SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
9
บทที่ 9
เรื่อง โน้ตเพลงไทยที่ใช้ในการฝึกเป่ าแคน
โน้ตเพลงไทยที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ระบบคือ ระบบตัวอักษร กับระบบตัวเลข สำหรับ
โน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษรมีหลักเกณฑ์กำรบันทึกตัวโน้ต ดังนี้
โน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษร
1. โน้ตหนึ่งบรรทัดจะมีโน้ตอยู่ 8 ห้องเพลง คือ
1 2 3 4 5 6 7 8
2. ตัวอักษรไทยที่ใช้แทนเสียงดนตรี มีดังนี้
ตัวโน้ต ด ร ม ฟ ซ ล ท
คำอ่ำน โด เร มี ฟำ ซอล ลำ ที
กรณีที่ตัวโน้ตมีระดับเสียงสูงให้ใส่จุด กำกับข้ำงบน เช่น ด ร ม เป็นต้น และในกรณีที่
ตัวโน้ตมีระดับเสียงต่ำสุดให้ใส่จุด กำกับไว้ด้ำนล่ำงของตัวโน้ต เช่น ล ท ดังนี้เป็นต้น
2. กำรบันทึกตัวโน้ต โดยปกติหนึ่งห้องเพลงจะบรรจุตัวโน้ตไม่เกิน4 ตัว(4 จังหวะย่อย)
(ยกเว้นกำรบรรเลงนั้นมีลักษณะพิเศษ) มีหลำยลักษณะ ดังตัวอย่ำงโดยสังเขป ดังนี้
2.1 กำรบันทึกโน้ต4 ตัว เช่น
ล ล ล ล ล ซ ม ด ด ร ม ฟ ซ ม ร ม ด ด ม ร ม ร ม ร ล ล ม ร ร ม ด ม
2.2 กำรบันทึกโน้ต 3 ตัว เช่น
- ด ร ม - ม ร ด - ม ซ ล - ซ ม ร - ร ม ซ - ม ร ร - ด ม ร - ซ ร ด
10
2.3 กำรบันทึกโน้ต 2 ตัว เช่น
- ล – ซ - - ล ซ - ล - ม - - ม ร - ล - ม - ซ - ม ร ร - - - ร - ด
2.4 กำรบันทึกโน้ต 1 ตัว เช่น
- - - ล - - - ม - - - ด ร - - - ม - - - ล - - - ม - - - - - - ซ
3. อัตรำจังหวะ
3.1 กำรกำหนดจังหวะ โดยปกติในหนึ่งห้องเพลงจะกำหนดไว้เป็น 1 จังหวะ และ
ในแต่ละห้องเพลงจะแบ่งออกเป็น4 จังหวะย่อย(แต่ละจังหวะย่อยจะบันทึกตัวโน้ต 1 ตัว) ซึ่งจังหวะ
หนักจะตกที่ตำแหน่งสุดท้ำยของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง เช่น
   ล   ซ ล   ล ล ซ ม  ล ซ ม  ซ  ม  ล   ม
* * * * * * * *
(หมำยเหตุ เครื่องหมำย * เป็นตังอย่ำงที่แสดงตำแหน่งที่เป็นจังหวะตกในแต่ละห้องเพลง)
3.2 กำรทำให้โน้ตตัวสุดท้ำยของห้องมีจังหวะยืดออกไปอีก เช่น
- - - ล - - - ซ - ม - ล - - - - - - - ล - ล - ล - - - ม - - - -
3.3 กำรเคำะจังหวะ มีวิธีปฏิบัติดังแผนภูมิต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 (ยกขึ้น)
ขั้นที่ 2 (เคำะลง)
จังหวะที่……….1…………..2………….3 …………..
กำรยกขึ้นและเคำะลงเรียกว่ำ 1 จังหวะ ซึ่งจังหวะตกหรือจังหวะหนักจะตรงกับตำแหน่ง
สุดท้ำยของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง

More Related Content

What's hot

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1gueste0411f21
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 

What's hot (20)

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 

Similar to 09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
Universal music theory
Universal music theoryUniversal music theory
Universal music theorymottoman
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)apipakza
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanxun
 
แคนอีสาน
แคนอีสานแคนอีสาน
แคนอีสานVeenatSeemuang
 

Similar to 09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น (20)

ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
1
11
1
 
Universal music theory
Universal music theoryUniversal music theory
Universal music theory
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
Guitar
GuitarGuitar
Guitar
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
แคนอีสาน
แคนอีสานแคนอีสาน
แคนอีสาน
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 

More from วีรชัย มาตรหลุบเลา

More from วีรชัย มาตรหลุบเลา (11)

