SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ทบบาทของสหรัฐอเมริกา
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2

             น.ส. เบญญทิพย์ ธนาคา ม.6/4 เลขที่ 21
บทบาทของสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก
            ครั้งที่ 2

• สหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
• นโยบายของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น
• บทบาทของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคต่าง ๆ
• นโยบายต่างประเทศในช่วงหลังสงครามเย็น
สหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครังที่ 2
                               ้



การเติบโตทาง                การเปลี่ยนแปลงของ
  เศรษฐกิจ                     สังคมอเมริกัน
การผลิตและความต้องการบริโภค
                     สินค้าหลังสงคราม


การเติบโตทาง   การขยายตัวของการค้าต่างประเทศ
  เศรษฐกิจ


               วิกฤติเศรษฐกิจในทศวรรษที่ 1970
สมัยเบบี้บูม (Baby Boom)

การเปลี่ยนแปลงของ
                         การเติบโตของเมือง
   สังคมอเมริกัน

                      ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
นโยบายของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น

     นโยบายหลักของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น คือการ
ดาเนินการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ได้ดาเนินนโยบายอย่างเป็น
รูปธรรมด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้
    - หลักการทรูแมน (Truman Doctrine)
    - แผนการมาร์แชล (Marshall Plan)
    - องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติคเหนือ (North Atlantic treaty
Organization = Nato)
    -   นโยบายผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente Policy)
หลักการทรูแมน (Truman Doctrine)

      หลักการทรูแมนเป็นการแถลงการณ์ของประธานาธิบดีทรูแมน ทีแสดงการ
                                                                 ่
ต่อต้านพฤติกรรมของสหภาพโซเวียตอย่างเปิดเผยในลักษณะที่พร้อมจะ
เผชิญหน้า และถือว่าเป็นการประกาศสงครามเย็นอย่างเป็นทางการของ
สหรัฐอเมริกา ดังแถลงการณ์ว่า
                        “นโยบายหลักข้อหนึ่งของสหรัฐอเมริกา คือ
              การสร้างสภาวะที่จะทาให้เราและชาติสามารถดาเนิน
              ชีวิตให้เป็นอิสระจากการใช้กาลังบังคับ”
                       “ข้าพเจ้าเชื่อว่านโยบายของสหรัฐอเมริกาสนับ
              สนุนเสรีชนที่กาลังต่อต้านความพยายามครอบงา โดยชน
              กลุ่มน้อยต่าง ๆ ที่ติดอาวุธหรือแรงกดดันจากภายนอก”
แผนการมาร์แชล (Marshall                Plan)

     แผนการมาร์แชลล์เป็นแผนการที่ริเริ่มโดยนายจอร์จ ซี.มาร์แชลล์
รัฐมนตรีว่าการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ
โครงการฟื้นฟูยุโรป (The European Recovery Program
(E.R.P.) เป็นโครงการช่วยเหลือระยะเวลา 5 ปี เพื่อการ “ฟื้นฟู”
ทางด้านเศรษฐกิจยุโรปตะวันตก
     สหภาพโซเวียตได้โต้ตอบโดยจัดตั้งกลุ่มร่วมมือทางเศรษฐกิจ
คือ (Council for Mutual Economic Assistance
:COMECON)
องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติคเหนือ
   (North Atlantic treaty Organization = Nato)

       สหรัฐอเมริกาได้เจรจากับประเทศกลุ่มยุโรปตะวันตก ๑๑ ประเทศ คือ อังกฤษ
ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยี่ยม นอร์เวย์ เดนมาร์ก ลักเซมเบอร์ก โปรตุเกส เนเธอแลนด์ และ
แคนาดา จนสามารถลงร่วมกันในสนธิสัญญาเพื่อสถาปนาองค์การสนธิสัญญา
แอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต้ (North Atlantic Treaty Organization-
NATO) เพื่อต่อต้านการขยายตัวทางการเมือง-การทหารของฝ่ายคอมมิวนิสต์

     สหภาพโซเวียตได้สถาปนาองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอว์ (Warsaw Treaty
Organization- Warsaw Pact) ซึ่งเป็นกลุ่มพันธมิตรทางการทหารขึ้นมา ซึ่ง
ประกอบด้วยประเทศในกลุ่มยุโรปตะวันออก ๗ ประเทศ ได้แก่ โปแลนด์ เยอรมัน
ตะวันออก โรมาเนีย เชคโกสโลวาเกีย บัลกาเรีย ฮังการี และอัลบาเนีย
นโยบายผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente Policy)
       - ประธานาธิบดีริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (Richard Milhous
Nixon)ได้เดินทางไปพบผูนาจีน อดีตนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล ทังสอง
                        ้                                     ้
ฝ่ายตกลงให้มีการออกแถลงการณ์เซี่ยงไฮ้
                       - จีนรับหลักการนิกสัน (Nixon Doctrine)
                       - สหรัฐอเมริกากับโซเวียตร่วมลงนามในการ
                เจรจาจากัดอาวุธยุทธศาสตร์ครั้งที่ 1 SALT-1
                 (Strategic Arms Limitation Talks) ในปี 1972
                และ SALT-2 ครั้งที่ 2 ในปี1979
บทบาทของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคต่าง ๆ

 การปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน (Berlin
 blockade)

 สงครามเกาหลี

 สงครามเวียดนาม

 ปัญหาในตะวันออกกลาง

 กรณีคิวบา
การปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน (Berlin blockade)
                     เยอรมนี

เยอรมนีตะวันตก                 เยอรมนีตะวันออก
   (เสรีนิยม)                  สังคมนิยคอมมิวนิสต์




เบอร์ลินตะวันตก                 เบอร์ลินตะวันออก
สงครามเกาหลี

      สงครามเกาหลี เป็นสงครามระหว่างประเทศเกาหลีเหนือกับ
ประเทศเกาหลีใต้ (ค.ศ. 1950-1953) เป็นหนึ่งในสงครามตัวแทน
ระหว่างช่วงสงครามเย็น
      ฝ่ายเกาหลีใต้ประกอบโดยสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา สหราช
อาณาจักร ประเทศออสเตรเลีย และกองกาลังของประเทศอื่น ๆ โดย
คาสั่งของสหประชาชาติ ฝ่ายเกาหลีเหนือมีสาธารณรัฐประชาชนจีน
และสหภาพโซเวียตคอยให้ความช่วยเหลือ
สงครามเวียดนาม


     สงครามเวียดนาม (Vietnam Wars, ค.ศ. 1957-
1975) เป็นสงครามระหว่างเวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ที่
สนับสนุนโดยสหรัฐอเมริกา เพื่อตัดสินว่าควรรวมเวียดนามเป็นหนึ่ง
เดียวตามข้อตกลงเจนีวา ค.ศ. 1954 หรือไม่ สงครามจบลงด้วยชัยชนะ
ของเวียดนามเหนือ และรวมประเทศเวียดนามทั้งสองเข้าด้วยกัน ซึ่ง
ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศเวียดนาม ในประเทศ
เวียดนามเองเรียกสงครามนี้ว่า สงครามปกป้องชาติจากอเมริกัน หรือ
สงครามอเมริกัน
ปัญหาในตะวันออกกลาง
                 สหรัฐอเมริกาประกาศสนับสนุนการตั้ง
                 ประเทศ อิสราเอลของชาวยิวโพ้นทะเลใน
                 ดินแดนปาเลสไตน์ของชาวอาหรับ

     ประเทศในตะวันออกกลางไม่พอใจและประกาศสงครามกับ
อิสราเอล ทาให้เกิดสงครามระหว่างยิว-อาหรับ
กรณีคิวบา



        สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าสู่อเมริกา
ใต้และแอฟริกา จนเกิดวิกฤติการณ์คิวบา
สหรัฐอเมริกโดยการนาของประธานาธิบดีจอห์น
เอฟ. เคนเนดี เอาชนะสหภาพโซเวียตได้ในที่สุด
นโยบายต่างประเทศในช่วง
    หลังสงครามเย็น
นโยบายก่อนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001

                       นโยบายจัดระเบียบโลกใหม่


       อิรัก   บุก    คูเวต               สงครามอ่าวเปอร์เซีย



        สหรัฐใช้นโยบายจัดระเบียบ
          โลกจนได้รับชัยชนะ
นโยบายก่อนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 (ต่อ)


        -นโยบายด้านการค้าระหว่างประเทศ จัดตั้งองค์กร
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น WTO, GATT,IMF
เป็นต้น
        -นโยบายด้านสิทธิมนุษยชน เช่น การดาเนิน
นโยบายแทรกแซงพม่าทางด้านเศรฐกิจกรณีละเมิดสิทธิ
มนุษยชน การต่อต้านรัฐบาลจีนจากกรณีเหตุการณ์ที่จตุรัส
เทียนอันเหมิน เป็นต้น
นโยบายหลังวันที่ 11 กันยายน : ลัทธิการก่อการร้าย


      อาคารเวิร์ดเทรด
ถูกเครื่องบินก่อการร้ายพุงชน
                         ่

                                    -ทาสงครามกับอัฟกานิสถาน
                                      - ส่งกองกาลังเข้าไปในอิรัก
สหรัฐอเมริกาประกาศสงคราม          - กล่าวหาผู้นาของบางประเทศว่า
 ต่อต้านลัทธิการก่อการร้าย           เป็นแกนนาแห่งความชั่วร้าย

