ซึ่งการเกิดในภพนี้จะไม่สามารถบรรลุธรรมได้ ซึ่งมีรูปร่างทั้ง ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ อาศัยอยู่บนโลกไม่มีหลักแหล่ง นอกจากนี้ยังมีสัตว์กึ่งเทพ เช่น นาค ครุฑ และสัตว์อื่น ๆ ในป่าหิมพานต์ เป็นต้น ในติรัจฉานภูมินี้ย่อมมีความทุกข์อันเกิดจากสัญญาทั้ง 3 และ เวียนว่ายตายเกิดอยู่ในทุคติภูมิอันหาความสุขที่แท้จริงมิได้ 2. กามสุคติภูมิ 7 2.1 มนุสสภูมิ คือที่อยู่อาศัยของคนทั้งหลาย บนแผ่นดิน ที่เรียกว่าทวีป 4 ทวีป (ทอง ทศ สุทธรัตนกุล : 2555) ได้แก่ 1) อุตรกุรุทวีป อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้ มีลักษณะใบหน้าเป็นรูป 4 เหลี่ยม รักษาศีล 5 เป็นนิจ มีอายุ ประมาณ 1,000 ปี เมื่อตายแล้วจะไป เกิดในเทวโลก ลักษณะของคนอุตรกุรุทวีป เป็นหนุ่มสาวอยู่เสมอ อาศัยอยู่ตามโพรงไม้ ไม่ต้องทางาน ใด ๆ แต่งตัวสวยงาม มีกับข้าวและที่นอนเกิดขึ้นตามใจปรารถนา 2) บุรพวิเทหทวีป (พวกที่เสื่อมจากที่สูง พวกที่ผิดอาญาสวรรค์มาอยู่)อยู่ทาง ทิศตะวันออกของภูเขาพระสุเมรุ มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้มีใบหน้าตอนบนโค้งตัดลงมาเหมือนบาตร มีอายุ ประมาณ 700 ปี 3) อมรโคยานทวีป (เดินทางในอากาศ) อยู่ทางทิศตะวันตกของภูเขาพระสุเมรุ มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้มีใบหน้าวงกลม คล้ายวงพระจันทร์ มีอายุ ประมาณ 500 ปี
  • 8. 4) ชมพูทวีป อยู่ ทางทิศใต้ ของภูเขาพระสุเมรุ คือ มนุษย์โลกนี้เอง อายุขัย ของมนุษย์ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับการทาบุญหรือทากรรม แต่ทวีปนี้ก็พิเศษกว่า 3 ทวีปคือ เป็นที่เกิดของ พระพุทธเจ้า พระจักรพรรดิราช และพระอรหันต์ ไตรภูมิพระร่วงกล่าวว่า มนุษย์ส่วนใหญ่จะเกิดเป็นชลามพุชะ (เกิดจากปุ่มเปือกและมีรก ห่อหุ้ม) แต่ที่เกิดเป็นอุปปาติกะ เช่น นางอัมปาลิคณิกา (อัมพปาลิกา) หญิงโสเภณี ซึ่งต่อมามีบุตรชื่อ โกณฑัญกุมาร ทั้งนางและบุตรได้ออกบวชในพระพุทธศาสนาต่อมา และบรรลุอรหันต์ทั้งคู่ ในไตรภูมิพระร่วงกล่าวว่าสาเหตุที่สตรีจะตั้งครรภ์ได้นั้นมี 7 ประการ คือ 1. เพราะเสพสังวาสอยู่ร่วมกับบุรุษ 2. เพราะเอาเสื่อผ้า เครื่องนุ่งห่มของชายที่ตนรักมานุ่ง มาห่มชมเชยแทนตัวชาย 3. เพราะได้กินน้าราคะของชายที่ตนรัก 4. เพราะถูกชายลูบคลาเนื้อตัวและท้อง แล้วตนมีใจยินดีรักชายนั้น 5. เพราะตนรักบุรุษแล้วบุรุษนั้นกลายมาเป็นสตรีตนก็ยินดี 6. เพราะได้ยินเสียงบุรุษที่ตนรักใคร่ เจรจาพาทีก็เกิดยินดี 7. เพราะได้ดมกลิ่นบุรุษที่ตนรัก จะเห็นได้ว่าสาเหตุหลักคือ ข้อที่ 1 ส่วนข้อที่ 2-7 นั้นเป็นมูลเหตุที่จะทาให้เกิดสาเหตุข้อที่ 1 ได้ ซึ่งคาสอนของคนโบราณนั้นไม่ได้ล้าสมัย 7 ประการที่กล่าวมานั้นเป็นสิ่งที่สตรีควรระมัดระวังเป็น อย่างยิ่ง ในภาวะที่ยังไม่มีความพร้อมในการจะมีครอบครัว หรือวุฒิภาวะยังไม่พร้อมพอ เนื่องจาก ปัญหาอื่น ๆ อาจจะตามมาอีก (วลัยพร ถาอ้าย : 2556) ส่วนสตรีที่ยังสาวทุกคนจะตั้งครรภ์ได้ และลูกจะอยู่ในท้องน้อย เมื่อลูกจะปฏิสนธินั้นต้อง เป็นระยะที่หมดประจาเดือน 7 วัน และถ้าตั้งท้องแล้วจะไม่มีประจาเดือนอีก สตรีที่มีสามีแล้วจึงควรมี ลูก ส่วนสตรีที่ไม่สามารถมีลูกได้เป็นเพราะกรรมของผู้มาเกิดนั้นเป็นเหตุให้เกิดลมในท้องและพัดต้อง ครรภ์ก็แท้งตาย หรือบางครั้งก็มีตัวพยาธิมากิน สัตว์ที่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาเมื่อแรกก่อตัวมีลักษณะเป็น กลละ มีขนาดเล็กที่สุดเหลือที่ นึกเห็น (เซลล์) เปรียบได้กับการนาเส้นผมชาวอุตตรกุรุทวีป (ซึ่งเล็กกว่าเส้นผมชาวชมพูทวีปถึงแปด เท่า) มาชุบน้ามันงาอันงามใสแล้วสลัดเสียเจ็ดครั้ง ถ้าเหลือน้ามันย้อยลงตรงปลายผมเท่าใด ก็ยังถือว่า ใหญ่กว่า กลละ ถ้าจะเปรียบให้เท่ากันก็ต้องใช้ขนเนื้อทรายที่ชื่อ ชาติอุณนาโลม ซึ่งอยู่ที่เชิงเขาหิม พานต์ เนื้อทรายชนิดนี้มีขนเส้นเล็กกว่าผมชาวอุตรกุรุทวีป เมื่อเอาขนเนื้อทรายนี้ชุบน้ามันงาอัน สวยงามแล้วเอามาสลัด 7 ครั้ง น้ามันที่ย้อยลงมาปลายขนทรายจะมีขนาดใหญ่เท่ากลละ ต่อจากนี้ กลละ ก็เจริญเติบโตขึ้น เพราะมีธาตุทั้ง 4 (ดิน น้า ลม ไฟ) เมื่อครบ 7 วัน จะ เป็นน้าล้างเนื้อ ต่อมาอีก 7 วันจะข้นเป็นชิ้นเนื้อ ต่อมา 7 วัน แข็งเป็นก้อนดังไข่ไก่แล้วค่อยโตขึ้น อีก 7 วันก็เป็นตุ่มราวหัวหูดขึ้น 5 แห่ง เรียกว่า ปัญจสาขา ( ศีรษะ มือ เท้า) อีก 7 วันเป็นฝ่ามือ นิ้วมือ แล้ว จึงเป็นขนเป็นเล็บ และอื่นๆครบถ้วน 32 ประการ เป็นตัวเด็กนั่งอยู่กลางท้องแม่ เอาหลังมาต่อหนัง
  • 9. ท้องแม่ อาหารที่แม่กินเข้าไปก่อนจะอยู่ใต้กุมารนั้น อาหารที่แม่กินเข้าไปทีหลังจะอยู่เหนือกุมารและ ทับหัวกุมารนั้นอยู่ กุมารจึงได้รับความลาบากยิ่งนักเพราะในท้องแม่เป็นที่ชื้น เหม็นกลิ่นเน่าอันเกิดจาก อาหารที่แม่กินเข้าไป และกลิ่นพยาธิที่อยู่ในท้องแม่อันได้ 80 ครอก กุมารนั้นนั่งยองๆ กามือทั้งสอง คู้ ตัวต่อหัวเข่าทั้งสอง เอาหัวไว้เหนือเข่าเหมือนกับลิงเมื่อที่นั่งกามือซบเซาเมื่อฝนตก อยู่ในโพรงไม้นั้น และในท้องของแม่ก็ร้อนดังในหม้อต้ม แม้อาหารที่กินเข้าไปก็ไหม้และย่อยได้ด้วยอานาจแห่งไฟนั้น แต่ ตัวกุมารไม่ไหม้ตายก็เพราะด้วยบุญที่จะเกิดเป็นคนนั่นเอง กุมารเมื่ออยู่ในท้องแม่นั้น ไม่เคยได้หายใจ เข้าออก มี่เคยได้เหยียดมือ เหยียดเท้าออกเลย ต้องทนทุกข์ทรมานเจ็บเนื้อเจ็บตัวดังคนที่เขาเอาใส่ไว้ ในไหอันคับแคบ ยามแม่เปลี่ยนอิริยาบถแต่ละครั้งไม่ว่าจะยืน เดิน นั่งหรือนอน กุมารนั้นก็จะเจ็บราว จะตาย เปรียบได้กับลูกงูที่หมองูเอาไปเล่น สายสะดือของกุมารนั้นกลวงดังบัวสายที่ชื่อ อุบล ปลายไป ติดเกาะที่หลังท้องแม่ ข้าว น้า และอาหารอันใดที่แม่กินและโอชารสก็เป็นน้าชุ่มเข้าไปในสะดือ แล้วเข้า ไปในท้องกุมารเพื่อเลี้ยงชีวิตให้เติบโตต่อไป กุมารนั้นต้องทนทุกข์ทรมานอยู่ในท้องนานนักหนา บ้างก็ 7 เดือน บ้าง ก็ 8 เดือน 9 เดือน 10 เดือน หรือครบขวบปี จึงคลอดออกจากท้องแม่ กุมารใดอยู่ในท้องแม่พียง 6 เดือน เมื่อคลอดแล้วก็ อาจจะไม่รอดชีวิต คนที่อยู่ในท้องแม่ 7 เดือน จะเป็นคนอ่อนแอ ไม่ทนแดดทนฝน คนผู้ใดมาจากนรก มาเกิด เมื่ออยู่ในท้องแม่ แม่จะเดือดร้อนใจ ตระหนก และกระหาย เมื่อกุมารในครรภ์เป็นสัตว์นรกมาเกิด แม่ก็พลอยร้อนไปด้วยและเมื่อคลอดออกมากุมาร นั้นร้อน ผู้ที่จากสวรรค์มาเกิด เมื่ออยู่ในท้องอยู่เย็นเป็นสุข มารดาก็อยู่เย็นเป็นสุข เมื่อคลอดออกมา กุมารนั้นก็เย็นเนื้อเย็นใจ ผู้ใดที่เคยเป็นสัตว์นรกหรือเป็นเปรตมาก่อน เมื่อคลอดออกมาก็ร้องไห้ เพราะ คิดถึงความลาบากที่ล่วงมาแล้ว ถ้ามาจากสวรรค์ก็หัวเราะก่อนเพราะคิดถึงความสุขแต่หนหลัง คนเราเมื่อมาเกิดในท้องแม่และเมื่อออกจากท้องแม่ไม่รู้เดียงสา ไม่รู้อะไรจาอะไรไม่ได้ ทั้งหมด ส่วนผู้ที่จะมาเกิดเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตาขีณาสพเจ้า และจะมาเป็นพระอัคร สาวก จะรู้อะไรทุกอย่างตั้งแต่ถือกาเนิดมาเป็นคน แต่เมื่อออกจากท้องแม่ก็ย่อมหลงลืมไปเช่นคน ทั้งหลาย ส่วนพระโพธิสัตว์ในชาติสุดท้ายคือชาติที่จะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า จะรู้ทุกอย่างตั้งแต่แรก มาปฏิสนธิ เมื่ออยู่ในครรภ์และเมื่อออกจากครรภ์ เมื่ออยู่ในครรภ์ก็ไม่ได้นั่งจับเจ่าห่อตัวเหมือนกับคน ทั้งหลาย แต่จะนั่งแพนงเชิง (นั่งขัดสมาธิ) อย่างนักปราชญ์นั่ง มีรัศมีจากกายตัวเรืองงามดั่งทองทะลุ พุ่งออกมาภายนอกท้อง พระมารดาและผู้อื่นก็แลเห็น รุ่งเรืองงดงามดังเอาไหมแดงมาร้อยแก้วขาว ความใสของแก้วทาให้มองเห็นไหมแดงที่อยู่ภายในได้ และเมื่อจะเสด็จออกจากครรภ์มารดาลมอันเป็น บุญนั้นก็ไม่ได้พัดเอาหัวมาเบื้องต่าให้เท้าขึ้นข้างบนเหมือนฝูงคนทั้งหลาย แต่พระองค์จะเหยียดเท้าออก ลุกขึ้นยืนและเสด็จออกจากครรภ์มารดา ส่วนพระโพธิสัตว์ในชาติอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ชาติสุดท้ายจะเป็นปกติ เหมือนคนทั้งหลาย เมื่อใดที่พระโพธิสัตว์ซึ่งจะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าลงมาปฏิสนธิ หรือมาประสูติ แผ่นดินทั่วโลกธาตุจะหวั่นไหวเป็นเครื่องหมายหรือนิมิตบอกให้รู้ว่า พระโพธิสัตว์มาเกิด เรียกว่า
  • 10. แผ่นดินไหวทั่วทั้งหมื่นจักรวาล น้าที่ชูแผ่นดินก็ไหว น้ามหาสมุทรก็ฟูมฟอง เขาพระสุเมรุก็หวั่นไหวด้วย บุญสมภารของพระองค์ ฝูงคนทั้งหลายเมื่อออกจากท้องแม่ จะเกิดเป็นลมกรรมชวาตพัดให้ศีรษะคล้อยต่าลงสู่ที่จะ ออกอันคับแคบนักหนา ดุจดังฝูงสัตว์นรกอันยมบาลกุมตีนและหย่อนหัวลงในขุมนรกอันลึกได้ร้อยวา เมื่อคลอดออกมากุมารนั้นก็เจ็บเนื้อนักหนาเปรียบได้กับช้างสารที่เขาเข็นออกทางประตูเล็กและแคบ หรือมิฉะนั้นก็เปรียบกับสัตว์นรกที่ถูกคังไคยบรรพตบดทับไว้ เมื่อพ้นท้องแม่แล้วลมในท้องกุมารก็พัด ออกก่อน ลมภายนอกจึงพัดเข้าไปถึงลิ้นกุมารนั้น กุมารจึงรู้จักหายใจเข้าออก ฝูงคนทั้งหลายในโลกแม้ องค์พระโพธิสัตว์เมื่อออกจากท้องแม่แล้ว ด้วยเหตุที่แม่มีใจรักเลือดในอกแม่จึงหลายเป็นน้านมไหล ออกมาให้ลูกได้ดูดกิน ลูกที่เกิดมา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. อภิชาตบุตร เฉลียวฉลาด นักปราชญ์ รูปงาม มั่งมี มียศถาบรรดาศักดิ์ มีกาลังยิ่ง กว่าพ่อแม่ 2. อนุชาตบุตร มีความรู้ รูปโฉม และกาลังเท่ากับพ่อแม่ 3. อวชาตบุตร ลูกที่ถ่อยกว่าพ่อแม่ทุกประการ คนทั้งหลายแบ่งเป็น 4 ชนิด คือ 1. คนนรก : ผู้ทาบาป ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต บาปนั้นตามทันถูกตัดตีนมือ และทุกข์โศก เวทนา 2. คนเปรต : คนที่ไม่เคยทาบุญเลยตั้งแต่ชาติปางก่อน เกิดมาเป็นคนเข็ญใจ เสื้อผ้า แทบไม่มีพันกาย อดอยากไม่มีกิน รูปโฉมขี้ริ้วขี้เหร่ 3. คนเดรัจฉาน : คนที่ไม่รู้บาป บุญ ไม่มีเมตตากรุณา ไม่รู้จักยาเกรงผู้ใหญ่ ไม่รู้จัก ปฏิบัติพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ ไม่รักพี่รักน้อง กระทาบาปอยู่เสมอ 4. มนุษย์: คนที่รู้จักบาปบุญ รู้กลัว ละอายต่อบาป รักพี่รักน้อง มีเมตตากรุณา ยา เกรงผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูอาจารย์ รู้จักคุณพระรัตนตรัย มนุษย์ทั้งหลายแบ่งออกเป็น 2 จาพวก คือ 1. อันธปุถุชน เมื่อตายไปย่อมไปเกิดในจัตุราบาย คือ นรกภูมิ เปรตภูมิ ดิรัจฉานภูมิ อสุรกายภูมิ ถ้ามาเกิดเป็นมนุษย์ก็ย่อมทุพพลภาพ เป็นคนอัปลักษณ์บัดสี เป็นคนโหดเพราะไม่รู้จัก การทาบุญ 2. กัลยาณปุถุชน เมื่อตายไปก็ไปเกิดในสวรรค์ ลาดับการกาเนิดของมนุษย์ ในไตรภูมิพระร่วง เริ่มจาก ปฏิสนธิ = กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน 256 ของเส้นผม) 7 วัน = อัมพุทะ (น้าล้างเนื้อ) 14 วัน = เปสิ (ชิ้นเนื้อ)
  • 11. 21 วัน = ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่) 28 วัน = เบญจสาขาหูด (มีหัว แขน 2 ขา 2) ครบ 1 เดือน 35 วัน = มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ 42 วัน = มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบสมบูรณ์) 50 วัน = ท่อนล่างสมบูรณ์ 84 วัน = ท่อนบนสมบูรณ์ 184 วัน = เป็นเด็กสมบูรณ์ นั่งกลางท้องแม่ ( 6 เดือน) การคลอด - ท้อง 6 เดือนคลอด ทารกนั้นไม่รอด (บ่ห่อนได้สักคาบ) ท้อง 7 เดือนคลอด ทารกนั้นไม่แข็งแรง (บ่มิได้กล้าแข็ง) จะเห็นได้ว่าการเกิดเป็นมนุษย์นั้นยกหนักหนา โดยเฉพาะการเกิดเป็นมนุษย์ในชมพูทวีป เพราะ การเกิดเป็นมนุษย์ในชมพูทวีปนั้น สามารถที่จะบรรลุถึงซึ่งพระนิพานอันเป็นการหลุดพ้นจากภูมิทั้ง 3 คือเลือกที่จะทากุศลหรืออกุศลได้ ให้เกิดในภูมิต่าง ๆ กล่าวคือการเกิดเป็นมนุษย์นั้นเป็นการมาสั่งสม