22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
 
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
 
15 การฝึกเป่าเสียงโด
15 การฝึกเป่าเสียงโด15 การฝึกเป่าเสียงโด
15 การฝึกเป่าเสียงโด
 
13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี
13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี
13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี
 
11 การฝึกเป่าเสียงซอล
11 การฝึกเป่าเสียงซอล11 การฝึกเป่าเสียงซอล
11 การฝึกเป่าเสียงซอล
 
10 การฝึกเป่าเสียงลา
10 การฝึกเป่าเสียงลา10 การฝึกเป่าเสียงลา
10 การฝึกเป่าเสียงลา
 
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
 
05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน
 
04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน
 
03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน
 
02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน
 

09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น

  • 1. 9 บทที่ 9 เรื่อง โน้ตเพลงไทยที่ใช้ในการฝึกเป่ าแคน โน้ตเพลงไทยที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ระบบคือ ระบบตัวอักษร กับระบบตัวเลข สำหรับ โน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษรมีหลักเกณฑ์กำรบันทึกตัวโน้ต ดังนี้ โน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษร 1. โน้ตหนึ่งบรรทัดจะมีโน้ตอยู่ 8 ห้องเพลง คือ 1 2 3 4 5 6 7 8 2. ตัวอักษรไทยที่ใช้แทนเสียงดนตรี มีดังนี้ ตัวโน้ต ด ร ม ฟ ซ ล ท คำอ่ำน โด เร มี ฟำ ซอล ลำ ที กรณีที่ตัวโน้ตมีระดับเสียงสูงให้ใส่จุด กำกับข้ำงบน เช่น ด ร ม เป็นต้น และในกรณีที่ ตัวโน้ตมีระดับเสียงต่ำสุดให้ใส่จุด กำกับไว้ด้ำนล่ำงของตัวโน้ต เช่น ล ท ดังนี้เป็นต้น 2. กำรบันทึกตัวโน้ต โดยปกติหนึ่งห้องเพลงจะบรรจุตัวโน้ตไม่เกิน4 ตัว(4 จังหวะย่อย) (ยกเว้นกำรบรรเลงนั้นมีลักษณะพิเศษ) มีหลำยลักษณะ ดังตัวอย่ำงโดยสังเขป ดังนี้ 2.1 กำรบันทึกโน้ต4 ตัว เช่น ล ล ล ล ล ซ ม ด ด ร ม ฟ ซ ม ร ม ด ด ม ร ม ร ม ร ล ล ม ร ร ม ด ม 2.2 กำรบันทึกโน้ต 3 ตัว เช่น - ด ร ม - ม ร ด - ม ซ ล - ซ ม ร - ร ม ซ - ม ร ร - ด ม ร - ซ ร ด
  • 2. 10 2.3 กำรบันทึกโน้ต 2 ตัว เช่น - ล – ซ - - ล ซ - ล - ม - - ม ร - ล - ม - ซ - ม ร ร - - - ร - ด 2.4 กำรบันทึกโน้ต 1 ตัว เช่น - - - ล - - - ม - - - ด ร - - - ม - - - ล - - - ม - - - - - - ซ 3. อัตรำจังหวะ 3.1 กำรกำหนดจังหวะ โดยปกติในหนึ่งห้องเพลงจะกำหนดไว้เป็น 1 จังหวะ และ ในแต่ละห้องเพลงจะแบ่งออกเป็น4 จังหวะย่อย(แต่ละจังหวะย่อยจะบันทึกตัวโน้ต 1 ตัว) ซึ่งจังหวะ หนักจะตกที่ตำแหน่งสุดท้ำยของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง เช่น    ล   ซ ล   ล ล ซ ม  ล ซ ม  ซ  ม  ล   ม * * * * * * * * (หมำยเหตุ เครื่องหมำย * เป็นตังอย่ำงที่แสดงตำแหน่งที่เป็นจังหวะตกในแต่ละห้องเพลง) 3.2 กำรทำให้โน้ตตัวสุดท้ำยของห้องมีจังหวะยืดออกไปอีก เช่น - - - ล - - - ซ - ม - ล - - - - - - - ล - ล - ล - - - ม - - - - 3.3 กำรเคำะจังหวะ มีวิธีปฏิบัติดังแผนภูมิต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 (ยกขึ้น) ขั้นที่ 2 (เคำะลง) จังหวะที่……….1…………..2………….3 ………….. กำรยกขึ้นและเคำะลงเรียกว่ำ 1 จังหวะ ซึ่งจังหวะตกหรือจังหวะหนักจะตรงกับตำแหน่ง สุดท้ำยของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง