SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์
คุณครูปิยวรรณ รัตนะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนตาจงพิทยาสรรค์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
วิชาวิทยาศาสตร์ ว23102
หน่วยการเรียนรู้ เอกภพ
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่เกิดขึ้น
ในฤดูร้อนของทวีปยุโรปและบริเวณใกล้เคียง
ทางตอนเหนือของเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล
และตอนใต้ของเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิล
ที่ยังคงสามารถมองเห็นดวงอาทิตย์ได้
แม้ในเวลาเที่ยงคืน
ดังนั้นประเทศที่สามารถมองเห็น
ดวงอาทิตย์เที่ยงคืนได้ เช่น แคนาดา (ยูคอน นูนาวุต) สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา)
เดนมาร์ค (กรีนแลนด์) นอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ รัสเซีย ไอซ์แลนด์
โดยดินแดนของ นอร์เวย์ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลเป็น
จุดที่ดวงอาทิตย์ไม่ได้ตกดินเป็นเวลายาวนานที่สุด (73 วัน) ในช่วงฤดูร้อนในเมือง
สฟาลบาร์
ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน
ในการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ยังมีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า
"อายัน" เกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ ครีษมายัน และ เหมายัน
1. ครีษมายัน หรือ อุตตรายัน (Summer Solstice)
ตรงกับวันที่ 21 หรือ 22 มิถุนายน ในปีอธิกมาสเป็นวันที่ดวงอาทิตย์
ตั้งฉากกับผิวโลกที่ละติจูด 23.5 องศาเหนือ
ซีกโลกเหนือ : วันแรกในฤดูร้อน โดยมีช่วงเวลากลางวันยาวที่สุด กับ
กลางคืนสั้นที่สุดในรอบปี
ซีกโลกใต้ : วันแรกที่เข้าสู่ฤดูหนาว โดยมีกลางวันสั้นที่สุดและ
กลางคืนยาวที่สุด
อายัน (Solstice)
อายัน (Solstice) ต่อ
2. เหมายัน หรือ ทักษิณายัน (Winter Solstice)
ตรงกับวันที่ 21 ธันวาคม หรือ 22 ธันวาคม ในปีอธิกมาส โดยเป็น
วันที่ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลกที่ละติจูด 23.5 องศาใต้
ซีกโลกเหนือ : วันแรกในฤดูหนาว โดยมีช่วงเวลากลางคืนยาวที่สุด
กับกลางวันสั้นที่สุดในรอบปี
ซีกโลกใต้ : วันแรกที่เข้าสู่ฤดูร้อน โดยมีกลางวันยาวที่สุดและ
กลางคืนสั้นที่สุด
วิษุวัต (equinox)
คือช่วงในขณะที่ดวงอาทิตย์อยู่ในตาแหน่งตรงได้ฉากกับเส้นศูนย์สูตร
ของโลกพอดี ซึ่งจะเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง หรือในหนึ่งรอบที่โลกโคจรรอบดวง
อาทิตย์แกนของโลกจะเอนกลับไปมาได้ฉากกับตาแหน่งดวงอาทิตย์
เหตุการณ์นี้เรียกอีกอย่างว่า "วันราตรีเสมอภาค" หมายถึง เวลาตอนกลางคืน
เท่ากับเวลากลางวันพอดี ได้แก่ วสันตวิษุวัต (Vernal Equinox) และ ศารทวิษุวัต
(Autumnal Equinox)
วิษุวัต (equinox)
1. วสันตวิษุวัต (Vernal Equinox)
ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลก
ที่เส้นศูนย์สูตร
ซีกโลกเหนือ : เข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ
ซีกโลกใต้ : เข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง
เวลาตอนกลางคืนเท่ากับเวลากลางวัน เหตุการณ์นี้เรียกอีกอย่างว่า
“วันราตรีเสมอภาค” ภาษาอังกฤษบางครั้งก็เรียกว่า Spring equinox หรือ
March equinox ในประเทศจีน เรียกวันวสันตวิษุวัตว่า วันชุนเฟินหรือ วันชุงฮุง
(春分) และมีประเพณีการตั้งไข่มากว่า 4,000 ปี
วิษุวัต (equinox) ต่อ
2. วันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox)
ตรงกับวันที่ 23 กันยายน เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลก
ที่เส้นศูนย์สูตร
ซีกโลกเหนือ : วันแรกในฤดูใบไม้ร่วง
ซีกโลกใต้ : วันแรกที่เข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ
เวลาตอนกลางคืนเท่ากับเวลากลางวัน
ตะวันอ้อมข้าว
เป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
อย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นทุกปี ตามวิถีโคจรของโลก
รอบดวงอาทิตย์มาอยู่ในตาแหน่งสูงกว่า
ผลก็คือเราจะเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น
และตกคล้อยไปทางใต้และตอนเที่ยง
ดวงอาทิตย์ยังไม่ตรงหัวอีกต่างหาก การที่ดวงอาทิตย์ขึ้นและตกไปทางใต้นั้นทาให้กลางวัน
สั้นลง และกลางคืนยาวขึ้น
สาหรับประเทศไทยเหตุการณ์นี้มักจะเกิดในหน้าหนาว หรือช่วงเดือนตุลาคม ถึง
กุมภาพันธ์ ลองสังเกตดูว่าช่วงเดือนนี้จะสว่างช้า และมืดเร็ว
หากพื้นผิวของโลกมีสภาพเป็นเนื้อเดียวเหมือนกันหมด โลกจะมี 4 ฤดูกาล
• สาหรับซีกโลกเหนือ เกิดฤดูกาล ดังนี้
1. ฤดูร้อน (Summer) ตั้งแต่วันที่ 21 มิถุนายน – 21 กันยายน
2. ฤดูใบไม้ร่วง (Autumn) ตั้งแต่วันที่ 22 กันยายน – 21 ธันวาคม
3. ฤดูหนาว (Winter) ตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม – 20 มีนาคม
4. ฤดูใบไม้ผลิ (Spring) ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม – 20 มิถุนายน
• สาหรับซีกโลกใต้ เกิดฤดูกาล ดังนี้
1. ฤดูหนาว (Winter) ตั้งแต่วันที่ 21 มิถุนายน – 21 กันยายน
2. ฤดูใบไม้ผลิ (Spring) ตั้งแต่วันที่ 22 กันยายน – 21 ธันวาคม
3. ฤดูร้อน (Summer) ตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม – 20 มีนาคม
4. ฤดูใบไม้ร่วง (Autumn) ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม – 20 มิถุนายน
• เนื่องจากพื้นผิวโลกมีความแตกต่างกัน เช่น มีภูเขา ที่ราบ ทะเล กระแส
ลม กระแสน้า ซึ่งส่งอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้าอากาศ
• ประเทศไทยตั้งอยู่บนแนวเส้นศูนย์สูตรและคาบสมุทรอินโดจีน ระหว่าง
มหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ทาให้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม
(Monsoon) จึงมีฤดูกาลดังนี้
– ฤดูร้อน (Summer) ในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม
– ฤดูฝน (Rainy) ในช่วงเดือนมิถุนายน - ตุลาคม
– ฤดูหนาว (Winter) ในช่วงเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 

ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์