SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
คํานิยม
หนังสือเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกเลมนี้เปนความพยายามของ รองศาสตราจารย
ดร.ทศวรรษ สีตะวัน ที่ถือเปนผูบุกเบิกงานวิจัยดานเทอรโมอิเล็กทริกของเมืองไทยตั้งแตศึกษา
ระดับปริญญาเอกที่ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เมื่อ พ.ศ. 2545
คือกวา 10 ปผานมาแลวและหลังจากนั้นก็ทํางานวิจัยดานนี้อยางตอเนื่องจนกระทั่งปจจุบัน
ดังนั้นหนังสือเลมนี้จึงถูกเขียนขึ้นจากประสบการณงานวิจัยโดยแท จึงประกอบดวยเนื้อหา
ทั้งทางทฤษฎี การทดลองในการเตรียมวัสดุ ตลอดจนการตรวจวัดสมบัติทางเทอรโมอิเล็กทริก
นอกจากนี้ยังไดแสดงถึงการพัฒนาเครื่องมือหรือชุดทดลองขึ้นใชเอง จึงเหมาะอยางยิ่งสําหรับ
ผูที่เริ่มศึกษางานวิจัยดานนี้ควรมีไวเพื่อศึกษาและเปนจุดเริ่มตนในการสรางแรงบันดาลใจของ
งานวิจัยที่พัฒนาจนกระทั่งประดิษฐเปนอุปกรณผลิตไฟฟาจากความรอนไดจริง
รองศาสตราจารย ดร.วิทยา อมรกิจบํารุง
ผูอํานวยการศูนยนาโนเทคโนโลยีบูรณาการ
4 ธันวาคม พ.ศ. 2557
คํานิยม
หนังสือ “เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก” รองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน
ไดพยายามรวบรวม เรียบเรียง และเขียนขึ้นมานี้ มีรายละเอียดของเนื้อหาทั้งในดานวิชาการ
การวิจัย และการประยุกต ดังนั้น นาจะเปนประโยชนตอผูสนใจทุกทานที่ตองการศึกษาหา
ความรูดวยตนเอง ตลอดจนการสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
รวมกัน เพื่อกอใหเกิดความเจริญกาวหนาของหนวยงาน สังคม และประเทศชาติตอไป
รองศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ซอมขุนทด
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
5 ธันวาคม พ.ศ. 2557
คํานิยม
หนังสือเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกเลมนี้เปนหนังสือไทยเลมแรกทางดานเทอรโม-
อิเล็กทริก ที่ไดรวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวของไวอยางครบถวน เชน ทฤษฎีปรากฏการณเทอรโม-
อิเล็กทริก วัสดุที่เกี่ยวของ วิธีการเตรียมวัสดุ วิธีการวัดวิเคราะหสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก และ
การประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟา และเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก
หนังสือเลมนี้เกิดจากประสบการณการทําวิจัยและการสอนทางดานเทอรโม-
อิเล็กทริกของ รองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน นายกสมาคมเทอรโมอิเล็กทริกไทย
คนแรกผูมีใจรักและบุกเบิกงานวิจัยทางดานเทอรโมอิเล็กทริกของประเทศไทยมาอยางยาวนาน
และตอเนื่องทําใหเกิดความตื่นตัวในกลุมนักวิจัยที่สนใจพัฒนาเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
ใหเกิดประโยชนตอประเทศอยางแทจริงเนื่องจากเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริกเปน
แหลงกําเนิดพลังงานสะอาดที่เหมาะสมกับการใชงานในประเทศ
นอกจากการใชงานในการเรียนการสอนแลว หนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนอยางยิ่ง
ตอนักวิจัยและนักประดิษฐที่สนใจประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาและเครื่องทําความเย็นเทอรโม-
อิเล็กทริก
ดร.ชัญชณา ธนชยานนท
นักวิจัยอาวุโส
ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ
6 ธันวาคม พ.ศ. 2557
คํานิยม
งานของรองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน มีความสําคัญอยางมากและ
มีอยูหลายครั้งที่ไดยินคนพูดถึงงานทางดานนี้ เมื่อครั้งไปงานพระราชทานปริญญาบัตร
ที่ราชภัฏสกลนคร ก็ยังไดยินทานอธิการบดีราชภัฏสกลนครพูดถึงงานทางดานเทคโนโลยี
เทอรโมอิเล็กทริกนี้สามารถเชิดหนาชูตานักวิทยาศาสตรไทยใหเทียบเคียงกับระดับโลก
และประโยชนที่จะตามมาดานการประยุกตในการผลิตพลังงานทดแทนเปนเรื่องสําคัญของ
ประเทศไทยและของโลก ประสบการณของรองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวันที่ได
รวบรวมวิเคราะหสังเคราะหเพื่อถายทอดงานดานนี้มาสูหนังสือ“เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก”
จึงถือไดวาเปนเรื่องที่สําคัญ และนายินดีเปนอยางยิ่ง หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะทําให
งานทางดานนี้ของประเทศยิ่งรุดหนาไปอีกระดับหนึ่ง
ศาสตราจารย ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ
นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2554
นักวิจัยดีเดนแหงชาติ ป 2557
7 ธันวาคม พ.ศ. 2557
คํานํา
ปจจุบันเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกไดรับความสนใจศึกษาและวิจัยจากนักวิจัยไทย
เปนจํานวนมากเพราะวาเปนเทคโนโลยีใหมมีวัสดุหลายกลุมที่สามารถพัฒนาเปนวัสดุเทอรโม-
อิเล็กทริกได และมีการประยุกตใชเทคโนโลยีนี้กับอุปกรณอํานวยความสะดวกมากขึ้น ดังนั้น
การเขียนหนังสือภาษาไทยเกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานในศาสตรเทอรโมอิเล็กทริกจึงมีความจําเปน
อยางยิ่งเพื่อสรางแรงจูงใจ ความเขาใจ พัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกกับ
ประเทศไทยตอไป
ผูเขียนเขียนจากประสบการณวิจัยไมนอยกวา 10 ป มีเนื้อหา 2 สวนคือ แนวคิด
พื้นฐานและตัวอยางปฏิบัติการจึงไดแบงเนื้อหาของหนังสือเลมนี้ออกเปน6บทดวยกันประกอบ
ดวยปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกการสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
สมบัติเทอรโมอิเล็กทริก เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก และเครื่องทําความเย็นเทอรโม-
อิเล็กทริก ไดพิมพครั้งที่ 1 ใน พ.ศ. 2554 ใชเปนเอกสารประกอบการสอนนักศึกษาระดับ
ปริญญาโทและเอกสาขาวิชาฟสิกสและพิมพครั้งที่2ในพ.ศ.2556โดยเพิ่มตัวอยางปฏิบัติการ
ที่1-4 เกี่ยวกับการสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกการวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริกการประดิษฐ
เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก และการประดิษฐเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก
เพื่อใหผูเรียนไดฝกทักษะการทดลองกอนตัดสินใจทําวิจัยในดานนี้ และใชเปนเอกสารประกอบ
การอบรมการประดิษฐเทอรโมอิเล็กทริกเซลลเบื้องตน แกครู นักศึกษา นักเรียน และผูสนใจ
ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผูเขียนขอขอบพระคุณศาสตราจารยดร.ปริญญาจินดาประเสริฐรองศาสตราจารย
ดร.วิทยา อมรกิจบํารุง รองศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ซอมขุนทด และ ดร.ชัญชณา ธนชยานนท
ที่กรุณาแนะนําและเขียนคํานิยมใหเห็นคุณคาและประโยชนของหนังสือเลมนี้ การไฟฟา
ฝายผลิตแหงประเทศไทยที่สนับสนุนทุนวิจัยและครุภัณฑวิจัยใหสามารถสังเคราะหวัสดุเทอรโม-
อิเล็กทริกและพัฒนาเปนเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริกตนแบบที่ใชวัตถุดิบภายในประเทศ
ไดสําเร็จ และหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอนักวิจัยและผูสนใจ
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
รองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน
หัวหนาศูนยวิจัยเทอรโมอิเล็กทริกส
นายกสมาคมเทอรโมอิเล็กทริกไทย
9 ธันวาคม พ.ศ. 2557
สารบัญ
คํานิยม
คํานํา
สารบัญ
หนา
บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก................................................................................1
1.1 ความหมายของเทอรโมอิเล็กทริก....................................................................1
1.2 ปรากฏการณซีเบก...........................................................................................2
1.3 ปรากฏการณเพลเทียร.....................................................................................4
1.4 ปรากฏการณทอมสัน.......................................................................................6
1.5 ความสัมพันธระหวางปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก......................................7
1.6 ปรากฏการณแมเหล็กจากความรอน ...............................................................9
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก.............................................................................................13
2.1 ความหมายของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก...........................................................13
2.2 หลักการและทฤษฎีของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก...............................................13
2.3 ชนิดของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก......................................................................17
2.4 การวิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและเอ็น........................................18
2.5 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมโลหะ กึ่งตัวนํา และฉนวน....................................21
2.6 ตัวอยางวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกในปจจุบัน.......................................................27
บทที่ 3 การสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก.....................................................................39
3.1 วิธีปฏิกิริยาสถานะของแข็ง............................................................................39
3.2 วิธีพอลิเมอรเชิงซอน......................................................................................43
3.3 วิธีซอลเจล .....................................................................................................48
3.4 วิธีตกตะกอนรวม...........................................................................................53
3.5 วิธีตกเคลือบดวยไอเคมี..................................................................................55
3.6 วิธีเผาผนึกแบบสปารกพลาสมา.....................................................................56
หนา
3.7 วิธีโซนรีไฟนิงและวิธีบริดจแมน......................................................................60
3.8 วิธีโชคลาสกี...................................................................................................65
3.9 วิธีไฮโดรเทอรมัล............................................................................................68
3.10 วิธีซิตริกเอสิดคอมเพล็กซ...............................................................................72
3.11 วิธีตกเคลือบดวยไฟฟาเคมี.............................................................................74
3.12 วิธีการอัดรอน................................................................................................76
3.13 วิธีการอัดรีดรอน............................................................................................77
บทที่ 4 การวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก..............................................................................81
4.1 สมบัติวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก..........................................................................81
4.2 การวัดสภาพนําไฟฟาและสภาพตานทานไฟฟา.............................................84
4.3 การวัดสัมประสิทธิ์ซีเบก................................................................................89
4.4 การวัดสภาพนําความรอน..............................................................................94
4.5 เครื่องมือวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริกของพอลล............................................101
4.6 การวิเคราะหสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก..........................................................104
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก..................................................................123
5.1 เทอรโมอิเล็กทริกเซลล.................................................................................123
5.2 เทอรโมอิเล็กทริกมอดูล...............................................................................124
5.3 เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก............................................................125
5.4 ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาของเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก.........128
5.5 การวิเคราะหเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก.......................................133
5.6 ตัวอยางเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริกและการประยุกตใชงาน.........139
บทที่ 6 เครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก..................................................................149
6.1 หลักการทําความเย็นและปมความรอนเทอรโมอิเล็กทริก............................150
6.2 สมรรถนะการทําความเย็น...........................................................................152
6.3 การจําลองเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริกดวยวิธีไฟไนตเอลิเมนต......161
หนา
6.4 การทําความเย็นตามปรากฏการณเพลเทียรและความเย็นชั่วขณะ..............168
6.5 การวิเคราะหเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก.......................................172
6.6 ตัวอยางเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริกและการประยุกตใชงาน.........176
ตัวอยางปฏิบัติการ.............................................................................................................187
ปฏิบัติการที่ 1 การสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก.............................................189
ปฏิบัติการที่ 2 การวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก......................................................199
ปฏิบัติการที่ 3 การประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก.........................209
ปฏิบัติการที่ 4 การประดิษฐเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก.........................217
บรรณานุกรม.....................................................................................................................221
ดัชนี....................................................................................................................................233
ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก
ในบทนี้จะกลาวถึงความหมายของเทอรโมอิเล็กทริก ปรากฏการณพื้นฐานทาง
เทอรโมอิเล็กทริกคือ ปรากฏการณซีเบก (Seebeck effect) ปรากฏการณเพลเทียร (Peltier
effect) และปรากฏการณทอมสัน (Thomson effect) ความสัมพันธระหวางปรากฏการณ
เทอรโมอิเล็กทริกทั้ง 3 ปรากฏการณนี้มีรากฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนความรอนเปนไฟฟาหรือ
เปลี่ยนไฟฟาไปเปนความเย็นดังนี้
1.1 ความหมายของเทอรโมอิเล็กทริก
เทอรโมอิเล็กทริก (thermoelectric) เปนคําที่เกิดจากการผสมกันระหวางคําวา
เทอรโม1
(thermo) ซึ่งมีความหมายวาความรอน และอิเล็กทริก (electric) ซึ่งมีความหมายวา
ไฟฟาดังนั้นจึงเปนปรากฏการณที่เกี่ยวของกับความรอนและไฟฟา กลาวคือปรากฏการณ
เทอรโมอิเล็กทริก2
เปนการเปลี่ยนความรอนใหเปนกระแสไฟฟาไดโดยตรง และในทางกลับกัน
ก็สามารถเปลี่ยนกระแสไฟฟาใหเปนความเย็นไดโดยตรง โดยผานวัสดุตัวกลางที่มีสมบัติของ
เทอรโมอิเล็กทริกเรียกวาวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก (thermoelectric materials) โดยกระบวนการ
เปลี่ยนกระแสไฟฟาและความเย็นจะอาศัยหลักการสั่นสะเทือนของโครงสรางภายในวัสดุเชิง
ฟสิกสควอนตัม เมื่อวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกไดรับอุณหภูมิที่แตกตางกันระหวางปลายทั้ง 2 ขาง
พบวาจะมีการถายเทอุณหภูมิจากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิตํ่ากวา นั่นคือมีการสั่นของอนุภาค
1
Thermo-เทอรโม : คําอุปสรรคที่มาจากภาษากรีก หมายถึง ความรอน
2
Thermoelectriceffectปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก:ปรากฏการณที่พลังงานความรอนเปลี่ยนไปเปนพลังงาน
ไฟฟา เชน ไฟฟาที่เกิดจากคูควบความรอน (เอกสาร [สสวท.] ใชคําวา เทอรโมอิเล็กตริก)
บทที่ 1
2
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
โฟนอน (phonon) และการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน (electron) จะไดพลังงานไฟฟาออกมา
ในทางตรงขาม เมื่อวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกมีความตางศักยไฟฟาจะมีการถายเทความตางศักยไฟฟา
จากความตางศักยไฟฟาสูงไปยังความตางศักยไฟฟาตํ่ากวาจะไดความเย็นออกมาเปนไปตาม
หลักการของเพลเทียร
1.2 ปรากฏการณซีเบก
ใน ค.ศ. 1821 โทมัส โจแฮนน ซีเบก (Thomas Johann Seebeck, German
Physicist, 1770-1831) กลาววา “เมื่อใหความรอนที่รอยตอของตัวนํา 2 ชนิดจะเกิดกระแส
ไฟฟาไหลในวงจรปด”
รูปที่ 1.1 โทมัส โจแฮนน ซีเบก
รูปที่ 1.2 แสดงความตางศักยซีเบกและการไหลของกระแสไฟฟา
3
บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก
ปรากฏการณซีเบกมีรากฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนความรอนเปนไฟฟา ความสําคัญ
ทางกายภาพพิจารณาจากปรากฏการณของการบังคับอุณหภูมิเกรเดียนตสมํ่าเสมอใหไหลไป
ตามตัวนําจํากัด ซึ่งเริ่มแรกตัวนําจะควบคุมการกระจายอยางสมํ่าเสมอของตัวพาหะประจุ แต
ภายใตอุณหภูมิเกรเดียนต (gradient temperature) หนึ่ง พาหะอิสระตาง ๆ ที่ปลายดานรอน
(hot end) จะมีพลังงานจลนมากกวาที่ปลายดานเย็น (cold end) และมีแนวโนมที่จะแพรไป
ปลายดานเย็น การเกิดขึ้นของประจุทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟากลับ (back electromotive
force หรือ back emf) ซึ่งตรงกันขามกับการไหลของประจุ ความตางศักยวงจรเปดเมื่อไมมี
กระแสไหลเกิดขึ้น เรียกวา ความตางศักยซีเบก (Seebeck voltage)
สําหรับสมการของปรากฏการณซีเบก ถาเขียนในรูปของผลตางของความตางศักย
ไฟฟาและผลตางอุณหภูมิจะไดวา
= S
ΔV = SΔT (1.1)
สมการ (1.1) สามารถเขียนใหอยูในรูปของขนาดสนามไฟฟาและอุณหภูมิเกรเดียนต
ไดวา
E = S∇T (1.2)
เมื่อ ΔV คือ ผลตางความตางศักยไฟฟา (V)
E คือ สนามไฟฟา (V m-1
)
S คือ สัมประสิทธิ์ซีเบก (V K-1
)
ΔT คือ ผลตางอุณหภูมิ (K)
∇T คือ อุณหภูมิเกรเดียนต (K)
วัสดุที่มีคาสัมประสิทธิ์ซีเบก (Seebeck coefficient) ไมเทากับศูนยจะเปนวัสดุ
เทอรโมอิเล็กทริก และจะมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนไดทั้งบวกและลบ ขึ้นอยูกับสมบัติของ
วัสดุนั้น ๆ เชน ในกรณีของสารกึ่งตัวนําชนิดเอ็น (n-type) จะมีสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนลบ
แตสารกึ่งตัวนําชนิดพี (p-type) จะมีสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนบวก
dV
dx
dT
dx
4
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
1.3 ปรากฏการณเพลเทียร
ใน ค.ศ. 1834 ยีน เพลเทียร ชารเลส อะธาเนส (Jean Charles Athanase
Peltier,FrenchPhysicist,1785-1845)กลาววา“เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลจะมีความรอนเกิดขึ้น
ที่รอยตอของตัวนํา ความรอนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงขึ้นอยูกับทิศการไหลของกระแสไฟฟา”
รูปที่ 1.3 ยีน เพลเทียร ชารเลส อะธาเนส
ปรากฏการณเพลเทียรเปนปรากฏการณหนึ่งซึ่งคูกันกับปรากฏการณซีเบก และถูก
นํามาใชประโยชนในการทําระบบหลอเย็นจากการเปลี่ยนไฟฟาเปนความเย็น(thermoelectric
refrigeration) ในที่นี้อัตราของการดูดซับความรอนแบบกลับได (rate of reversible heat
absorption, Q) ซึ่งสงมาพรอมกับการผานกระแสไฟฟา ( I ) ผานรอยตอคือ
Q = = ∏
ab
I (1.3)
โดยที่ ∏
ab
คือ สัมประสิทธิ์เพลเทียร (Peltier coefficient) ของรอยตอหาไดจาก
∏ = ST (1.4)
∏ < 0; คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนลบ
อิเล็กตรอนของอะตอมพลังงานสูงเคลื่อนยายจากขวามาซาย การไหลเวียนของ
ความรอนและกระแสไฟฟามีทิศทางตรงกันขาม แสดงดังรูปที่ 1.4
dQ
dt
.
.
5
บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก
รูปที่ 1.4 แสดงการไหลเวียนของความรอนและกระแสไฟฟาของสารกึ่งตัวนํากรณี
คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนลบ
∏ > 0; คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนบวก
อิเล็กตรอนของอะตอมหลุมพลังงานสูงเคลื่อนยายจากซายมาขวาการไหลเวียนของ
ความรอนและกระแสไฟฟามีทิศทางเดียวกันดังแสดงในรูปที่ 1.5
รูปที่ 1.5 แสดงการไหลเวียนของความรอนและกระแสไฟฟาของสารกึ่งตัวนํากรณี
คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนบวก
6
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
1.4 ปรากฏการณทอมสัน
ใน ค.ศ. 1954 วิลเลียม ทอมสัน (William Thomson, British Mathematical
Physicist, 1824-1907) หรือลอรด เคลวิน (Lord Kelvin)
รูปที่ 1.6 วิลเลียม ทอมสัน
กลาววา “เมื่อมีกระแสไฟฟาผานตัวนําไฟฟา 2 จุดที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน ทิศทาง
ความรอนขึ้นอยูกับการไหลของกระแสไฟฟาจากจุดเย็นไปจุดรอนหรือจากจุดรอนไปจุดเย็น”
ปรากฏการณทอมสันเกี่ยวของกับอัตราการแพรของความรอนแบบกลับได ΔQ =
Qh
- Qc
ซึ่งเกิดขึ้นมาเนื่องจากการผานของกระแสไฟฟาตามตัวนําเดี่ยวอันหนึ่งเมื่อมีอุณหภูมิ
เกรเดียนต ΔT = Th
- Tc
ดังแสดงในรูปที่ 1.7
รูปที่ 1.7 แสดงวงจรเทอรโมไดนามิกสของปรากฏการณทอมสัน
7
บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก
ความสัมพันธระหวาง S และ Γ เปน Γ = T เมื่อ Γ คือ สัมประสิทธิ์ทอมสัน
(Thomson coefficient)
1.5 ความสัมพันธระหวางปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก
ความสัมพันธของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียรมีตัวอยางเชน
เทอรมอคัปเปลแสดงดังรูปที่ 1.8 โดยมีตัวนํา a 2 ดานเชื่อมติดกับตัวนํา b 2 ตัว แบง
ชองวางไวสําหรับโวลตมิเตอรวัดความตางศักยทั้ง 2 ดาน สมมติวาอุณหภูมิแตกตางกัน ΔT
เกิดระหวางรอยตอทั้งสอง และที่สวนปลายของตัวนํา b ทั้ง 2 ดานจะพบวามีความตางศักย
ใหสัมประสิทธิ์ซีเบก Sab
นิยามดวยอัตราสวนของ ΔV กับ ΔT
Sab
= (1.5)
Sab
มีคาเปนบวก ถาแรงเคลื่อนไฟฟามีกระแสไฟฟาผานตัวนํา a จากรอยตอรอนถึง
รอยตอเย็น เห็นไดวา ในตําราเกาสัมประสิทธิ์ซีเบกจะถูกเรียกบอย ๆ วากําลังความรอน
(thermopower) หรือสัมประสิทธิ์ความรอน เรานิยามสัมประสิทธิ์เพลเทียร ∏
ab
สําหรับ
เทอรมอคัปเปลโดยสมมติแหลงกําเนิดแรงเคลื่อนไฟฟาเชื่อมกันโดยขามชองวางของตัวนํา
b ดังนั้น ขณะที่ขับกระแสรอบวงจรในทิศตามเข็มนาิกาสัมประสิทธิ์เพลเทียรมีคาเปนบวก
ถารอยตอที่ซึ่งกระแสเขาไปที่ a คือความรอน และรอยตอที่ออกจาก a คือความเย็น, ∏
ab
มีคา
เทากับอัตราสวนของอัตรา Q ความรอนหรือความเย็นที่แตละรอยตอกับกระแสไฟฟา I
∏
ab
= (1.6)
dS
dT
ΔV
ΔT
Q
I
รูปที่ 1.8 แสดงตัวอยางเทอรมอคัปเปล
.
.
8
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
จะเห็นไดวาการวัดสัมประสิทธิ์ซีเบกงายกวาสัมประสิทธิ์เพลเทียร และเปนทฤษฎี
การเปลี่ยนพลังงานของเทอรโมอิเล็กทริก เชน ในความสัมพันธของเคลวินที่ขยายสัมประสิทธิ์
เพลเทียรในพจนของสัมประสิทธิ์ซีเบก
∏
ab
= Sab
T (1.7)
ความสัมพันธเคลวินที่เชื่อมสัมประสิทธิ์ซีเบกกับสัมประสิทธิ์ทอมสัน Γ ความแตกตางระหวาง
สัมประสิทธิ์ทอมสันของตัวนําทั้งสอง สัมประสิทธิ์ทอมสันนิยามเปนอัตราความรอนตอหนวย
ความยาว เมื่อกระแสไฟฟาเคลื่อนที่ผานตัวนําเราสามารถหาอุณหภูมิเกรเดียนตไดจากความ
สัมพันธของเคลวิน
Γa
- Γb
= T (1.8)
สัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนนิยามใหกับตัวนําทั้งสองซึ่งควรจะมี
ความสะดวกมากถาเปนคาของวัสดุชนิดเดียวคาสมบูรณของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์
เพลเทียรเทากันกับสัมประสิทธิ์ที่แตกตางกันได ถาวัสดุชนิดที่ 2 มีคาสัมประสิทธิ์เปน
ศูนย หลักสําคัญที่เปนจริง โดยใชสารตัวนํายวดยิ่ง (superconductor) เปนวัสดุชนิดที่ 2
เปนผลใหคาสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนศูนยเนื่องจากสัมประสิทธิ์ที่ตางกัน
ระหวางทั้งสองของสารตัวนํายวดยิ่งคือศูนย แนนอนไมใชวัสดุที่อยูในสถานะสารตัวนํายวดยิ่ง
ที่อุณหภูมิปกติได ดังนั้น เปนไปไดที่คาสัมประสิทธิ์ซีเบกของวัสดุชนิดอื่นมีคาสูงที่อุณหภูมิตํ่า
อยางไรก็ตามไมใชกรณีนี้ สมการ (1.4) สามารถเขียนในรูปของ
Γ = T (1.9)
สําหรับตัวนําชนิดเดียว ถาคาสัมประสิทธิ์ซีเบกของวัสดุที่อุณหภูมิตํ่าเปนตัวกําหนดโดย
เชื่อมกับสารตัวนํายวดยิ่งก็สามารถใชสมการ (1.5) หาคาอุณหภูมิที่สูงกวาหลังจากการวัด
สัมประสิทธิ์ทอมสัน เปนกระบวนการที่เกิดจากการนําของโลหะซึ่งใชอางอิงกับวัสดุเมื่อกําหนด
คาสัมประสิทธิ์สมบูรณสําหรับสารอื่น ๆ โลหะสวนใหญจะมีคาสมบูรณของสัมประสิทธิ์ซีเบก
นอยมากเมื่อนํามาเทียบกับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่ใชงานไดจริง นั่นคือเกือบจะเปนสารกึ่งตัวนํา
dSab
dT
dS
dT
9
บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก
1.6 ปรากฏการณแมเหล็กจากความรอน
ประจุไฟฟาเปนประเด็นหลักของแรงทางขวางเมื่อเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก
ดังนั้น ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกจึงเปนสมบัติการสงผาน เปนการเปลี่ยนแปลงเมื่ออยูใน
สนามแมเหล็กและเปนปรากฏการณใหม เราเรียกวา ปรากฏการณแมเหล็กจากความรอน
(thermogalvanomagnetic effect) เพราะเปนสิ่งประดิษฐเทอรโมอิเล็กทริกและเปนวิธีใหม
ของการเปลี่ยนแปลงพลังงาน การนําความรอนและอิเล็กตรอนเปนสิ่งสําคัญที่ใชคํานวณการ
ปฏิบัติการพื้นฐานของสิ่งประดิษฐบนสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียร ซึ่งทั้งสอง
เปนปริมาณที่นอยมากเมื่ออยูในสนามแมเหล็ก จึงมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก นอกจากสนาม
มีความเขมมากและสภาพการเคลื่อนที่ของประจุมีคาสูง คาสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์
เพลเทียรก็เชนกันจะเปลี่ยนแปลงภายใตสนามแมเหล็ก B ปกติคาสัมประสิทธิ์ซีเบกจะเกิดขึ้น
เหมือนกันเมื่อมีทิศของสนามแมเหล็กตรงขามแตไมไดเกิดขึ้นเสมอไป ความแตกตางระหวาง
คาสัมประสิทธิ์ซีเบกขึ้นกับทิศของสนามที่ตรงขาม เรียกวา ปรากฏการณอัมเคอร (Umkehr
effect) สนามแมเหล็กขยายไดจากความสัมพันธของเคลวินดังสมการ (1.10)
∏(B) = TS (-B) (1.10)
เมื่อสนามแมเหล็กทางขวางใชกับตัวนํากระแส มีสนามไฟฟาในทิศที่ตั้งฉากกับกระแสและ B
นี่คือปรากฏการณฮอลล (Hall effect) ที่ยังไมไดมีความสําคัญในทันทีในการเปลี่ยนพลังงาน
แตเปนเครื่องมือที่ใชอธิบายพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของประจุและยังมีความสําคัญโดยตรงสําหรับ
การเปลี่ยนพลังงานคือปรากฏการณเนินสท(Nernsteffect)และปรากฏการณเอททิง-ชารยูเชน
(Etting-Shausen effect) ปรากฏการณเนินสทเหมือนปรากฏการณฮอลลชัดเจนโดยตัวเอง
ที่ใหโวลตในสนามแมเหล็กแตขึ้นกับอุณหภูมิเกรเดียนตหรือการผานความรอน กระแสไฟฟา
ตามยาวสัมประสิทธิ์เนินสท (Nernst coefficient) ดังสมการ (1.11)
|N| = (1.11)
dV
dy
Bz
dT
dx
10
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
คือ ศักยไฟฟาตามขวางปรากฏการณเนินสทแสดงดังรูปที่ 1.9 เปนปรากฏการณแมเหล็ก
จากความรอนสัญลักษณของปรากฏการณเนินสทไมไดขึ้นกับการเคลื่อนของประจุบวกหรือลบ
จึงตางจากปรากฏการณฮอลล ปรากฏการณเอททิง-ชารยูเชนและปรากฏการณเนินสทมีความ
สัมพันธกัน โดยปรากฏการณเอททิง-ชารยูเชนใชอุณหภูมิเกรเดียนตตามขวางเปนผลของ
สนามแมเหล็กตามขวางและผานกระแสตามยาวสัมประสิทธิ์เอททิง-ชารยูเชน(Etting-Shausen
coefficient) นิยามโดย
|P| = (1.12)
ix
คือ ความหนาแนนกระแสตามแนวยาวจะเปนความสัมพันธทางเทอรโมไดนามิก ระหวาง
สัมประสิทธิ์เอททิง-ชารยูเชน และสัมประสิทธิ์เนินสท
PK = NT (1.13)
K คือ การนําความรอนซึ่งเพิ่มเขาไปในสัมประสิทธิ์เอททิง-ชารยูเชนเปนนิยามในพจนของ
อุณหภูมิเกรเดียนตจากการผานความรอน
ความสมบูรณของปรากฏการณริกไฮ-ลีดัก(Righi-Leduceffect)มีอุณหภูมิเกรเดียนต
ตามขวางกําลังเพิ่มจากการผานความรอนในแนวยาวคาของสัมประสิทธิ์ริกไฮ-ลีดัก(Righi-Leduc
coefficient) หาไดจากสมการ
|S| = (1.14)
dT
dy
ix
Bz
dT
dy
Bz
dT
dx
dV
dy
11
บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก
รูปที่ 1.9 แสดงปรากฏการณแมเหล็กจากความรอนฮอลลเนินสทเอททิง-ชารยูเชน
และริกไฮ-ลีดัก
กลไกของปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกในโลหะแสดงดังรูปที่ 1.10 โฟนอน
เคลื่อนที่จากดานรอนสูดานเย็น แตอิเล็กตรอนอิสระสามารถเคลื่อนที่ไดทั้งสองทิศทาง
โดยอิเล็กตรอนกลุมแรกจะเรียกอิเล็กตรอนรอนเคลื่อนที่จากดานรอนสูดานเย็น เนื่องจากถูก
ขับเคลื่อนดวยพลังงานความรอนที่ไดรับ(ความรอนในหองจะลอยสูที่สูงซึ่งเย็นกวา)การสะสมของ
อิเล็กตรอนรอนนี้จะทําใหอุณหภูมิของดานเย็นมีอุณหภูมิสูงขึ้นและกอใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟา
ระหวางดานรอนที่กลายเปนขั้วไฟฟาบวกและดานเย็นที่กลายเปนขั้วไฟฟาลบแรงเคลื่อนไฟฟา
ทําใหเกิดกระแสอิเล็กตรอนเย็นอีกกลุมหนึ่งที่ไหลกลับสูดานรอน ในกรณีเชนนี้ความไมสมดุล
ของอุณหภูมิเปนเหตุใหเกิดแรงดันไฟฟา
เนินสท
12
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
รูปที่ 1.10 (a) การเกิดกําลังไฟฟาโดยปรากฏการณซีเบก
(b) การไดความเย็นหรือความรอนที่รอยตอเทอรโมอิเล็กทริก
โดยปรากฏการณเพลเทียร
ในทางกลับกันแรงดันไฟฟาก็สามารถทําใหเกิดความไมสมดุลของอุณหภูมิดวย
เชนกัน โดยเราใชแหลงไฟฟาจากภายนอกเปนตัวกําเนิดไฟฟาในแทงโลหะ ซึ่งกระแสไฟฟานี้
จะนําความรอนไปดวยทําใหอุณหภูมิที่ขั้วไฟฟาลบของแทงโลหะลดลงในขณะที่ขั้วบวกนั้นกลับ
เพิ่มสูงขึ้น คาแรงดันไฟฟาหารดวยความแตกตางของอุณหภูมิเรียกวา คาสัมประสิทธิ์ซีเบก
โดยเราเรียกวัสดุใดก็ตามที่มีคาซีเบกที่ไมเปนศูนยวาเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก (thermoelectric
materials) ซึ่งวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่ดีตองมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกมากซึ่งมักเปนโลหะและ
สารกึ่งตัวนําเนื่องจากทั้งสองมีประจุไฟฟาอิสระเปนจํานวนมาก วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่นิยม
ใชสวนใหญเปนสารกึ่งตัวนําผสมโลหะเชนซีลีเนียมเจอรเมเนียม(SeGe)เลดเทลลูไลด (PbTe)
ซึ่งมีคาซีเบกมากกวาโลหะลวน ๆ นอกจากนี้ สารกึ่งตัวนํายังมีพาหะไฟฟาอีกแบบหนึ่งคือ
โฮล (hole) ซึ่งมีประจุไฟฟาเปนบวก ในขณะที่โลหะมีเพียงแคอิเล็กตรอนเทานั้น โฮลในสาร
กึ่งตัวนําสามารถเคลื่อนที่ไดเชนเดียวกับอิเล็กตรอน และจะเคลื่อนที่จากที่รอนสูที่ที่เย็นกวา
เชนกันแตเนื่องจากโฮลมีประจุไฟฟาบวกขั้วรอนที่เคยเปนขั้วไฟฟาบวกจึงกลายเปนขั้วไฟฟาลบ
แทนสารกึ่งตัวนําอาจมีประจุไฟฟาไดทั้ง2แบบแลวแตองคประกอบทางเคมีเชนบิสมัทซีลีเนียม
เทลลูไลด ((Bi, Se)2
Te3
) ที่มีพาหะไฟฟาแบบโฮลเปนหลักและมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนบวก
ในขณะที่บิสมัทเทลลูเลียมซีลีเนียม (Bi2
(Te, Se)3
) มีพาหะเปนอิเล็กตรอนเปนหลักและมี
คาสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนลบ ซึ่งจะมีรายละเอียดแสดงในบทที่ 2
วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ในบทนี้จะกลาวถึงความหมายของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก หลักการของวัสดุ
เทอรโมอิเล็กทริก ทฤษฎีของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ชนิดของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก การ
วิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและชนิดเอ็น วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมโลหะ วัสดุ
เทอรโมอิเล็กทริกกลุมสารกึ่งตัวนําและฉนวน และตัวอยางวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
2.1 ความหมายของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก คือ วัสดุที่สามารถผันความรอนเปนกระแสไฟฟาและผัน
กระแสไฟฟาเปนความเย็นไดโดยอาศัยหลักการสั่นสะเทือนของโครงสรางภายในวัสดุเชิงควอนตัม
ซึ่งมีวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก 2 ชนิดคือ วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและชนิดเอ็น
2.2 หลักการและทฤษฎีของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
หลักการของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกมี 2 หลักการ คือ ซีเบกสําหรับการผันความรอน
เปนกระแสไฟฟาและเพลเทียรสําหรับการผันกระแสไฟฟาเปนความเย็น โดยขึ้นกับคาของ
ฟเกอรออฟเมอริท (Figure of merit, Z) นั่นคือ คาสัมประสิทธิ์ซีเบกและสภาพนําไฟฟา
ตองสูง สวนสภาพนําความรอนตองตํ่าจึงจะไดประสิทธิภาพสูง Rowe D.M. (1995 : 7) และ
Nolas G.S. (2001 : 2) สนใจวงจรเทอรโมอิเล็กทริกกับสมดุลทางพลศาสตรที่มีผลตออุณหภูมิ
เกรเดียนตและความตางศักยไฟฟา เมื่อกําหนดให j คือความหนาแนนกระแสไฟฟา และ q
คือกระแสความรอน ซึ่งมีสมการพื้นฐานของเทอรโมอิเล็กทริกดังนี้
บทที่ 2
→ →
14
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
j = σE - σS∇T (2.1)
และ
q = ϕj - STj - κ∇T (2.2)
เมื่อ σ คือ สภาพนําไฟฟา
E คือ สนามไฟฟา
S คือ สัมประสิทธิ์ซีเบก
T คือ อุณหภูมิ
ϕ คือ ศักยทางไฟฟา นั่นคือ E = -∇ϕ
κ คือ สภาพนําความรอน
จากสมการ (2.1) จะไดวา E = -S∇T เปนปรากฏการณซีเบกและจากสมการ (2.2)
สําหรับความรอนของรอยตอ (junction) เปน -ΔST j = Π j = -Δ(κ ∇T) ตอหนวยเวลาและ
ตอหนวยพื้นที่ของรอยตอ ซึ่งเปนปรากฏการณเพลเทียร ซึ่ง Π = -TΔS และ Π คือสัมประสิทธิ์
เพลเทียรจากสมการ(2.1)และ(2.2)สรุปไดวาถาตองการวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงจะตองทําให
คาของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสภาพนําไฟฟาสูง สวนสภาพนําความรอนตองตํ่า มีหลักการดังตอ
ไปนี้
2.2.1 จูล-เลนซเทอรโมอิเล็กทริกและการนําความรอน
จูล-เลนซ (Joule-Lenz) ไดอธิบายเทอรโมอิเล็กทริกและการนําความรอน ซึ่ง
ความรอนตอหนวยปริมาตรและหนวยเวลากําหนดโดย
-∇.q = E.j - j.∇(ST) + ∇.(κ∇T) (2.3)
จากสมการ(2.3)(เมื่อ∇.j=0สําหรับกระแสคงตัวซึ่งอนุรักษประจุ)หรือใชสมการ(2.3)จะไดวา
-∇.q = - T j.∇S + ∇.(κ ∇T) (2.4)
→→ →
→→ → →
→
→ →
→ →
→ →→
→ → → → → → → →
→ →
j2
σ
→ → → → →→
15
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ดังนั้น สมการ (2.4) เปนผลมาจากสนามไฟฟาภายนอก E ซึ่งในสมการ (2.4)
ทางขวามือเทอมแรกคือ การกระจายความรอนจูล-เลนซ และเทอมที่ 2 คือความรอนที่
เกี่ยวของกับปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกและเทอมที่3คือการนําความรอนและจากสมการ
(2.4) สามารถทําเปนสมการการเปลี่ยนแปลงของเอนโทรป (entropy) ดังนี้
S = = - ∫dr = ∫dr > 0 (2.5)
2.2.2 ความรอนทอมสัน
ความรอนทอมสันจะวิเคราะหสมการเชิงเสนในสมการ (2.1) และ (2.2) ซึ่งการ
พิสูจนประกอบดวยปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก ในสวนของการสงผานความรอนนอย ๆ
ที่เปนพลังงานภายนอก จากนิยามของสัมประสิทธิ์ทอมสัน Γ = T ( ) และความรอนของ
ทอมสันในสมการ (2.5) จะได
-Tj.∇S = -Tj ( ).∇T = -Γj.∇T (2.6)
และจะไดΔ Γ =-T อยางไรก็ตามตองทราบการเปลี่ยนคาเอนโทรปสัมพันธกับตําแหนง
ของ S ซึ่งไมใชธรรมชาติ ความเปนจริงความรอนทอมสันตองสอดคลองกับความรอนเพลเทียร
ในพจนแจกแจงปริมาตร และไมตอเนื่องที่รอยตอมีการขยายตัวเล็กนอย
2.2.3 สมการประสิทธิภาพและฟเกอรออฟเมอริท
สมการประสิทธิภาพตามที่ไดการวิเคราะหความรอนของปริมาตรตามความรอน
จูล-เลนซเปน จะไดวา
lA = S2
σ (ΔT)2
ตอหนวยเวลาและปริมาตร (2.7)
เมื่อ l คือ ความยาวของสารตัวอยาง
A คือ พื้นที่หนาตัดของสารตัวอยาง
ΔT คือ ผลตางอุณหภูมิ
→
∂S
∂T
∂S
∂t
∇.q
T
→ →
→ ∂S
∂T
→ →→ → →
T
∂T
∂( )∏
A
l
j2
σ
. j2
σ T + κ (∇T)2
T2
→
j2
σ
16
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
จากที่ไดกลาวมา การนําพลศาสตรความรอนคือ κ |∇T | A = ตอหนวย
เวลา ในสมการ (2.7) ความรอนเพลเทียร -STj = S2
σ T|∇T| ตอหนวยพื้นที่และตอหนวยเวลา
สามารถเขียนสมการใหมไดวา
S2
σ T|∇T| A =
เพราะฉะนั้นประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาเขียนไดเปน
η =
= (2.8)
= =
เมื่อ ηc
คือ ประสิทธิภาพผลหารของเครื่องกลคารโนตสมบูรณ (efficiency quotient of a
perfect Carnot engine) ซึ่งประสิทธิภาพคารโนตเขียนเปน ηc
= และไดเมนชันเลส
ฟเกอรออฟเมอริท (dimensionless figure of merit, ZT) เขียนดังสมการ (2.9)
ZT = = (2.9)
หากเราแทนคาสภาพนําความรอนในเทอมของโลเร็นตซจะไดสมการไดเมนชันเลสฟเกอรออฟ
เมอริทเปน
κ∇TA
l
j2
σ
lA
j2
σ
lA + S2
σ T|ΔT|A + κ |ΔT|A
S2
σ (ΔT)2
l
A
S2
σ (ΔT)2
l
A + S2
σ TΔT
l
κΔT
l
A + A
ΔT
ΔT + T + κ
S2
σ
ηc
ηc
+ 1
ZT
ΔT
T
S2
σT
κ
S2
T
ρκ
S2
σ T∇TA
l
17
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ZT = (2.10)
เมื่อ L = คือ เลขโลเร็นตซ (Lorentz number) เทากับ 2.45 × 10-8
WΩ K-2
2.3 ชนิดของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
2.3.1 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพี
วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีเปนวัสดุที่มีพาหะโฮลอิสระมากหรือมีประจุบวก
จะทําใหอิเล็กตรอนวงนอกสุดของแตละอะตอมแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนซึ่งกันและกัน หรือ
ใชอิเล็กตรอนรวมกันไดครบ แตในกรณีนี้ทําใหขาดอิเล็กตรอน 1 ตัวที่จะจับตัวกับอะตอม
ขางเคียงจึงทําใหเกิดหลุมวางของอิเล็กตรอน ซึ่งเรียกหลุมวางนี้วาโฮล และมีประจุเปนบวก
เมื่อมีความแตกตางอุณหภูมิเกิดขึ้นในวัสดุจะทําใหโฮลเกิดการเคลื่อนที่จะไดกระไฟฟาออกมา
S2
L
รูปที่ 2.1 แสดงการเคลื่อนที่ของโฮลในวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพี
κ
σ T
2.3.2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น
วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็นเปนวัสดุที่มีพาหะอิเล็กตรอนอิสระมากหรือมีประจุ
เปนลบ จะทําใหอิเล็กตรอนวงนอกสุดของแตละอะตอมแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนซึ่งกันและกัน
หรือใชอิเล็กตรอนรวมกันไดครบ ทําใหเหลืออิเล็กตรอน 1 ตัวที่ไมสามารถจับตัวกับอะตอม
18
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
รูปที่ 2.2 แสดงการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น
2.4 การวิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและเอ็น
2.4.1 วิธีการปรากฏการณฮอลล
วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและเอ็นสามารถวัดไดดวยวิธีการปรากฏการณฮอลล
(Edwin Herbert Hall, American Physicist, 1855-1938) สําหรับโลหะที่มีอิเล็กตรอนเปน
พาหะอยางเดียว ความตางศักยฮอลลมีสมการดังนี้
VH
= - (2.11)
เมื่อ I คือ กระแสไฟฟา
B คือ สนามแมเหล็ก
d คือ ความหนาของแผนตัวนํา
e คือ ประจุอิเล็กตรอน
n คือ ความหนาแนนประจุพาหะ
IB
ned
ขางเคียง เรียกอิเล็กตรอนตัวนี้วา อิเล็กตรอนอิสระซึ่งจะแสดงประจุลบออกมา เมื่อมีความ
แตกตางอุณหภูมิเกิดขึ้นในวัสดุจะทําใหอิเล็กตรอนอิสระเกิดการเคลื่อนที่จะไดกระแสไฟฟาออกมา
19
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ดังนั้น สัมประสิทธิ์ของฮอลลนิยามโดย
RH
= = - (2.12)
dVH
IB
1
ne
รูปที่ 2.3 ทิศทางของสนามแมเหล็กและกระแสไฟฟา
ในการศึกษาทางทฤษฎีจะเห็นไดวา วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดพีหรือเอ็นนั้น
ขึ้นอยูกับจํานวนของโฮลหรืออิเล็กตรอนซึ่งอยูในรูปของความหนาแนนหรือความหนาแนน
สถานะ (density of state) ซึ่งมีสมการเปนดังนี้
ความหนาแนนสถานะสําหรับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดพี คือ
Dh
(E) = [ mh
] (-E) (2.13)
เมื่อ mh
คือ มวลของโฮล
E คือ พลังงานของอิเล็กตรอน
V คือ ปริมาตรของหนวยเซลล
V
4π 2
2
h2
3
2
1
2
I
20
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
ความหนาแนนสถานะสําหรับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดเอ็น คือ
De
(E) = [ me
] (-E) (2.14)
เมื่อ me
คือ มวลของอิเล็กตรอน
ดังนั้น เราสามารถวิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดพีหรือชนิดเอ็นจาก
ความหนาแนนสถานะไดดังรูปที่ 2.4
รูปที่ 2.4 ความหนาแนนสถานะของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและชนิดเอ็น
2.4.2 วิธีสนามความรอน
วิธีสนามความรอนเปนการใหความรอนกับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกแลววัดความ
ตางศักยไฟฟาที่ไดออกมาโดยใหขั้วไฟฟาบวกอยูที่แหลงความรอนและขั้วไฟฟาลบอยูที่ผิวของ
วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ตัวอยางการวัดชนิดวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกของแคลเซียมโคบอลตออกไซด
(Ca3
Co4
O9
; Ca-349) และแคลเซียมแมงกานีสออกไซด (CaMnO3
; Ca-113) แสดงดัง
รูปที่ 2.5
V
4π 2
2
h2
3
2
1
2
21
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
รูปที่ 2.5 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและความตางศักยของแคลเซียมโคบอลตออกไซด
และแคลเซียมแมงกานีสออกไซด
จากรูปที่ 2.5 พบวาเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นคาความตางศักยไฟฟาเพิ่มขึ้น ซึ่งแคลเซียม
โคบอลตออกไซดมีความตางศักยไฟฟาสูงขึ้นในทางบวก สวนแคลเซียมแมงกานีสออกไซดมี
ศักยไฟฟาสูงขึ้นในทางลบแสดงใหเห็นวาสารแคลเซียมโคบอลตออกไซดเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ชนิดพี และแคลเซียมแมงกานีสออกไซดเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น
2.5 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมโลหะ กึ่งตัวนํา และฉนวน
2.5.1 กลุมโลหะ
การคนหาวัสดุตาง ๆ ที่มีคา ZT สูง ๆ และสามารถทํางานไดอยางครอบคลุมชวง
อุณหภูมิที่กวางที่สุดเทาที่จะทําได ดังนั้น สิ่งที่นาสนใจตอนนี้คือการประมาณเชิงเปรียบเทียบ
คา ZT ของวัสดุกลุมตาง ๆ แสดงดังรูปที่ 2.6
22
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
ในโลหะที่มีเพียงสถานะใกลระดับพลังงานแฟรมีซึ่งถูกคนพบโดยเอนรีโกแฟรมี(Enrico
Fermi, American Physicist, 1901-1954) ในกลศาสตรควอนตัมระดับพลังงานเขียนไดโดย
En
= - n2
(2.15)
เมื่อ h คือ คาคงตัว n เลขควอนตัมหลัก (n = 1, 2, 3, ...) และ L คือ ความกวางของ
บอศักยจัตุรัสจํากัด
เมื่อมีจํานวนอนุภาค N ตัว มีสปนเปน ± จะไดพลังงานสูงสุดเปน
EF
= E = ( )2
(2.16)
มีอิทธิพลตอกระแสไฟฟาแลวสัมประสิทธิ์ซีเบกจะมีคาตํ่ามาก (Ioff A.F., 1956 : 26) ไดแสดง
ใหเห็นวาสัมประสิทธิ์ซีเบกสําหรับโลหะแบบเวเลนซเดี่ยวที่ 300 K ประมาณไดเปน
S ∼ π 2 ∼ 5 μV K-1
(2.17)
รูปที่ 2.6 แสดงคา Z ของโลหะผสมที่มีการพัฒนาตั้งแต ค.ศ. 1950-2000
1
2
N
2 2mL2
h2
π 2
N
2
kB
e
kB
EF
2mL2
h2
π 2
ค.ศ.
23
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ซึ่งทําใหเราไดคา Z ∼ 3 x 10-6
K-1
ที่ 300 K จะเห็นไดวา Z มีคาคอนขางตํ่า ดังนั้น โลหะ
จึงไมใชวัสดุที่เหมาะสมที่สุดสําหรับนํามาประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก
2.5.2 กลุมสารกึ่งตัวนําและฉนวน
สารกึ่งตัวนําและฉนวนมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกสูงกวาของโลหะ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
เมื่อระดับแฟรมีวางอยูลึกลงไปภายในชองวางหวงหาม(forbiddengap)ทั้งนี้จะเห็นไดชัดเจนโดย
ทําใหพลังงานแฟรมีลดลงซึ่งวัดจากขอบของแถบการนําสําหรับอิเล็กตรอนหรือโฮลในหนวยของ
kB
T มีคามากขึ้นในสมการ
S = [Q + EF
] (2.18)
โดยที่ e คือ ประจุของอิเล็กตรอน (1.66 x 10-19
C)
Q คือ พลังงานความรอนของการสงผาน (J)
kB
คือ คาคงตัวของโบลตซมันน (1.38 x 10-23
J K-1
)
EF
คือ พลังงานแฟรมี (J)
ดังนั้นคาจํากัดของสัมประสิทธิ์ซีเบกจะถูกจํากัดโดยคาของชองวางของพลังงาน
(energy gap) ในขณะที่ระดับแฟรมีในวัสดุชนิดเอ็นเขาใกลกึ่งกลางของชองวาง [วัสดุจะกลาย
เปนแบบในตัว (intrinsic) มากขึ้น] การกระจายตาง ๆ ตอสัมประสิทธิ์ซีเบกจะถูกทําจากพาหะ
ประจุตาง ๆ ในแถบเวเลนซ ถามีประจุทั้งของอิเล็กตรอนและโฮลเกิดขึ้น สัมประสิทธิ์ของซีเบก
ที่ไดจะเทากับผลรวมของการกระจายความสัมพันธ Sn
และ Sp
นั่นคือ
S = (2.19)
เมื่อ S คือ สัมประสิทธิ์ซีเบกรวม
Sn
คือ สัมประสิทธิ์ซีเบกสารชนิดเอ็น
Sp
คือ สัมประสิทธิ์ซีเบกสารชนิดพี
σn
คือ สภาพนําไฟฟาของสารชนิดเอ็น
σ p
คือ สภาพนําไฟฟาของสารชนิดพี
kB
e
Sn
σn
+ Sp
σp
σn
+ σp
24
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
เนื่องจาก Sn
และ Sp
มีเครื่องหมายตรงกันขาม สัมประสิทธิ์ซีเบกจึงมีคาตํ่า ขนาด
ของสัมประสิทธิ์ซีเบกขึ้นกับอัตราสวนของสภาพเคลื่อนที่ได (mobility) ของพาหะสัมประสิทธิ์
ในแถบทั้งสอง ดังนั้น คาสัมประสิทธิ์ซีเบกที่สูงควรจะพบในวัสดุที่มีชองวางของพลังงานกวาง ๆ
เชน วัสดุจําพวกฉนวนที่สามารถมีคา EF
มาก ๆ และนําไปสูการมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกในระดับ
∼1 mV หรือสูงกวาได อยางไรก็ตาม สภาพนําไฟฟาสําหรับฉนวนคอนขางตํ่า ปกติแลวอยูใน
ระดับ 10-12
S cm-1
หรืออาจตํ่ากวา ดังนั้นอาจทําใหไดคา S2
σ ที่ตํ่ากวาคาที่พบโดยทั่วไปใน
สารกึ่งตัวนํา ผลอันนี้จะสามารถเห็นไดโดยพิจารณารูปที่ 2.7 และตารางที่ 2.1 ซึ่งเปนตารางที่
เปรียบเทียบคา Z สําหรับโลหะ สารกึ่งตัวนํา และฉนวนที่อุณหภูมิ 300 K
รูปที่ 2.7 แสดงการเปลี่ยนแปลงของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสภาพนําไฟฟาที่เปนฟงกชัน
ของความเขมขนของพาหะประจุอิสระ
25
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ตารางที่ 2.1 แสดงการเปรียบเทียบสมบัติการผันไฟฟาจากความรอนของโลหะ สารกึ่งตัวนํา
และฉนวน ที่อุณหภูมิ 300 K
ประสิทธิภาพของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกสามารถประเมินคาหรือเปรียบเทียบโดย
พิจารณาจากคา Z = โดยที่คา S, σ และ κ เปนคาสมบัติพื้นฐานของวัสดุ ซึ่งขึ้นตรง
ตอกันและเปนฟงกชันของความเขมขนของตัวพาหะโดยทั่วไปแลวเปลี่ยนแปลงในทางกลับกัน
ซึ่งทําใหการเพิ่มขึ้นของตัวประกอบกําลัง (power factor) S2
σ เปนไปไดยาก อยางไรก็ตาม
ทฤษฎีดั้งเดิมหลายทฤษฎีที่เกี่ยวของกับสารกึ่งตัวนําประเภทแถบกวาง (broad band
semiconductor)บอกเราไดวาสภาพเคลื่อนที่ของพาหะที่มีคาสูงๆสามารถทําใหคาสัมประสิทธิ์
ซีเบกและสภาพนําไฟฟามีคาสูงได (Chasmar R.P. และคณะ, 1959 : 1578) จากผลอันนี้ทํา
ใหโลหะผสมกึ่งตัวนําและสารประกอบกึ่งตัวนําซึ่งมีสภาพเคลื่อนที่ไดของพาหะสูงถูกนํามาศึกษา
อยางกวางขวางในฐานะที่เปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกตัวอยางของวัสดุเหลานี้เชนบิสมัทเทลลูไลด
(Bi2
Te3
) เลดเทลลูไลด (PbTe) และโลหะผสมของซิลิคอน-เจอรเมเนียม (Si-Ge)
บิสมัทเทลลูไลดเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกโลหะผสมที่ดีในอุณหภูมิตํ่าๆหรือประมาณ
ที่อุณหภูมิหอง 300 K เนื่องจากมีชองวางพลังงานที่แคบจึงสามารถนําอิเล็กตรอนหรือโฮลไดดี
ทําใหคาสัมประสิทธิ์ซีเบกไมสูงนักและยังเปนไดทั้งวัสดุชนิดเอ็นและพี แตมีสภาพนําความรอน
สูง ดังนั้น ถาตองการลดสภาพนําความรอนสามารถผสมกับวัสดุแอนติโมนีเทลลูไลด (Sb2
Te3
)
หรือบิสมัทเซลีไนด (Bi2
Se3
) ได เรียกวาเปนระบบไตรภาคเทียม (Pseudo-ternary system)
ของบิสมัทเทลลูไลด-แอนติโมนีเทลลูไลด-แอนติโมนีเซลีไนด (Bi2
Te3
-Sb2
Te3
-Sb2
Se3
) ปญหา
S2
σ
κ
สมบัติ หนวย โลหะ สารกึ่งตัวนํา ฉนวน
μV K-1
S cm-1
W m-1
K-1
V2
K-1
K-1
S
σ = neμ
κ = κe
+ κL
= T
Z
~5
106
~κe
~7.3 × 10-6
~3 × 10-6
~200
~103
~κl
~4.4 × 10-6
~2 × 10-3
~1 × 103
~10-12
~κl
~4.4 × 10-6
~5 × 10-17
κe
σ
π 3
3
2
kB
e
26
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
ของบิสมัทเทลลูไลดคือที่อุณหภูมิสูงจะเปนสารพิษแผรังสีไดและมีประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา
ลดลง (Terasaki I., 2000)
เลดเทลลูไลด (PbTe) เปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่ดีในชวงอุณหภูมิ 300-700 K
คลายกับวัสดุ เชน เลดซัลไฟด (PbS) และเลดเซลีไนด (PbSe) มีชองวางพลังงานประมาณ
0.32 eV ที่ 300 K หรือประมาณที่อุณหภูมิหอง 300 K มีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกสูงกวา Bi2
Te3
รูปที่ 2.8 คา ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมสารกึ่งตัวนําชนิดเอ็นและชนิดพี
สามารถอานเพิ่มเติมไดจาก Goldsmid H.J. (1960 : 3233) Wood C. (1988 :
459) Rowe D.M. และคณะ (1995 : 211) และ Mahan G.D. (1998 : 81)
อยางไรก็ตามวัสดุที่กลาวถึงขางตนยังมีปญหาตางสําหรับการนําไปประยุกตใชงาน
จริง ทั้งนี้เนื่องจากวัสดุเหลานี้มีราคาแพงและตองการการปกปองผิวจากการกลายเปนออกไซด
หรือการกลายเปนไอ วัสดุบางชนิดมีขีดจํากัดในเรื่องอุณหภูมิภายในเนื่องจากมีการเปลี่ยนเฟส
ที่อุณหภูมิสูง
27
บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
เมื่อคํานึงถึงการทํางานที่อุณหภูมิสูงในอากาศแลว พบวาออกไซดโลหะที่อยูใน
สถานะที่มีออกไซดอยูแลวมีความไดเปรียบ เนื่องจากวัสดุเหลานี้มีความเสถียรตอความรอน
เปนเลิศ นอกจากนี้แลวยังมีวัสดุออกไซดอีกหลายชนิดที่มีการรายงานวามีสภาพนําไฟฟาสูง
มีความเสถียรทางความรอนสูง และมีความตานทานตอการกัดกรอนไดดี ดังนั้น สารกึ่งตัวนํา
ออกไซดโลหะ (metal oxide semiconductor) จึงควรนํามาศึกษาในแงของความเปนไปได
ในการนํามาประยุกตใชเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกอุณหภูมิสูงตอไป
ในปจจุบันนี้วัสดุกึ่งตัวนําออกไซด เชน ซิงกอะลูมิเนียมออกไซด ((Zn1-x
Alx
)O2
)
แบเรียมสตรอนเทียมเลดออกไซด(BaSrPbO3
)โซเดียมโคบอลตออกไซด(Nax
Co2
O4
)แคลเซียม
โคบอลตออกไซด (CaCo12
O28
), (Ca3
Co4
O9
) ซิงอินเดียมออกไซด ((ZnO)5
In2
O3
) โซเดียม
นิกเกิลไทเทเนียมออกไซด (Nax
Nix/2
Ti1-x/2
O2
) แคดเมียมเทลลูเลียมออกไซด (Cd3
TeO6
)
โซเดียม, ลิเทียมนิกเกิลออกไซด ((Na, Li)NiO) และอื่น ๆ ไดถูกศึกษาเพื่อหาความเปนไปได
ในการนํามาใชเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
2.6 ตัวอยางวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกในปจจุบัน
จากการรายงานของ Minnich A.J. และคณะ (2009 : 155327) ไดนําเสนอสิ่งที่มี
ผลตอสมบัติวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกคือ ตองทําใหวัสดุมีโครงสรางระดับนาโน (nanostructure)
เชนซูเปอรแลตทิซ(superlattice)ควอนตัมดอต(quantumdot)เสนระดับนาโน(nanowire)
และสารประกอบเชิงซอนระดับนาโน (nanocomposite) ซึ่งคา ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก
ชนิดพีและเอ็นที่มีโครงสรางแบบนาโนแสดงดังรูปที่ 2.9 และ 2.10
28
เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก
รูปที่ 2.9 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับ ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพี
รูปที่ 2.10 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับ ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น
9789740333388
9789740333388

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf
วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdfวิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf
วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdfTeerapong Chawna
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำpanupong
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลังWijitta DevilTeacher
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตTongnapadon
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”Pitchapa Liamnopparat
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าufonon
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 

What's hot (20)

วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf
วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdfวิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf
วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf
 
การนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าการนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำ
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 

Viewers also liked

ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้Namchai Chewawiwat
 
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideasคำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing IdeasWorawisut Pinyoyang
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkAmr Thabet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)peeranat
 
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551Tos Prom
 
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.patinyasrisaad
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 

Viewers also liked (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
 
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideasคำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)
 
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
 
Oil and gas separators
Oil and gas separatorsOil and gas separators
Oil and gas separators
 
Oil and gas separators
Oil and gas separatorsOil and gas separators
Oil and gas separators
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
Separator
SeparatorSeparator
Separator
 

Similar to 9789740333388

ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Lib Rru
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ Maejo University
 
สรุปวิจัย
สรุปวิจัยสรุปวิจัย
สรุปวิจัยิี
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 
Re pongpat2551 (1)
Re pongpat2551 (1)Re pongpat2551 (1)
Re pongpat2551 (1)Poy Jongsuk
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรมYota Bhikkhu
 
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อยการอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อยsupaporn2590
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 

Similar to 9789740333388 (20)

ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
How to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPACHow to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPAC
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
 
สรุปวิจัย
สรุปวิจัยสรุปวิจัย
สรุปวิจัย
 
20 บรรณานุกรม f
20 บรรณานุกรม f20 บรรณานุกรม f
20 บรรณานุกรม f
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
E-Book_Intensive_Reading_Bibliography
E-Book_Intensive_Reading_BibliographyE-Book_Intensive_Reading_Bibliography
E-Book_Intensive_Reading_Bibliography
 
Re pongpat2551 (1)
Re pongpat2551 (1)Re pongpat2551 (1)
Re pongpat2551 (1)
 
Book st chapter1
Book st chapter1Book st chapter1
Book st chapter1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
 
Binder1
Binder1Binder1
Binder1
 
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อยการอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
 
190071010142559is
190071010142559is190071010142559is
190071010142559is
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740333388

  • 1. คํานิยม หนังสือเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกเลมนี้เปนความพยายามของ รองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน ที่ถือเปนผูบุกเบิกงานวิจัยดานเทอรโมอิเล็กทริกของเมืองไทยตั้งแตศึกษา ระดับปริญญาเอกที่ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เมื่อ พ.ศ. 2545 คือกวา 10 ปผานมาแลวและหลังจากนั้นก็ทํางานวิจัยดานนี้อยางตอเนื่องจนกระทั่งปจจุบัน ดังนั้นหนังสือเลมนี้จึงถูกเขียนขึ้นจากประสบการณงานวิจัยโดยแท จึงประกอบดวยเนื้อหา ทั้งทางทฤษฎี การทดลองในการเตรียมวัสดุ ตลอดจนการตรวจวัดสมบัติทางเทอรโมอิเล็กทริก นอกจากนี้ยังไดแสดงถึงการพัฒนาเครื่องมือหรือชุดทดลองขึ้นใชเอง จึงเหมาะอยางยิ่งสําหรับ ผูที่เริ่มศึกษางานวิจัยดานนี้ควรมีไวเพื่อศึกษาและเปนจุดเริ่มตนในการสรางแรงบันดาลใจของ งานวิจัยที่พัฒนาจนกระทั่งประดิษฐเปนอุปกรณผลิตไฟฟาจากความรอนไดจริง รองศาสตราจารย ดร.วิทยา อมรกิจบํารุง ผูอํานวยการศูนยนาโนเทคโนโลยีบูรณาการ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557
  • 2. คํานิยม หนังสือ “เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก” รองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน ไดพยายามรวบรวม เรียบเรียง และเขียนขึ้นมานี้ มีรายละเอียดของเนื้อหาทั้งในดานวิชาการ การวิจัย และการประยุกต ดังนั้น นาจะเปนประโยชนตอผูสนใจทุกทานที่ตองการศึกษาหา ความรูดวยตนเอง ตลอดจนการสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก รวมกัน เพื่อกอใหเกิดความเจริญกาวหนาของหนวยงาน สังคม และประเทศชาติตอไป รองศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ซอมขุนทด มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557
  • 3. คํานิยม หนังสือเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกเลมนี้เปนหนังสือไทยเลมแรกทางดานเทอรโม- อิเล็กทริก ที่ไดรวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวของไวอยางครบถวน เชน ทฤษฎีปรากฏการณเทอรโม- อิเล็กทริก วัสดุที่เกี่ยวของ วิธีการเตรียมวัสดุ วิธีการวัดวิเคราะหสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก และ การประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟา และเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก หนังสือเลมนี้เกิดจากประสบการณการทําวิจัยและการสอนทางดานเทอรโม- อิเล็กทริกของ รองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน นายกสมาคมเทอรโมอิเล็กทริกไทย คนแรกผูมีใจรักและบุกเบิกงานวิจัยทางดานเทอรโมอิเล็กทริกของประเทศไทยมาอยางยาวนาน และตอเนื่องทําใหเกิดความตื่นตัวในกลุมนักวิจัยที่สนใจพัฒนาเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก ใหเกิดประโยชนตอประเทศอยางแทจริงเนื่องจากเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริกเปน แหลงกําเนิดพลังงานสะอาดที่เหมาะสมกับการใชงานในประเทศ นอกจากการใชงานในการเรียนการสอนแลว หนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนอยางยิ่ง ตอนักวิจัยและนักประดิษฐที่สนใจประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาและเครื่องทําความเย็นเทอรโม- อิเล็กทริก ดร.ชัญชณา ธนชยานนท นักวิจัยอาวุโส ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2557
  • 4. คํานิยม งานของรองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน มีความสําคัญอยางมากและ มีอยูหลายครั้งที่ไดยินคนพูดถึงงานทางดานนี้ เมื่อครั้งไปงานพระราชทานปริญญาบัตร ที่ราชภัฏสกลนคร ก็ยังไดยินทานอธิการบดีราชภัฏสกลนครพูดถึงงานทางดานเทคโนโลยี เทอรโมอิเล็กทริกนี้สามารถเชิดหนาชูตานักวิทยาศาสตรไทยใหเทียบเคียงกับระดับโลก และประโยชนที่จะตามมาดานการประยุกตในการผลิตพลังงานทดแทนเปนเรื่องสําคัญของ ประเทศไทยและของโลก ประสบการณของรองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวันที่ได รวบรวมวิเคราะหสังเคราะหเพื่อถายทอดงานดานนี้มาสูหนังสือ“เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก” จึงถือไดวาเปนเรื่องที่สําคัญ และนายินดีเปนอยางยิ่ง หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะทําให งานทางดานนี้ของประเทศยิ่งรุดหนาไปอีกระดับหนึ่ง ศาสตราจารย ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2554 นักวิจัยดีเดนแหงชาติ ป 2557 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557
  • 5. คํานํา ปจจุบันเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกไดรับความสนใจศึกษาและวิจัยจากนักวิจัยไทย เปนจํานวนมากเพราะวาเปนเทคโนโลยีใหมมีวัสดุหลายกลุมที่สามารถพัฒนาเปนวัสดุเทอรโม- อิเล็กทริกได และมีการประยุกตใชเทคโนโลยีนี้กับอุปกรณอํานวยความสะดวกมากขึ้น ดังนั้น การเขียนหนังสือภาษาไทยเกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานในศาสตรเทอรโมอิเล็กทริกจึงมีความจําเปน อยางยิ่งเพื่อสรางแรงจูงใจ ความเขาใจ พัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริกกับ ประเทศไทยตอไป ผูเขียนเขียนจากประสบการณวิจัยไมนอยกวา 10 ป มีเนื้อหา 2 สวนคือ แนวคิด พื้นฐานและตัวอยางปฏิบัติการจึงไดแบงเนื้อหาของหนังสือเลมนี้ออกเปน6บทดวยกันประกอบ ดวยปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกการสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก สมบัติเทอรโมอิเล็กทริก เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก และเครื่องทําความเย็นเทอรโม- อิเล็กทริก ไดพิมพครั้งที่ 1 ใน พ.ศ. 2554 ใชเปนเอกสารประกอบการสอนนักศึกษาระดับ ปริญญาโทและเอกสาขาวิชาฟสิกสและพิมพครั้งที่2ในพ.ศ.2556โดยเพิ่มตัวอยางปฏิบัติการ ที่1-4 เกี่ยวกับการสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกการวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริกการประดิษฐ เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก และการประดิษฐเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก เพื่อใหผูเรียนไดฝกทักษะการทดลองกอนตัดสินใจทําวิจัยในดานนี้ และใชเปนเอกสารประกอบ การอบรมการประดิษฐเทอรโมอิเล็กทริกเซลลเบื้องตน แกครู นักศึกษา นักเรียน และผูสนใจ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผูเขียนขอขอบพระคุณศาสตราจารยดร.ปริญญาจินดาประเสริฐรองศาสตราจารย ดร.วิทยา อมรกิจบํารุง รองศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ซอมขุนทด และ ดร.ชัญชณา ธนชยานนท ที่กรุณาแนะนําและเขียนคํานิยมใหเห็นคุณคาและประโยชนของหนังสือเลมนี้ การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทยที่สนับสนุนทุนวิจัยและครุภัณฑวิจัยใหสามารถสังเคราะหวัสดุเทอรโม- อิเล็กทริกและพัฒนาเปนเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริกตนแบบที่ใชวัตถุดิบภายในประเทศ ไดสําเร็จ และหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอนักวิจัยและผูสนใจ เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก รองศาสตราจารย ดร.ทศวรรษ สีตะวัน หัวหนาศูนยวิจัยเทอรโมอิเล็กทริกส นายกสมาคมเทอรโมอิเล็กทริกไทย 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557
  • 6. สารบัญ คํานิยม คํานํา สารบัญ หนา บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก................................................................................1 1.1 ความหมายของเทอรโมอิเล็กทริก....................................................................1 1.2 ปรากฏการณซีเบก...........................................................................................2 1.3 ปรากฏการณเพลเทียร.....................................................................................4 1.4 ปรากฏการณทอมสัน.......................................................................................6 1.5 ความสัมพันธระหวางปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก......................................7 1.6 ปรากฏการณแมเหล็กจากความรอน ...............................................................9 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก.............................................................................................13 2.1 ความหมายของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก...........................................................13 2.2 หลักการและทฤษฎีของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก...............................................13 2.3 ชนิดของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก......................................................................17 2.4 การวิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและเอ็น........................................18 2.5 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมโลหะ กึ่งตัวนํา และฉนวน....................................21 2.6 ตัวอยางวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกในปจจุบัน.......................................................27 บทที่ 3 การสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก.....................................................................39 3.1 วิธีปฏิกิริยาสถานะของแข็ง............................................................................39 3.2 วิธีพอลิเมอรเชิงซอน......................................................................................43 3.3 วิธีซอลเจล .....................................................................................................48 3.4 วิธีตกตะกอนรวม...........................................................................................53 3.5 วิธีตกเคลือบดวยไอเคมี..................................................................................55 3.6 วิธีเผาผนึกแบบสปารกพลาสมา.....................................................................56
  • 7. หนา 3.7 วิธีโซนรีไฟนิงและวิธีบริดจแมน......................................................................60 3.8 วิธีโชคลาสกี...................................................................................................65 3.9 วิธีไฮโดรเทอรมัล............................................................................................68 3.10 วิธีซิตริกเอสิดคอมเพล็กซ...............................................................................72 3.11 วิธีตกเคลือบดวยไฟฟาเคมี.............................................................................74 3.12 วิธีการอัดรอน................................................................................................76 3.13 วิธีการอัดรีดรอน............................................................................................77 บทที่ 4 การวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก..............................................................................81 4.1 สมบัติวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก..........................................................................81 4.2 การวัดสภาพนําไฟฟาและสภาพตานทานไฟฟา.............................................84 4.3 การวัดสัมประสิทธิ์ซีเบก................................................................................89 4.4 การวัดสภาพนําความรอน..............................................................................94 4.5 เครื่องมือวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริกของพอลล............................................101 4.6 การวิเคราะหสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก..........................................................104 บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก..................................................................123 5.1 เทอรโมอิเล็กทริกเซลล.................................................................................123 5.2 เทอรโมอิเล็กทริกมอดูล...............................................................................124 5.3 เครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก............................................................125 5.4 ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาของเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก.........128 5.5 การวิเคราะหเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก.......................................133 5.6 ตัวอยางเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริกและการประยุกตใชงาน.........139 บทที่ 6 เครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก..................................................................149 6.1 หลักการทําความเย็นและปมความรอนเทอรโมอิเล็กทริก............................150 6.2 สมรรถนะการทําความเย็น...........................................................................152 6.3 การจําลองเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริกดวยวิธีไฟไนตเอลิเมนต......161
  • 8. หนา 6.4 การทําความเย็นตามปรากฏการณเพลเทียรและความเย็นชั่วขณะ..............168 6.5 การวิเคราะหเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก.......................................172 6.6 ตัวอยางเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริกและการประยุกตใชงาน.........176 ตัวอยางปฏิบัติการ.............................................................................................................187 ปฏิบัติการที่ 1 การสังเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก.............................................189 ปฏิบัติการที่ 2 การวัดสมบัติเทอรโมอิเล็กทริก......................................................199 ปฏิบัติการที่ 3 การประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก.........................209 ปฏิบัติการที่ 4 การประดิษฐเครื่องทําความเย็นเทอรโมอิเล็กทริก.........................217 บรรณานุกรม.....................................................................................................................221 ดัชนี....................................................................................................................................233
  • 9. ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก ในบทนี้จะกลาวถึงความหมายของเทอรโมอิเล็กทริก ปรากฏการณพื้นฐานทาง เทอรโมอิเล็กทริกคือ ปรากฏการณซีเบก (Seebeck effect) ปรากฏการณเพลเทียร (Peltier effect) และปรากฏการณทอมสัน (Thomson effect) ความสัมพันธระหวางปรากฏการณ เทอรโมอิเล็กทริกทั้ง 3 ปรากฏการณนี้มีรากฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนความรอนเปนไฟฟาหรือ เปลี่ยนไฟฟาไปเปนความเย็นดังนี้ 1.1 ความหมายของเทอรโมอิเล็กทริก เทอรโมอิเล็กทริก (thermoelectric) เปนคําที่เกิดจากการผสมกันระหวางคําวา เทอรโม1 (thermo) ซึ่งมีความหมายวาความรอน และอิเล็กทริก (electric) ซึ่งมีความหมายวา ไฟฟาดังนั้นจึงเปนปรากฏการณที่เกี่ยวของกับความรอนและไฟฟา กลาวคือปรากฏการณ เทอรโมอิเล็กทริก2 เปนการเปลี่ยนความรอนใหเปนกระแสไฟฟาไดโดยตรง และในทางกลับกัน ก็สามารถเปลี่ยนกระแสไฟฟาใหเปนความเย็นไดโดยตรง โดยผานวัสดุตัวกลางที่มีสมบัติของ เทอรโมอิเล็กทริกเรียกวาวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก (thermoelectric materials) โดยกระบวนการ เปลี่ยนกระแสไฟฟาและความเย็นจะอาศัยหลักการสั่นสะเทือนของโครงสรางภายในวัสดุเชิง ฟสิกสควอนตัม เมื่อวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกไดรับอุณหภูมิที่แตกตางกันระหวางปลายทั้ง 2 ขาง พบวาจะมีการถายเทอุณหภูมิจากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิตํ่ากวา นั่นคือมีการสั่นของอนุภาค 1 Thermo-เทอรโม : คําอุปสรรคที่มาจากภาษากรีก หมายถึง ความรอน 2 Thermoelectriceffectปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก:ปรากฏการณที่พลังงานความรอนเปลี่ยนไปเปนพลังงาน ไฟฟา เชน ไฟฟาที่เกิดจากคูควบความรอน (เอกสาร [สสวท.] ใชคําวา เทอรโมอิเล็กตริก) บทที่ 1
  • 10. 2 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก โฟนอน (phonon) และการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน (electron) จะไดพลังงานไฟฟาออกมา ในทางตรงขาม เมื่อวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกมีความตางศักยไฟฟาจะมีการถายเทความตางศักยไฟฟา จากความตางศักยไฟฟาสูงไปยังความตางศักยไฟฟาตํ่ากวาจะไดความเย็นออกมาเปนไปตาม หลักการของเพลเทียร 1.2 ปรากฏการณซีเบก ใน ค.ศ. 1821 โทมัส โจแฮนน ซีเบก (Thomas Johann Seebeck, German Physicist, 1770-1831) กลาววา “เมื่อใหความรอนที่รอยตอของตัวนํา 2 ชนิดจะเกิดกระแส ไฟฟาไหลในวงจรปด” รูปที่ 1.1 โทมัส โจแฮนน ซีเบก รูปที่ 1.2 แสดงความตางศักยซีเบกและการไหลของกระแสไฟฟา
  • 11. 3 บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก ปรากฏการณซีเบกมีรากฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนความรอนเปนไฟฟา ความสําคัญ ทางกายภาพพิจารณาจากปรากฏการณของการบังคับอุณหภูมิเกรเดียนตสมํ่าเสมอใหไหลไป ตามตัวนําจํากัด ซึ่งเริ่มแรกตัวนําจะควบคุมการกระจายอยางสมํ่าเสมอของตัวพาหะประจุ แต ภายใตอุณหภูมิเกรเดียนต (gradient temperature) หนึ่ง พาหะอิสระตาง ๆ ที่ปลายดานรอน (hot end) จะมีพลังงานจลนมากกวาที่ปลายดานเย็น (cold end) และมีแนวโนมที่จะแพรไป ปลายดานเย็น การเกิดขึ้นของประจุทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟากลับ (back electromotive force หรือ back emf) ซึ่งตรงกันขามกับการไหลของประจุ ความตางศักยวงจรเปดเมื่อไมมี กระแสไหลเกิดขึ้น เรียกวา ความตางศักยซีเบก (Seebeck voltage) สําหรับสมการของปรากฏการณซีเบก ถาเขียนในรูปของผลตางของความตางศักย ไฟฟาและผลตางอุณหภูมิจะไดวา = S ΔV = SΔT (1.1) สมการ (1.1) สามารถเขียนใหอยูในรูปของขนาดสนามไฟฟาและอุณหภูมิเกรเดียนต ไดวา E = S∇T (1.2) เมื่อ ΔV คือ ผลตางความตางศักยไฟฟา (V) E คือ สนามไฟฟา (V m-1 ) S คือ สัมประสิทธิ์ซีเบก (V K-1 ) ΔT คือ ผลตางอุณหภูมิ (K) ∇T คือ อุณหภูมิเกรเดียนต (K) วัสดุที่มีคาสัมประสิทธิ์ซีเบก (Seebeck coefficient) ไมเทากับศูนยจะเปนวัสดุ เทอรโมอิเล็กทริก และจะมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนไดทั้งบวกและลบ ขึ้นอยูกับสมบัติของ วัสดุนั้น ๆ เชน ในกรณีของสารกึ่งตัวนําชนิดเอ็น (n-type) จะมีสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนลบ แตสารกึ่งตัวนําชนิดพี (p-type) จะมีสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนบวก dV dx dT dx
  • 12. 4 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก 1.3 ปรากฏการณเพลเทียร ใน ค.ศ. 1834 ยีน เพลเทียร ชารเลส อะธาเนส (Jean Charles Athanase Peltier,FrenchPhysicist,1785-1845)กลาววา“เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลจะมีความรอนเกิดขึ้น ที่รอยตอของตัวนํา ความรอนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงขึ้นอยูกับทิศการไหลของกระแสไฟฟา” รูปที่ 1.3 ยีน เพลเทียร ชารเลส อะธาเนส ปรากฏการณเพลเทียรเปนปรากฏการณหนึ่งซึ่งคูกันกับปรากฏการณซีเบก และถูก นํามาใชประโยชนในการทําระบบหลอเย็นจากการเปลี่ยนไฟฟาเปนความเย็น(thermoelectric refrigeration) ในที่นี้อัตราของการดูดซับความรอนแบบกลับได (rate of reversible heat absorption, Q) ซึ่งสงมาพรอมกับการผานกระแสไฟฟา ( I ) ผานรอยตอคือ Q = = ∏ ab I (1.3) โดยที่ ∏ ab คือ สัมประสิทธิ์เพลเทียร (Peltier coefficient) ของรอยตอหาไดจาก ∏ = ST (1.4) ∏ < 0; คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนลบ อิเล็กตรอนของอะตอมพลังงานสูงเคลื่อนยายจากขวามาซาย การไหลเวียนของ ความรอนและกระแสไฟฟามีทิศทางตรงกันขาม แสดงดังรูปที่ 1.4 dQ dt . .
  • 13. 5 บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก รูปที่ 1.4 แสดงการไหลเวียนของความรอนและกระแสไฟฟาของสารกึ่งตัวนํากรณี คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนลบ ∏ > 0; คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนบวก อิเล็กตรอนของอะตอมหลุมพลังงานสูงเคลื่อนยายจากซายมาขวาการไหลเวียนของ ความรอนและกระแสไฟฟามีทิศทางเดียวกันดังแสดงในรูปที่ 1.5 รูปที่ 1.5 แสดงการไหลเวียนของความรอนและกระแสไฟฟาของสารกึ่งตัวนํากรณี คาสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนบวก
  • 14. 6 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก 1.4 ปรากฏการณทอมสัน ใน ค.ศ. 1954 วิลเลียม ทอมสัน (William Thomson, British Mathematical Physicist, 1824-1907) หรือลอรด เคลวิน (Lord Kelvin) รูปที่ 1.6 วิลเลียม ทอมสัน กลาววา “เมื่อมีกระแสไฟฟาผานตัวนําไฟฟา 2 จุดที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน ทิศทาง ความรอนขึ้นอยูกับการไหลของกระแสไฟฟาจากจุดเย็นไปจุดรอนหรือจากจุดรอนไปจุดเย็น” ปรากฏการณทอมสันเกี่ยวของกับอัตราการแพรของความรอนแบบกลับได ΔQ = Qh - Qc ซึ่งเกิดขึ้นมาเนื่องจากการผานของกระแสไฟฟาตามตัวนําเดี่ยวอันหนึ่งเมื่อมีอุณหภูมิ เกรเดียนต ΔT = Th - Tc ดังแสดงในรูปที่ 1.7 รูปที่ 1.7 แสดงวงจรเทอรโมไดนามิกสของปรากฏการณทอมสัน
  • 15. 7 บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก ความสัมพันธระหวาง S และ Γ เปน Γ = T เมื่อ Γ คือ สัมประสิทธิ์ทอมสัน (Thomson coefficient) 1.5 ความสัมพันธระหวางปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก ความสัมพันธของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียรมีตัวอยางเชน เทอรมอคัปเปลแสดงดังรูปที่ 1.8 โดยมีตัวนํา a 2 ดานเชื่อมติดกับตัวนํา b 2 ตัว แบง ชองวางไวสําหรับโวลตมิเตอรวัดความตางศักยทั้ง 2 ดาน สมมติวาอุณหภูมิแตกตางกัน ΔT เกิดระหวางรอยตอทั้งสอง และที่สวนปลายของตัวนํา b ทั้ง 2 ดานจะพบวามีความตางศักย ใหสัมประสิทธิ์ซีเบก Sab นิยามดวยอัตราสวนของ ΔV กับ ΔT Sab = (1.5) Sab มีคาเปนบวก ถาแรงเคลื่อนไฟฟามีกระแสไฟฟาผานตัวนํา a จากรอยตอรอนถึง รอยตอเย็น เห็นไดวา ในตําราเกาสัมประสิทธิ์ซีเบกจะถูกเรียกบอย ๆ วากําลังความรอน (thermopower) หรือสัมประสิทธิ์ความรอน เรานิยามสัมประสิทธิ์เพลเทียร ∏ ab สําหรับ เทอรมอคัปเปลโดยสมมติแหลงกําเนิดแรงเคลื่อนไฟฟาเชื่อมกันโดยขามชองวางของตัวนํา b ดังนั้น ขณะที่ขับกระแสรอบวงจรในทิศตามเข็มนาิกาสัมประสิทธิ์เพลเทียรมีคาเปนบวก ถารอยตอที่ซึ่งกระแสเขาไปที่ a คือความรอน และรอยตอที่ออกจาก a คือความเย็น, ∏ ab มีคา เทากับอัตราสวนของอัตรา Q ความรอนหรือความเย็นที่แตละรอยตอกับกระแสไฟฟา I ∏ ab = (1.6) dS dT ΔV ΔT Q I รูปที่ 1.8 แสดงตัวอยางเทอรมอคัปเปล . .
  • 16. 8 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก จะเห็นไดวาการวัดสัมประสิทธิ์ซีเบกงายกวาสัมประสิทธิ์เพลเทียร และเปนทฤษฎี การเปลี่ยนพลังงานของเทอรโมอิเล็กทริก เชน ในความสัมพันธของเคลวินที่ขยายสัมประสิทธิ์ เพลเทียรในพจนของสัมประสิทธิ์ซีเบก ∏ ab = Sab T (1.7) ความสัมพันธเคลวินที่เชื่อมสัมประสิทธิ์ซีเบกกับสัมประสิทธิ์ทอมสัน Γ ความแตกตางระหวาง สัมประสิทธิ์ทอมสันของตัวนําทั้งสอง สัมประสิทธิ์ทอมสันนิยามเปนอัตราความรอนตอหนวย ความยาว เมื่อกระแสไฟฟาเคลื่อนที่ผานตัวนําเราสามารถหาอุณหภูมิเกรเดียนตไดจากความ สัมพันธของเคลวิน Γa - Γb = T (1.8) สัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนนิยามใหกับตัวนําทั้งสองซึ่งควรจะมี ความสะดวกมากถาเปนคาของวัสดุชนิดเดียวคาสมบูรณของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์ เพลเทียรเทากันกับสัมประสิทธิ์ที่แตกตางกันได ถาวัสดุชนิดที่ 2 มีคาสัมประสิทธิ์เปน ศูนย หลักสําคัญที่เปนจริง โดยใชสารตัวนํายวดยิ่ง (superconductor) เปนวัสดุชนิดที่ 2 เปนผลใหคาสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียรเปนศูนยเนื่องจากสัมประสิทธิ์ที่ตางกัน ระหวางทั้งสองของสารตัวนํายวดยิ่งคือศูนย แนนอนไมใชวัสดุที่อยูในสถานะสารตัวนํายวดยิ่ง ที่อุณหภูมิปกติได ดังนั้น เปนไปไดที่คาสัมประสิทธิ์ซีเบกของวัสดุชนิดอื่นมีคาสูงที่อุณหภูมิตํ่า อยางไรก็ตามไมใชกรณีนี้ สมการ (1.4) สามารถเขียนในรูปของ Γ = T (1.9) สําหรับตัวนําชนิดเดียว ถาคาสัมประสิทธิ์ซีเบกของวัสดุที่อุณหภูมิตํ่าเปนตัวกําหนดโดย เชื่อมกับสารตัวนํายวดยิ่งก็สามารถใชสมการ (1.5) หาคาอุณหภูมิที่สูงกวาหลังจากการวัด สัมประสิทธิ์ทอมสัน เปนกระบวนการที่เกิดจากการนําของโลหะซึ่งใชอางอิงกับวัสดุเมื่อกําหนด คาสัมประสิทธิ์สมบูรณสําหรับสารอื่น ๆ โลหะสวนใหญจะมีคาสมบูรณของสัมประสิทธิ์ซีเบก นอยมากเมื่อนํามาเทียบกับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่ใชงานไดจริง นั่นคือเกือบจะเปนสารกึ่งตัวนํา dSab dT dS dT
  • 17. 9 บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก 1.6 ปรากฏการณแมเหล็กจากความรอน ประจุไฟฟาเปนประเด็นหลักของแรงทางขวางเมื่อเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก ดังนั้น ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกจึงเปนสมบัติการสงผาน เปนการเปลี่ยนแปลงเมื่ออยูใน สนามแมเหล็กและเปนปรากฏการณใหม เราเรียกวา ปรากฏการณแมเหล็กจากความรอน (thermogalvanomagnetic effect) เพราะเปนสิ่งประดิษฐเทอรโมอิเล็กทริกและเปนวิธีใหม ของการเปลี่ยนแปลงพลังงาน การนําความรอนและอิเล็กตรอนเปนสิ่งสําคัญที่ใชคํานวณการ ปฏิบัติการพื้นฐานของสิ่งประดิษฐบนสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์เพลเทียร ซึ่งทั้งสอง เปนปริมาณที่นอยมากเมื่ออยูในสนามแมเหล็ก จึงมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก นอกจากสนาม มีความเขมมากและสภาพการเคลื่อนที่ของประจุมีคาสูง คาสัมประสิทธิ์ซีเบกและสัมประสิทธิ์ เพลเทียรก็เชนกันจะเปลี่ยนแปลงภายใตสนามแมเหล็ก B ปกติคาสัมประสิทธิ์ซีเบกจะเกิดขึ้น เหมือนกันเมื่อมีทิศของสนามแมเหล็กตรงขามแตไมไดเกิดขึ้นเสมอไป ความแตกตางระหวาง คาสัมประสิทธิ์ซีเบกขึ้นกับทิศของสนามที่ตรงขาม เรียกวา ปรากฏการณอัมเคอร (Umkehr effect) สนามแมเหล็กขยายไดจากความสัมพันธของเคลวินดังสมการ (1.10) ∏(B) = TS (-B) (1.10) เมื่อสนามแมเหล็กทางขวางใชกับตัวนํากระแส มีสนามไฟฟาในทิศที่ตั้งฉากกับกระแสและ B นี่คือปรากฏการณฮอลล (Hall effect) ที่ยังไมไดมีความสําคัญในทันทีในการเปลี่ยนพลังงาน แตเปนเครื่องมือที่ใชอธิบายพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของประจุและยังมีความสําคัญโดยตรงสําหรับ การเปลี่ยนพลังงานคือปรากฏการณเนินสท(Nernsteffect)และปรากฏการณเอททิง-ชารยูเชน (Etting-Shausen effect) ปรากฏการณเนินสทเหมือนปรากฏการณฮอลลชัดเจนโดยตัวเอง ที่ใหโวลตในสนามแมเหล็กแตขึ้นกับอุณหภูมิเกรเดียนตหรือการผานความรอน กระแสไฟฟา ตามยาวสัมประสิทธิ์เนินสท (Nernst coefficient) ดังสมการ (1.11) |N| = (1.11) dV dy Bz dT dx
  • 18. 10 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก คือ ศักยไฟฟาตามขวางปรากฏการณเนินสทแสดงดังรูปที่ 1.9 เปนปรากฏการณแมเหล็ก จากความรอนสัญลักษณของปรากฏการณเนินสทไมไดขึ้นกับการเคลื่อนของประจุบวกหรือลบ จึงตางจากปรากฏการณฮอลล ปรากฏการณเอททิง-ชารยูเชนและปรากฏการณเนินสทมีความ สัมพันธกัน โดยปรากฏการณเอททิง-ชารยูเชนใชอุณหภูมิเกรเดียนตตามขวางเปนผลของ สนามแมเหล็กตามขวางและผานกระแสตามยาวสัมประสิทธิ์เอททิง-ชารยูเชน(Etting-Shausen coefficient) นิยามโดย |P| = (1.12) ix คือ ความหนาแนนกระแสตามแนวยาวจะเปนความสัมพันธทางเทอรโมไดนามิก ระหวาง สัมประสิทธิ์เอททิง-ชารยูเชน และสัมประสิทธิ์เนินสท PK = NT (1.13) K คือ การนําความรอนซึ่งเพิ่มเขาไปในสัมประสิทธิ์เอททิง-ชารยูเชนเปนนิยามในพจนของ อุณหภูมิเกรเดียนตจากการผานความรอน ความสมบูรณของปรากฏการณริกไฮ-ลีดัก(Righi-Leduceffect)มีอุณหภูมิเกรเดียนต ตามขวางกําลังเพิ่มจากการผานความรอนในแนวยาวคาของสัมประสิทธิ์ริกไฮ-ลีดัก(Righi-Leduc coefficient) หาไดจากสมการ |S| = (1.14) dT dy ix Bz dT dy Bz dT dx dV dy
  • 19. 11 บทที่ 1 ปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก รูปที่ 1.9 แสดงปรากฏการณแมเหล็กจากความรอนฮอลลเนินสทเอททิง-ชารยูเชน และริกไฮ-ลีดัก กลไกของปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกในโลหะแสดงดังรูปที่ 1.10 โฟนอน เคลื่อนที่จากดานรอนสูดานเย็น แตอิเล็กตรอนอิสระสามารถเคลื่อนที่ไดทั้งสองทิศทาง โดยอิเล็กตรอนกลุมแรกจะเรียกอิเล็กตรอนรอนเคลื่อนที่จากดานรอนสูดานเย็น เนื่องจากถูก ขับเคลื่อนดวยพลังงานความรอนที่ไดรับ(ความรอนในหองจะลอยสูที่สูงซึ่งเย็นกวา)การสะสมของ อิเล็กตรอนรอนนี้จะทําใหอุณหภูมิของดานเย็นมีอุณหภูมิสูงขึ้นและกอใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟา ระหวางดานรอนที่กลายเปนขั้วไฟฟาบวกและดานเย็นที่กลายเปนขั้วไฟฟาลบแรงเคลื่อนไฟฟา ทําใหเกิดกระแสอิเล็กตรอนเย็นอีกกลุมหนึ่งที่ไหลกลับสูดานรอน ในกรณีเชนนี้ความไมสมดุล ของอุณหภูมิเปนเหตุใหเกิดแรงดันไฟฟา เนินสท
  • 20. 12 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก รูปที่ 1.10 (a) การเกิดกําลังไฟฟาโดยปรากฏการณซีเบก (b) การไดความเย็นหรือความรอนที่รอยตอเทอรโมอิเล็กทริก โดยปรากฏการณเพลเทียร ในทางกลับกันแรงดันไฟฟาก็สามารถทําใหเกิดความไมสมดุลของอุณหภูมิดวย เชนกัน โดยเราใชแหลงไฟฟาจากภายนอกเปนตัวกําเนิดไฟฟาในแทงโลหะ ซึ่งกระแสไฟฟานี้ จะนําความรอนไปดวยทําใหอุณหภูมิที่ขั้วไฟฟาลบของแทงโลหะลดลงในขณะที่ขั้วบวกนั้นกลับ เพิ่มสูงขึ้น คาแรงดันไฟฟาหารดวยความแตกตางของอุณหภูมิเรียกวา คาสัมประสิทธิ์ซีเบก โดยเราเรียกวัสดุใดก็ตามที่มีคาซีเบกที่ไมเปนศูนยวาเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก (thermoelectric materials) ซึ่งวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่ดีตองมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกมากซึ่งมักเปนโลหะและ สารกึ่งตัวนําเนื่องจากทั้งสองมีประจุไฟฟาอิสระเปนจํานวนมาก วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่นิยม ใชสวนใหญเปนสารกึ่งตัวนําผสมโลหะเชนซีลีเนียมเจอรเมเนียม(SeGe)เลดเทลลูไลด (PbTe) ซึ่งมีคาซีเบกมากกวาโลหะลวน ๆ นอกจากนี้ สารกึ่งตัวนํายังมีพาหะไฟฟาอีกแบบหนึ่งคือ โฮล (hole) ซึ่งมีประจุไฟฟาเปนบวก ในขณะที่โลหะมีเพียงแคอิเล็กตรอนเทานั้น โฮลในสาร กึ่งตัวนําสามารถเคลื่อนที่ไดเชนเดียวกับอิเล็กตรอน และจะเคลื่อนที่จากที่รอนสูที่ที่เย็นกวา เชนกันแตเนื่องจากโฮลมีประจุไฟฟาบวกขั้วรอนที่เคยเปนขั้วไฟฟาบวกจึงกลายเปนขั้วไฟฟาลบ แทนสารกึ่งตัวนําอาจมีประจุไฟฟาไดทั้ง2แบบแลวแตองคประกอบทางเคมีเชนบิสมัทซีลีเนียม เทลลูไลด ((Bi, Se)2 Te3 ) ที่มีพาหะไฟฟาแบบโฮลเปนหลักและมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนบวก ในขณะที่บิสมัทเทลลูเลียมซีลีเนียม (Bi2 (Te, Se)3 ) มีพาหะเปนอิเล็กตรอนเปนหลักและมี คาสัมประสิทธิ์ซีเบกเปนลบ ซึ่งจะมีรายละเอียดแสดงในบทที่ 2
  • 21. วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ในบทนี้จะกลาวถึงความหมายของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก หลักการของวัสดุ เทอรโมอิเล็กทริก ทฤษฎีของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ชนิดของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก การ วิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและชนิดเอ็น วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมโลหะ วัสดุ เทอรโมอิเล็กทริกกลุมสารกึ่งตัวนําและฉนวน และตัวอยางวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก 2.1 ความหมายของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก คือ วัสดุที่สามารถผันความรอนเปนกระแสไฟฟาและผัน กระแสไฟฟาเปนความเย็นไดโดยอาศัยหลักการสั่นสะเทือนของโครงสรางภายในวัสดุเชิงควอนตัม ซึ่งมีวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก 2 ชนิดคือ วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและชนิดเอ็น 2.2 หลักการและทฤษฎีของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก หลักการของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกมี 2 หลักการ คือ ซีเบกสําหรับการผันความรอน เปนกระแสไฟฟาและเพลเทียรสําหรับการผันกระแสไฟฟาเปนความเย็น โดยขึ้นกับคาของ ฟเกอรออฟเมอริท (Figure of merit, Z) นั่นคือ คาสัมประสิทธิ์ซีเบกและสภาพนําไฟฟา ตองสูง สวนสภาพนําความรอนตองตํ่าจึงจะไดประสิทธิภาพสูง Rowe D.M. (1995 : 7) และ Nolas G.S. (2001 : 2) สนใจวงจรเทอรโมอิเล็กทริกกับสมดุลทางพลศาสตรที่มีผลตออุณหภูมิ เกรเดียนตและความตางศักยไฟฟา เมื่อกําหนดให j คือความหนาแนนกระแสไฟฟา และ q คือกระแสความรอน ซึ่งมีสมการพื้นฐานของเทอรโมอิเล็กทริกดังนี้ บทที่ 2 → →
  • 22. 14 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก j = σE - σS∇T (2.1) และ q = ϕj - STj - κ∇T (2.2) เมื่อ σ คือ สภาพนําไฟฟา E คือ สนามไฟฟา S คือ สัมประสิทธิ์ซีเบก T คือ อุณหภูมิ ϕ คือ ศักยทางไฟฟา นั่นคือ E = -∇ϕ κ คือ สภาพนําความรอน จากสมการ (2.1) จะไดวา E = -S∇T เปนปรากฏการณซีเบกและจากสมการ (2.2) สําหรับความรอนของรอยตอ (junction) เปน -ΔST j = Π j = -Δ(κ ∇T) ตอหนวยเวลาและ ตอหนวยพื้นที่ของรอยตอ ซึ่งเปนปรากฏการณเพลเทียร ซึ่ง Π = -TΔS และ Π คือสัมประสิทธิ์ เพลเทียรจากสมการ(2.1)และ(2.2)สรุปไดวาถาตองการวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงจะตองทําให คาของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสภาพนําไฟฟาสูง สวนสภาพนําความรอนตองตํ่า มีหลักการดังตอ ไปนี้ 2.2.1 จูล-เลนซเทอรโมอิเล็กทริกและการนําความรอน จูล-เลนซ (Joule-Lenz) ไดอธิบายเทอรโมอิเล็กทริกและการนําความรอน ซึ่ง ความรอนตอหนวยปริมาตรและหนวยเวลากําหนดโดย -∇.q = E.j - j.∇(ST) + ∇.(κ∇T) (2.3) จากสมการ(2.3)(เมื่อ∇.j=0สําหรับกระแสคงตัวซึ่งอนุรักษประจุ)หรือใชสมการ(2.3)จะไดวา -∇.q = - T j.∇S + ∇.(κ ∇T) (2.4) →→ → →→ → → → → → → → → →→ → → → → → → → → → → j2 σ → → → → →→
  • 23. 15 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ดังนั้น สมการ (2.4) เปนผลมาจากสนามไฟฟาภายนอก E ซึ่งในสมการ (2.4) ทางขวามือเทอมแรกคือ การกระจายความรอนจูล-เลนซ และเทอมที่ 2 คือความรอนที่ เกี่ยวของกับปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริกและเทอมที่3คือการนําความรอนและจากสมการ (2.4) สามารถทําเปนสมการการเปลี่ยนแปลงของเอนโทรป (entropy) ดังนี้ S = = - ∫dr = ∫dr > 0 (2.5) 2.2.2 ความรอนทอมสัน ความรอนทอมสันจะวิเคราะหสมการเชิงเสนในสมการ (2.1) และ (2.2) ซึ่งการ พิสูจนประกอบดวยปรากฏการณเทอรโมอิเล็กทริก ในสวนของการสงผานความรอนนอย ๆ ที่เปนพลังงานภายนอก จากนิยามของสัมประสิทธิ์ทอมสัน Γ = T ( ) และความรอนของ ทอมสันในสมการ (2.5) จะได -Tj.∇S = -Tj ( ).∇T = -Γj.∇T (2.6) และจะไดΔ Γ =-T อยางไรก็ตามตองทราบการเปลี่ยนคาเอนโทรปสัมพันธกับตําแหนง ของ S ซึ่งไมใชธรรมชาติ ความเปนจริงความรอนทอมสันตองสอดคลองกับความรอนเพลเทียร ในพจนแจกแจงปริมาตร และไมตอเนื่องที่รอยตอมีการขยายตัวเล็กนอย 2.2.3 สมการประสิทธิภาพและฟเกอรออฟเมอริท สมการประสิทธิภาพตามที่ไดการวิเคราะหความรอนของปริมาตรตามความรอน จูล-เลนซเปน จะไดวา lA = S2 σ (ΔT)2 ตอหนวยเวลาและปริมาตร (2.7) เมื่อ l คือ ความยาวของสารตัวอยาง A คือ พื้นที่หนาตัดของสารตัวอยาง ΔT คือ ผลตางอุณหภูมิ → ∂S ∂T ∂S ∂t ∇.q T → → → ∂S ∂T → →→ → → T ∂T ∂( )∏ A l j2 σ . j2 σ T + κ (∇T)2 T2 → j2 σ
  • 24. 16 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก จากที่ไดกลาวมา การนําพลศาสตรความรอนคือ κ |∇T | A = ตอหนวย เวลา ในสมการ (2.7) ความรอนเพลเทียร -STj = S2 σ T|∇T| ตอหนวยพื้นที่และตอหนวยเวลา สามารถเขียนสมการใหมไดวา S2 σ T|∇T| A = เพราะฉะนั้นประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาเขียนไดเปน η = = (2.8) = = เมื่อ ηc คือ ประสิทธิภาพผลหารของเครื่องกลคารโนตสมบูรณ (efficiency quotient of a perfect Carnot engine) ซึ่งประสิทธิภาพคารโนตเขียนเปน ηc = และไดเมนชันเลส ฟเกอรออฟเมอริท (dimensionless figure of merit, ZT) เขียนดังสมการ (2.9) ZT = = (2.9) หากเราแทนคาสภาพนําความรอนในเทอมของโลเร็นตซจะไดสมการไดเมนชันเลสฟเกอรออฟ เมอริทเปน κ∇TA l j2 σ lA j2 σ lA + S2 σ T|ΔT|A + κ |ΔT|A S2 σ (ΔT)2 l A S2 σ (ΔT)2 l A + S2 σ TΔT l κΔT l A + A ΔT ΔT + T + κ S2 σ ηc ηc + 1 ZT ΔT T S2 σT κ S2 T ρκ S2 σ T∇TA l
  • 25. 17 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ZT = (2.10) เมื่อ L = คือ เลขโลเร็นตซ (Lorentz number) เทากับ 2.45 × 10-8 WΩ K-2 2.3 ชนิดของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก 2.3.1 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพี วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีเปนวัสดุที่มีพาหะโฮลอิสระมากหรือมีประจุบวก จะทําใหอิเล็กตรอนวงนอกสุดของแตละอะตอมแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนซึ่งกันและกัน หรือ ใชอิเล็กตรอนรวมกันไดครบ แตในกรณีนี้ทําใหขาดอิเล็กตรอน 1 ตัวที่จะจับตัวกับอะตอม ขางเคียงจึงทําใหเกิดหลุมวางของอิเล็กตรอน ซึ่งเรียกหลุมวางนี้วาโฮล และมีประจุเปนบวก เมื่อมีความแตกตางอุณหภูมิเกิดขึ้นในวัสดุจะทําใหโฮลเกิดการเคลื่อนที่จะไดกระไฟฟาออกมา S2 L รูปที่ 2.1 แสดงการเคลื่อนที่ของโฮลในวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพี κ σ T 2.3.2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็นเปนวัสดุที่มีพาหะอิเล็กตรอนอิสระมากหรือมีประจุ เปนลบ จะทําใหอิเล็กตรอนวงนอกสุดของแตละอะตอมแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนซึ่งกันและกัน หรือใชอิเล็กตรอนรวมกันไดครบ ทําใหเหลืออิเล็กตรอน 1 ตัวที่ไมสามารถจับตัวกับอะตอม
  • 26. 18 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก รูปที่ 2.2 แสดงการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น 2.4 การวิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและเอ็น 2.4.1 วิธีการปรากฏการณฮอลล วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและเอ็นสามารถวัดไดดวยวิธีการปรากฏการณฮอลล (Edwin Herbert Hall, American Physicist, 1855-1938) สําหรับโลหะที่มีอิเล็กตรอนเปน พาหะอยางเดียว ความตางศักยฮอลลมีสมการดังนี้ VH = - (2.11) เมื่อ I คือ กระแสไฟฟา B คือ สนามแมเหล็ก d คือ ความหนาของแผนตัวนํา e คือ ประจุอิเล็กตรอน n คือ ความหนาแนนประจุพาหะ IB ned ขางเคียง เรียกอิเล็กตรอนตัวนี้วา อิเล็กตรอนอิสระซึ่งจะแสดงประจุลบออกมา เมื่อมีความ แตกตางอุณหภูมิเกิดขึ้นในวัสดุจะทําใหอิเล็กตรอนอิสระเกิดการเคลื่อนที่จะไดกระแสไฟฟาออกมา
  • 27. 19 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ดังนั้น สัมประสิทธิ์ของฮอลลนิยามโดย RH = = - (2.12) dVH IB 1 ne รูปที่ 2.3 ทิศทางของสนามแมเหล็กและกระแสไฟฟา ในการศึกษาทางทฤษฎีจะเห็นไดวา วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดพีหรือเอ็นนั้น ขึ้นอยูกับจํานวนของโฮลหรืออิเล็กตรอนซึ่งอยูในรูปของความหนาแนนหรือความหนาแนน สถานะ (density of state) ซึ่งมีสมการเปนดังนี้ ความหนาแนนสถานะสําหรับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดพี คือ Dh (E) = [ mh ] (-E) (2.13) เมื่อ mh คือ มวลของโฮล E คือ พลังงานของอิเล็กตรอน V คือ ปริมาตรของหนวยเซลล V 4π 2 2 h2 3 2 1 2 I
  • 28. 20 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก ความหนาแนนสถานะสําหรับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดเอ็น คือ De (E) = [ me ] (-E) (2.14) เมื่อ me คือ มวลของอิเล็กตรอน ดังนั้น เราสามารถวิเคราะหวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกเปนชนิดพีหรือชนิดเอ็นจาก ความหนาแนนสถานะไดดังรูปที่ 2.4 รูปที่ 2.4 ความหนาแนนสถานะของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพีและชนิดเอ็น 2.4.2 วิธีสนามความรอน วิธีสนามความรอนเปนการใหความรอนกับวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกแลววัดความ ตางศักยไฟฟาที่ไดออกมาโดยใหขั้วไฟฟาบวกอยูที่แหลงความรอนและขั้วไฟฟาลบอยูที่ผิวของ วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ตัวอยางการวัดชนิดวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกของแคลเซียมโคบอลตออกไซด (Ca3 Co4 O9 ; Ca-349) และแคลเซียมแมงกานีสออกไซด (CaMnO3 ; Ca-113) แสดงดัง รูปที่ 2.5 V 4π 2 2 h2 3 2 1 2
  • 29. 21 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก รูปที่ 2.5 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและความตางศักยของแคลเซียมโคบอลตออกไซด และแคลเซียมแมงกานีสออกไซด จากรูปที่ 2.5 พบวาเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นคาความตางศักยไฟฟาเพิ่มขึ้น ซึ่งแคลเซียม โคบอลตออกไซดมีความตางศักยไฟฟาสูงขึ้นในทางบวก สวนแคลเซียมแมงกานีสออกไซดมี ศักยไฟฟาสูงขึ้นในทางลบแสดงใหเห็นวาสารแคลเซียมโคบอลตออกไซดเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ชนิดพี และแคลเซียมแมงกานีสออกไซดเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น 2.5 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมโลหะ กึ่งตัวนํา และฉนวน 2.5.1 กลุมโลหะ การคนหาวัสดุตาง ๆ ที่มีคา ZT สูง ๆ และสามารถทํางานไดอยางครอบคลุมชวง อุณหภูมิที่กวางที่สุดเทาที่จะทําได ดังนั้น สิ่งที่นาสนใจตอนนี้คือการประมาณเชิงเปรียบเทียบ คา ZT ของวัสดุกลุมตาง ๆ แสดงดังรูปที่ 2.6
  • 30. 22 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก ในโลหะที่มีเพียงสถานะใกลระดับพลังงานแฟรมีซึ่งถูกคนพบโดยเอนรีโกแฟรมี(Enrico Fermi, American Physicist, 1901-1954) ในกลศาสตรควอนตัมระดับพลังงานเขียนไดโดย En = - n2 (2.15) เมื่อ h คือ คาคงตัว n เลขควอนตัมหลัก (n = 1, 2, 3, ...) และ L คือ ความกวางของ บอศักยจัตุรัสจํากัด เมื่อมีจํานวนอนุภาค N ตัว มีสปนเปน ± จะไดพลังงานสูงสุดเปน EF = E = ( )2 (2.16) มีอิทธิพลตอกระแสไฟฟาแลวสัมประสิทธิ์ซีเบกจะมีคาตํ่ามาก (Ioff A.F., 1956 : 26) ไดแสดง ใหเห็นวาสัมประสิทธิ์ซีเบกสําหรับโลหะแบบเวเลนซเดี่ยวที่ 300 K ประมาณไดเปน S ∼ π 2 ∼ 5 μV K-1 (2.17) รูปที่ 2.6 แสดงคา Z ของโลหะผสมที่มีการพัฒนาตั้งแต ค.ศ. 1950-2000 1 2 N 2 2mL2 h2 π 2 N 2 kB e kB EF 2mL2 h2 π 2 ค.ศ.
  • 31. 23 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ซึ่งทําใหเราไดคา Z ∼ 3 x 10-6 K-1 ที่ 300 K จะเห็นไดวา Z มีคาคอนขางตํ่า ดังนั้น โลหะ จึงไมใชวัสดุที่เหมาะสมที่สุดสําหรับนํามาประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาเทอรโมอิเล็กทริก 2.5.2 กลุมสารกึ่งตัวนําและฉนวน สารกึ่งตัวนําและฉนวนมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกสูงกวาของโลหะ โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อระดับแฟรมีวางอยูลึกลงไปภายในชองวางหวงหาม(forbiddengap)ทั้งนี้จะเห็นไดชัดเจนโดย ทําใหพลังงานแฟรมีลดลงซึ่งวัดจากขอบของแถบการนําสําหรับอิเล็กตรอนหรือโฮลในหนวยของ kB T มีคามากขึ้นในสมการ S = [Q + EF ] (2.18) โดยที่ e คือ ประจุของอิเล็กตรอน (1.66 x 10-19 C) Q คือ พลังงานความรอนของการสงผาน (J) kB คือ คาคงตัวของโบลตซมันน (1.38 x 10-23 J K-1 ) EF คือ พลังงานแฟรมี (J) ดังนั้นคาจํากัดของสัมประสิทธิ์ซีเบกจะถูกจํากัดโดยคาของชองวางของพลังงาน (energy gap) ในขณะที่ระดับแฟรมีในวัสดุชนิดเอ็นเขาใกลกึ่งกลางของชองวาง [วัสดุจะกลาย เปนแบบในตัว (intrinsic) มากขึ้น] การกระจายตาง ๆ ตอสัมประสิทธิ์ซีเบกจะถูกทําจากพาหะ ประจุตาง ๆ ในแถบเวเลนซ ถามีประจุทั้งของอิเล็กตรอนและโฮลเกิดขึ้น สัมประสิทธิ์ของซีเบก ที่ไดจะเทากับผลรวมของการกระจายความสัมพันธ Sn และ Sp นั่นคือ S = (2.19) เมื่อ S คือ สัมประสิทธิ์ซีเบกรวม Sn คือ สัมประสิทธิ์ซีเบกสารชนิดเอ็น Sp คือ สัมประสิทธิ์ซีเบกสารชนิดพี σn คือ สภาพนําไฟฟาของสารชนิดเอ็น σ p คือ สภาพนําไฟฟาของสารชนิดพี kB e Sn σn + Sp σp σn + σp
  • 32. 24 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก เนื่องจาก Sn และ Sp มีเครื่องหมายตรงกันขาม สัมประสิทธิ์ซีเบกจึงมีคาตํ่า ขนาด ของสัมประสิทธิ์ซีเบกขึ้นกับอัตราสวนของสภาพเคลื่อนที่ได (mobility) ของพาหะสัมประสิทธิ์ ในแถบทั้งสอง ดังนั้น คาสัมประสิทธิ์ซีเบกที่สูงควรจะพบในวัสดุที่มีชองวางของพลังงานกวาง ๆ เชน วัสดุจําพวกฉนวนที่สามารถมีคา EF มาก ๆ และนําไปสูการมีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกในระดับ ∼1 mV หรือสูงกวาได อยางไรก็ตาม สภาพนําไฟฟาสําหรับฉนวนคอนขางตํ่า ปกติแลวอยูใน ระดับ 10-12 S cm-1 หรืออาจตํ่ากวา ดังนั้นอาจทําใหไดคา S2 σ ที่ตํ่ากวาคาที่พบโดยทั่วไปใน สารกึ่งตัวนํา ผลอันนี้จะสามารถเห็นไดโดยพิจารณารูปที่ 2.7 และตารางที่ 2.1 ซึ่งเปนตารางที่ เปรียบเทียบคา Z สําหรับโลหะ สารกึ่งตัวนํา และฉนวนที่อุณหภูมิ 300 K รูปที่ 2.7 แสดงการเปลี่ยนแปลงของสัมประสิทธิ์ซีเบกและสภาพนําไฟฟาที่เปนฟงกชัน ของความเขมขนของพาหะประจุอิสระ
  • 33. 25 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ตารางที่ 2.1 แสดงการเปรียบเทียบสมบัติการผันไฟฟาจากความรอนของโลหะ สารกึ่งตัวนํา และฉนวน ที่อุณหภูมิ 300 K ประสิทธิภาพของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกสามารถประเมินคาหรือเปรียบเทียบโดย พิจารณาจากคา Z = โดยที่คา S, σ และ κ เปนคาสมบัติพื้นฐานของวัสดุ ซึ่งขึ้นตรง ตอกันและเปนฟงกชันของความเขมขนของตัวพาหะโดยทั่วไปแลวเปลี่ยนแปลงในทางกลับกัน ซึ่งทําใหการเพิ่มขึ้นของตัวประกอบกําลัง (power factor) S2 σ เปนไปไดยาก อยางไรก็ตาม ทฤษฎีดั้งเดิมหลายทฤษฎีที่เกี่ยวของกับสารกึ่งตัวนําประเภทแถบกวาง (broad band semiconductor)บอกเราไดวาสภาพเคลื่อนที่ของพาหะที่มีคาสูงๆสามารถทําใหคาสัมประสิทธิ์ ซีเบกและสภาพนําไฟฟามีคาสูงได (Chasmar R.P. และคณะ, 1959 : 1578) จากผลอันนี้ทํา ใหโลหะผสมกึ่งตัวนําและสารประกอบกึ่งตัวนําซึ่งมีสภาพเคลื่อนที่ไดของพาหะสูงถูกนํามาศึกษา อยางกวางขวางในฐานะที่เปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกตัวอยางของวัสดุเหลานี้เชนบิสมัทเทลลูไลด (Bi2 Te3 ) เลดเทลลูไลด (PbTe) และโลหะผสมของซิลิคอน-เจอรเมเนียม (Si-Ge) บิสมัทเทลลูไลดเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกโลหะผสมที่ดีในอุณหภูมิตํ่าๆหรือประมาณ ที่อุณหภูมิหอง 300 K เนื่องจากมีชองวางพลังงานที่แคบจึงสามารถนําอิเล็กตรอนหรือโฮลไดดี ทําใหคาสัมประสิทธิ์ซีเบกไมสูงนักและยังเปนไดทั้งวัสดุชนิดเอ็นและพี แตมีสภาพนําความรอน สูง ดังนั้น ถาตองการลดสภาพนําความรอนสามารถผสมกับวัสดุแอนติโมนีเทลลูไลด (Sb2 Te3 ) หรือบิสมัทเซลีไนด (Bi2 Se3 ) ได เรียกวาเปนระบบไตรภาคเทียม (Pseudo-ternary system) ของบิสมัทเทลลูไลด-แอนติโมนีเทลลูไลด-แอนติโมนีเซลีไนด (Bi2 Te3 -Sb2 Te3 -Sb2 Se3 ) ปญหา S2 σ κ สมบัติ หนวย โลหะ สารกึ่งตัวนํา ฉนวน μV K-1 S cm-1 W m-1 K-1 V2 K-1 K-1 S σ = neμ κ = κe + κL = T Z ~5 106 ~κe ~7.3 × 10-6 ~3 × 10-6 ~200 ~103 ~κl ~4.4 × 10-6 ~2 × 10-3 ~1 × 103 ~10-12 ~κl ~4.4 × 10-6 ~5 × 10-17 κe σ π 3 3 2 kB e
  • 34. 26 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก ของบิสมัทเทลลูไลดคือที่อุณหภูมิสูงจะเปนสารพิษแผรังสีไดและมีประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา ลดลง (Terasaki I., 2000) เลดเทลลูไลด (PbTe) เปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกที่ดีในชวงอุณหภูมิ 300-700 K คลายกับวัสดุ เชน เลดซัลไฟด (PbS) และเลดเซลีไนด (PbSe) มีชองวางพลังงานประมาณ 0.32 eV ที่ 300 K หรือประมาณที่อุณหภูมิหอง 300 K มีคาสัมประสิทธิ์ซีเบกสูงกวา Bi2 Te3 รูปที่ 2.8 คา ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกกลุมสารกึ่งตัวนําชนิดเอ็นและชนิดพี สามารถอานเพิ่มเติมไดจาก Goldsmid H.J. (1960 : 3233) Wood C. (1988 : 459) Rowe D.M. และคณะ (1995 : 211) และ Mahan G.D. (1998 : 81) อยางไรก็ตามวัสดุที่กลาวถึงขางตนยังมีปญหาตางสําหรับการนําไปประยุกตใชงาน จริง ทั้งนี้เนื่องจากวัสดุเหลานี้มีราคาแพงและตองการการปกปองผิวจากการกลายเปนออกไซด หรือการกลายเปนไอ วัสดุบางชนิดมีขีดจํากัดในเรื่องอุณหภูมิภายในเนื่องจากมีการเปลี่ยนเฟส ที่อุณหภูมิสูง
  • 35. 27 บทที่ 2 วัสดุเทอรโมอิเล็กทริก เมื่อคํานึงถึงการทํางานที่อุณหภูมิสูงในอากาศแลว พบวาออกไซดโลหะที่อยูใน สถานะที่มีออกไซดอยูแลวมีความไดเปรียบ เนื่องจากวัสดุเหลานี้มีความเสถียรตอความรอน เปนเลิศ นอกจากนี้แลวยังมีวัสดุออกไซดอีกหลายชนิดที่มีการรายงานวามีสภาพนําไฟฟาสูง มีความเสถียรทางความรอนสูง และมีความตานทานตอการกัดกรอนไดดี ดังนั้น สารกึ่งตัวนํา ออกไซดโลหะ (metal oxide semiconductor) จึงควรนํามาศึกษาในแงของความเปนไปได ในการนํามาประยุกตใชเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกอุณหภูมิสูงตอไป ในปจจุบันนี้วัสดุกึ่งตัวนําออกไซด เชน ซิงกอะลูมิเนียมออกไซด ((Zn1-x Alx )O2 ) แบเรียมสตรอนเทียมเลดออกไซด(BaSrPbO3 )โซเดียมโคบอลตออกไซด(Nax Co2 O4 )แคลเซียม โคบอลตออกไซด (CaCo12 O28 ), (Ca3 Co4 O9 ) ซิงอินเดียมออกไซด ((ZnO)5 In2 O3 ) โซเดียม นิกเกิลไทเทเนียมออกไซด (Nax Nix/2 Ti1-x/2 O2 ) แคดเมียมเทลลูเลียมออกไซด (Cd3 TeO6 ) โซเดียม, ลิเทียมนิกเกิลออกไซด ((Na, Li)NiO) และอื่น ๆ ไดถูกศึกษาเพื่อหาความเปนไปได ในการนํามาใชเปนวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก 2.6 ตัวอยางวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกในปจจุบัน จากการรายงานของ Minnich A.J. และคณะ (2009 : 155327) ไดนําเสนอสิ่งที่มี ผลตอสมบัติวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกคือ ตองทําใหวัสดุมีโครงสรางระดับนาโน (nanostructure) เชนซูเปอรแลตทิซ(superlattice)ควอนตัมดอต(quantumdot)เสนระดับนาโน(nanowire) และสารประกอบเชิงซอนระดับนาโน (nanocomposite) ซึ่งคา ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริก ชนิดพีและเอ็นที่มีโครงสรางแบบนาโนแสดงดังรูปที่ 2.9 และ 2.10
  • 36. 28 เทคโนโลยีเทอรโมอิเล็กทริก รูปที่ 2.9 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับ ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดพี รูปที่ 2.10 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับ ZT ของวัสดุเทอรโมอิเล็กทริกชนิดเอ็น