บุญและบาป เพราะมนุษย์ในชมพูทวีปสามารถเข้าใจได้ในสิ่งที่เป็นกุศลและอกุศล ส่วนในทั้ง 3 ทวีปนั้น จะไม่สามารถเข้าในในเรื่องบาปบุญได้ ได้แต่ใช้ชีวิตให้ดาเนินไปจนกว่าจะสิ้นอายุขัยของตน 2.2 ฉกามาพจรภูมิ คือ ภูมิผู้แห่งความเจริญ แต่ยังติดข้องในกามอยู่ ซึ่งได้บาเพ็ญ ทาน ศีล และภาวนา มากน้อยต่างกันจึงมาเกิดในนี้หรือที่เรียกว่า “สวรรค์” ซึ่งประกอบไปด้วย 6 ชั้น ตามวิบากกรรมที่ได้สร้าง(สรเมธี วชิรปราการ : 2550) ดังนี้ 1) จาตุมหาราชิกาภูมิ เป็นสวรรค์ชั้นแรกตั้งอยู่เหนือเขายุคนธร อยู่เหนือโลกมนุษย์ขึ้น ไป 46000 โยชน์ มีพระยาผู้เป็นเจ้าทั้ง 4 รวมเรียกว่า พระยาจตุโลกบาล คือ ท้าวธตรฐราชอยู่ทิศ ตะวันออก ท้าววิรุฬหกราชอยู่ทิศใต้ ท้าวไพศรพณ์มหาราชอยู่ทิศเหนือ ท้าววิรูปักข์อยู่ทิศตะวันนตก มี หน้าที่คอยดูแลสอดส่องมนุษย์ที่ประกอบผลบุญ แล้วรายงานต่อพระอินทร์ เพื่อให้ไปเกิดในสรวง สวรรค์ เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกามีอายุ “เทพยดาทั้งหลายในจาตุมหาราชิกานั้นได้ 500 ปีทิพย์ ผิว่าจะ นับปีในมนุษย์เรานี้ได้ 9 ล้านปีในมนุษย์เราแลฯ” 2) ดาวดึงสภูมิ อยู่เหนือจาตุมหาราชิกาภูมิขึ้นไปอีก 46000 โยชน์ มีพระอินทร์เป็นเจ้า แก่พระยาเทพยดาทั้งหลาย ที่รายล้อมออกไปทั้ง 4 ทิศ รวม 32 พระองค์ เทวดาในดาวดึงส์ มีอายุได้ 1,000 ปีทิพย์หรือ 36 ล้านปี เหล่าเทพยดามี 3 จาพวก คือ (1) สมมุติเทวดา คือฝูงท้าวและพระยาในแผ่นดิน ผู้รู้หลักแห่งบุญธรรม และ กระทาโดยทศพิศราชธรรมทั้ง 10 ประการ (2) อุปปัติเทวดา คือเหล่าเทพยดาในพรหมโลก (3) วิสุทธิเทวดา คือพระพุทธปัจเจกโพธิเจ้า และพระอรหันตสาวกเจ้า ผู้เสด็จ เข้าสู่นิพพาน
  • 12. 3) ยามาภูมิ อยู่สูงกว่าชั้นดาวดึงส์ขึ้นไปอีก 84000 โยชน์ อยู่เหนือพระอาทิตย์และ พระจันทร์ แสงสว่างในภูมินี้ เกิดจากรัศมีของเหล่าเทวดาในชั้นนี้เอง อายุเทวดาชั้นนี้ยืนได้ 2,000 ปี ทิพย์ แลได้ 142,000,000 ปีมนุษย์ 4) ดุสิตาภูมิ สูงกว่ายามาสวรรค์อีก 168000 โยชน์ เป็นที่สถิตย์ของพระโพธิสัตว์ และ พระศรีอาริย์ มีอายุได้ 4,000 ปีทิพย์ หรือได้ 567,000,000 ปีมนุษย์ 5) นิมมานนรดีภูมิ สูงขึ้นไปอีก 336000 โยชน์ เหล่าเทวดาชั้นนี้ต้องการสิ่งใดเนรมิตร เอาเองได้ดังใจตน ฝูงเทวดาอันอยู่ในชั้นฟ้านั้นอายุยืนได้ 8,000 ปีทิพย์ ผิจะคณนาปีในมนุษย์โลกย์ได้ 2,304,000,000 ปีแลฯ 6) ปรนิมมิตวสวัตดีภูมิ สวรรค์ชั้นที่สุดของฉกามาพจรภูมิ สูงสุดในระดับกามาภูมิ อยู่ ถัดไแอีก 672000 โยชน์ เหล่าเทวดาในสวรรค์ชั้นนี้ อยากได้อะไรก็เนรมิตเอาเอง มีพระยาผู้เป็นเจ้าแห่ง เทพยดาทั้งหลาย 2 องค์ มีอายุตั้งแต่ 500-16000 ปีทิพย์ (500 ปีทิพย์ เท่ากับ 9 ล้านปีมนุษย์) การสิ้นอายุขัยของเทวดาเกิดจากเหตุ 4 ประการ คือ 1. สิ้นอายุจากชั้นฟ้าของตน ซึ่งอาจไปเกิดในชั้นฟ้าอื่น เรียกว่า “อายุขัย” 2. หมด บุญ เรียกว่า “บุญขัย” 3. ลืมกินอาหารเทวดาทั้งหลายนั้นก็สิ้นชีวิต เรียกว่า “อาหารขัย” 4. เกิดความริษยา โกรธ อันจนเป็นไฟไหม้ตนเองสิ้นชีวิต เรียกว่า “โกธาพลขัย” เมื่อเหล่าเทวดาจะลงมา จุติ (ตาย) ย่อมเกิดให้เห็นนิมิต 5 ประการ คือ 1. ดอกไม้อันมีในวิมานตนนั้นเหี่ยวและไม่หอม 2. ผ้าอันทรงอยู่นั้นไส้ดูหม่นดูหมองไป 3 นิมิตอนึ่งคือว่าอยู่สุขแล้วอุบัติหาสุขบมิได้ และมีเหงื่อไหลแลไคลออกกแต่รักแร้ตน 4. อาสน์ของตนนั่งและนอนนั้นร้อนและแข็งกระด้าง 5. ร่าง กายของเทวดาเศร้าหมองไม่มีสว่างดังเดิม เมืองสวรรค์เป็นเมืองที่เต็มไปด้วยความสุขสนุกสนาน แต่ก็ไม่จีรังยังยืน แม้ว่าการเกิดใน ฉกามาพจรภูมิเสวยความสุขอันยาวนาน มีวิมานเสวยแต่ของที่มีรสอร่อย รูปร่างและผิวพรรณละเอียด ประณีตเพียงใด ย่อมสูญสลายไปตามการเวลาที่บุญของตนเองได้สั่งสมมา ดังนั้นความรู้แจ้งให้เห็นว่า แม้สวรรค์จะมีความสุขมากแค่ไหน แต่อาจก็ต้องไปเวียนว่ายตายเกิดในภูมิต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดความ ทรมาน เกิดทุกขเวทนาต่อตนเองได้เสมอ รูปภูมิ หรือ รูปพรหม คือภูมิระดับกลาง เป็นรูปพรหม มี 16 ชั้น แบ่งออกเป็น ปฐมฌานภูมิ 3 ทุติยฌานภูมิ 3 ตติยฌานภูมิ 3 และ จตุตฌานภูมิ 7 อยู่เหนือสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ ขึ้นไปนับ ประมาณไม่ได้ (นิตย์ จารุศร : 2550) ผู้ที่ได้มาเกิดในพรหมโลกนี้ต้องจาเจริญสมาธิภาวนา เจริญกรรมฐาน เพื่อกาจัดปัญจนิวรณ์ คือ กามฉันทะ (ความพอใจในกาม) พยาบาท (ความคิดร้ายเคืองแค้นในใจ) ถีนมิทธะ (ความหดหู่เซื่อง
  • 13. ซึม) อุทรธัจจกุกกุจจะ (ความกระวนกระวายใจ) และวิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) จะได้เกิดเป็นพรหม ชั้นนปฐมฌานถูมิ ถ้าเจริญภาวนาฌานให้ได้นิ่งสงบนานขึ้น เมื่อสิ้นอายุจะไปเกิดใน ทุติยฌานภูมิ ตติย ฌานภูมิ และ จตุตถฌานภูมิ ตามลาดับ พรหมในรูปภูมินี้มีแต่ผู้ชายไม่มีผู้หญิง มีตา หู จมูก มีตัวตน แต่ไม่รู้กลิ่นหอมหรือเหม็น ไม่รู้รส ไม่รู้เจ็บ ไม่ยินดีในกาม ไม่รู้หิว ไม่ต้องการข้าว - น้า เนื้อตัวเกลี้ยงเกลา ส่องสว่างกว่าพระอาทิตย์ พระจันทร์พันเท่า ผู้ใดได้จตุตถฌานภูมิเต็มที่ เมื่อสิ้นอายุ จะได้เกิดแต่ใน ปัญจสุทธาวาส ภูมิ 5 ชั้น สุดท้ายของรูปภูมิ จะไม่มาเกิดเป็นมนุษย์อีก จนกว่าจะเข้าสู่นิพพาน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้จตุตถฌานภูมิ เต็มที่ เมื่อสิ้นอายุ ใจนั้นก็จะคืนสู่ปกติดั่งคนทั้งหลาย แล้วไปเกิดตามบุญตามกรรมต่อไป สามชั้นแรก รวมเรียกว่า ปฐมฌานภูมิ ด้วยพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยปฐมฌาน ทั้งสามชั้นนี้ ความจริงตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่เป็น 3 เขต คือตั้งแต่ชั้นที่ 1 - ชั้นที่ 3 ชั้นที่ 4 - ชั้นที่ 6 รวมเรียกว่า ทุติยฌานภูมิ ด้วยเหล่าพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยทุติยฌาน ทั้ง สามชั้นนี้ ความจริงตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่เป็น 3 เขต ชั้นที่ 7 - ชั้นที่ 9 รวมเรียกว่า ตติยฌานภูมิ ด้วยเหล่าพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยตติยฌาน ทั้ง สามชั้นนี้ ความจริงตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่เป็น 3 เขต ตั้งแต่ชั้นที่ 10 ขึ้นไป รวมเรียกว่า จตุตถฌานภูมิ ด้วยเหล่าพระพรหมในชั้นนี้บรรลุด้วยจตุตถ ฌาน ชั้นที่ 10-11 ตั้งอยู่ ณ พื้นที่ระดับเดียวกัน แต่แยกสถานที่กันอยู่ และมีระยะห่างไกลกันมาก หากแต่เฉพาะเหล่าพระพรหมในชั้นที่ 12 – 16 เรียกว่า ปัญจสุทธาวาส หรือ สุทธาวาสภูมิ อันเป็นชั้นที่ เหล่าพระพรหมในชั้นนี้ ต้องเป็นพระพรหมอริยบุคคลในพุทธศาสนา ระดับอนาคามีอริยบุคคล เท่านั้น ต่างจาก 11 ชั้นแรก แม้พระพรหมทั้งหลายจะได้สาเร็จฌานวิเศษเพียงใด ก็อุบัติในสุทธาวาสภูมิไม่ได้ อย่างเด็ดขาด สุทธาวาสภูมินี้มีอยู่ 5 ชั้น ตั้งอยู่ท่ามกลางอากาศ และตั้งอยู่เป็นชั้นๆ ขึ้นไป ตามลาดับ (นิตย์ จารุศร : 2550) ชั้นที่ 1 พรหมปาริสัชชาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้เป็นบริวารแห่งท้าวมหาพรหม ตั้งอยู่เบื้องบนสูงกว่าปรนิมมิตวสวัตตีสวรรค์ขึ้นไปถึงห้าล้านห้าแสน แปดพันโยชน์ คือไกลจาก มนุษยโลกจนไม่สามารถนับได้ ซึ่งหากเอาก้อนศิลาขนาดเท่าปราสาทเหล็ก (โลหปราสาท) ทิ้งลงมาจาก ชั้นนี้ ยังใช้เวลาถึง 4 เดือนจึงจะตกถึงแผ่นดิน พระพรหมในที่นี้มีคุณวิเศษ โดยเคยเจริญสมถกรรมฐาน จนได้บรรลุ ปฐมฌาน อย่างสามัญมาแล้วทั้งสิ้น เสวยปณีตสุขอยู่ มีความเป็นอยู่อย่างแสนจะสุข นักหนา ตราบจนหมด พรหมายุขัย มีอายุแห่งพรหมประมาณส่วนที่ 3 แห่งมหากัป ชั้นที่ 2 พรหมปุโรหิตาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้เป็นปุโรหิต (อาจารย์ใหญ่) ของ ท้าวมหาพรหม เป็นที่อยู่ของพระพรหมผู้ทรงฐานะประเสริฐ คือเป็นปุโรหิตของท่านมหาพรหม ความ เป็นอยู่ทุกอย่างล้าเลิศวิเศษกว่าพรหมโลกชั้นแรก รัศมีก็รุ่งเรืองกว่า รูปทรงร่างกายใหญ่กว่า สวยงาม กว่า พรหมทุกท่านล้วนมีคุณวิเศษ ได้เคยเจริญสมถกรรมฐานจนได้ บรรลุ ปฐมฌาน ขั้นมัชฌิมะ คือขั้น ปานกลาง มาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณครึ่งมหากัป
  • 14. ชั้นที่ 3 มหาพรหมาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้ยิ่งใหญ่ ที่อยู่แห่งท่านพระพรหม ผู้ ยิ่งใหญ่ทั้งหลาย มีความเป็นอยู่และรูปกายประเสริฐยิ่งขึ้นไปอีก ได้เคยเจริญสมถกรรมฐานจนได้บรรลุ ปฐมฌานขั้น ปณีตะคือขั้นสูงสุดมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 1 มหากัป ชั้นที่ 4 ปริตรตาภาภูมิ เป็นสถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีน้อยกว่าชั้นพรหมที่สูงกว่าตน ที่ อยู่ของพระพรหม ทั้งหลายผู้มีรัศมีน้อยกว่าพระพรหมที่มีศักดิ์สูงกว่าตน ได้เจริญภาวนากรรมบาเพ็ญ สมถกรรมฐาน จนได้บรรลุ ทุติยฌาน ขั้นปริตตะ คือ ขั้นสามัญมาแล้ว มีอายุแห่งพรหมประมาณ 2 มหากัป ชั้นที่ 5 อัปปมาณาภาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีรุ่งเรืองหาประมาณมิได้ ที่ อยู่ของพระพรหม ผู้มีรัศมีรุ่งเรืองมากมายหาประมาณมิได้ เคยเจริญภาวนาการบาเพ็ญสมถกรรมฐาน จนได้บรรลุ ทุติยฌาน ขั้นมัชฌิมะ คือขั้นปานกลางมาแล้ว มีอายุแห่งพรหมประมาณ 4 มหากัป ชั้นที่ 6 อาภัสราภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีเป็นประกายรุ่งเรือง พรหม เคย เจริญภาวนากรรมบาเพ็ญ สมถกรรมฐานจนได้บรรลุ ทุติยฌาน ขั้นปณีตะ คือ ประณีตสูงสุดมาแล้ว มี อายุแห่งพรหมประมาณ 8 มหากัป ชั้นที่ 7 ปริตตสุภาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีสง่างามน้อยกว่าชั้นพรหมที่สูง กว่าตน ที่อยู่ของพระพรหมผู้มีความสง่าสวยงามแห่งรัศมีเป็นส่วนน้อย คือน้อยกว่าพระพรหมในพรหม โลกที่สูงกว่าตนนั่นเอง ได้เคยเจริญภาวนากรรม บาเพ็ญสมถกรรมฐานจนได้บรรลุตติยฌาน ขั้น ปริตตะ คือขั้นสามัญมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 16 มหากัป ชั้นที่ 8 อัปปมาณสุภาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้รัศมีสง่างามหาประมาณมิได้ ที่ อยู่ของพระพรหม ทั้งหลาย ผู้มีความสง่าสวยงามแห่งรัศมีมากมายไม่มี ประมาณ สง่าสวยงามแห่ง รัศมีซึ่งซ่านออกจากกายตัว มากมายสุดประมาณได้เคยเจริญภาวนากรรมบาเพ็ญสมถกรรมฐาน จน ได้บรรลุ ตติยฌาน ขั้นมัชฌิมะ คือขั้นปานกลางมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 32 มหากัป ชั้นที่ 9 สุภกิณหาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้มีรัศมีสง่างามสุกปลั่งทั่วสรรพางค์ กาย ที่อยู่ของพระพรหม ผู้มีความสง่าสวยงามแห่งรัศมี ที่ออกสลับ ปะปนกันอยู่เสมอเป็นนิตย์ ทรง รัศมีนานาพรรณ เป็นที่น่าเพ่งพิศทัศนาได้เคยเจริญภาวนากรรมบาเพ็ญสมถกรรมฐาน จนได้บรรลุ ตติยฌาน ขั้นปณีตะ คือขั้นประณีตสูงสุดมาแล้วทั้งสิ้น มีอายุแห่งพรหมประมาณ 64 มหากัป ชั้นที่ 10 เวหัปผลาภูมิ เป็นที่สถิตแห่งพระพรหมผู้ได้รับผลแห่งฌานอันไพบูลย์เป็นที่อยู่ ของพระพรหมทั้งหลาย ผู้ได้รับผลแห่งฌานกุศลอย่างไพบูลย์ มีอายุแห่งพรหมประมาณ 500 มหากัป อนึ่งผลแห่งฌานกุศล ที่ส่งให้ไปอุบัติเกิดในพรหมโลก 9 ชั้นแรกนั้น ไม่เรียกว่า มีผลไพบูลย์เต็มที่ ทั้งนี้ก็ โดยมี เหตุผลตามสภาวธรรมที่เป็นจริง ดังต่อไปนี้ เมื่อคราวโลกถูกทาลายด้วยไฟนั้น พรหมภูมิ 4 ชั้นแรก ก็ถูกทาลายไปด้วย มื่อคราวโลกถูกทาลายด้วยน้านั้น พรหมภูมิ 6 ชั้นแรก ก็ถูกทาลายไปด้วย มื่อคราวโลกถูกทาลายด้วยลมนั้น พรหมภูมิทั้ง 9 ชั้นแรก ก็ถูกทาลายไปไม่มีเหลือเลย