More Related Content

What's hot

Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Pracha Wongsrida
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
Napatrapee Puttarat
 
พฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬพฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬ
Udomchai Boonrod
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
Szo'k JaJar
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
Mu PPu
 

What's hot (20)

หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
พฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬพฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬ
 
อเมริกาเหนือ2
อเมริกาเหนือ2อเมริกาเหนือ2
อเมริกาเหนือ2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 

Viewers also liked

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
Thammasat University
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
Nattha Namm
 
גבול וקווי הפרדות ביטחוניים
גבול וקווי הפרדות ביטחונייםגבול וקווי הפרדות ביטחוניים
גבול וקווי הפרדות ביטחוניים
haimkarel
 
What Is A Canadian
What Is A  CanadianWhat Is A  Canadian
What Is A Canadian
samspector93
 
Convenio vips 082011
Convenio vips 082011Convenio vips 082011
Convenio vips 082011
oscargaliza
 
Työmuotojen tukeminen
Työmuotojen tukeminenTyömuotojen tukeminen
Työmuotojen tukeminen
Marko Suomi
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
guest2f17d3
 
ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...
ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...
ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...
ZFConf Conference
 

Viewers also liked (20)

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmuบทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
גבול וקווי הפרדות ביטחוניים
גבול וקווי הפרדות ביטחונייםגבול וקווי הפרדות ביטחוניים
גבול וקווי הפרדות ביטחוניים
 
Franchak Head Mounted Eye Tracking Of Infants Natural Interactions A New Method
Franchak Head Mounted Eye Tracking Of Infants Natural Interactions A New MethodFranchak Head Mounted Eye Tracking Of Infants Natural Interactions A New Method
Franchak Head Mounted Eye Tracking Of Infants Natural Interactions A New Method
 
What Is A Canadian
What Is A  CanadianWhat Is A  Canadian
What Is A Canadian
 
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint EditorDigital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
 
Caelum Day In Rio
Caelum Day In RioCaelum Day In Rio
Caelum Day In Rio
 
Convenio vips 082011
Convenio vips 082011Convenio vips 082011
Convenio vips 082011
 
Työmuotojen tukeminen
Työmuotojen tukeminenTyömuotojen tukeminen
Työmuotojen tukeminen
 
Galerija Magicus Dnevnik Esencija Do 21 3 2010 Ciklus Cernik I Madonin Sv...
Galerija Magicus   Dnevnik Esencija Do 21 3 2010   Ciklus Cernik I Madonin Sv...Galerija Magicus   Dnevnik Esencija Do 21 3 2010   Ciklus Cernik I Madonin Sv...
Galerija Magicus Dnevnik Esencija Do 21 3 2010 Ciklus Cernik I Madonin Sv...
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
 
Mitex Pine
Mitex PineMitex Pine
Mitex Pine
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...
ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...
ZFConf 2011: Воюем за ресурсы: Повышение производительности Zend Framework пр...
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
Dorr Space Variant Spatio Temporal Filtering Of Video For Gaze Visualization ...
Dorr Space Variant Spatio Temporal Filtering Of Video For Gaze Visualization ...Dorr Space Variant Spatio Temporal Filtering Of Video For Gaze Visualization ...
Dorr Space Variant Spatio Temporal Filtering Of Video For Gaze Visualization ...
 

Similar to บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
supasit2702
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Marz Zuthamat
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Marz Zuthamat
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

Similar to บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (16)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
สงครามเย็น
สงครามเย็น  สงครามเย็น
สงครามเย็น
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
21
2121
21
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
งาน อ.ป
งาน อ.ป งาน อ.ป
งาน อ.ป
 
องค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์มองค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์ม
 
โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3
 
The marshall plan
The marshall planThe marshall plan
The marshall plan
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

  • 1. ทบบาทของสหรัฐอเมริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 น.ส. เบญญทิพย์ ธนาคา ม.6/4 เลขที่ 21
  • 2. บทบาทของสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 • สหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 • นโยบายของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น • บทบาทของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคต่าง ๆ • นโยบายต่างประเทศในช่วงหลังสงครามเย็น
  • 3. สหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครังที่ 2 ้ การเติบโตทาง การเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิจ สังคมอเมริกัน
  • 4. การผลิตและความต้องการบริโภค สินค้าหลังสงคราม การเติบโตทาง การขยายตัวของการค้าต่างประเทศ เศรษฐกิจ วิกฤติเศรษฐกิจในทศวรรษที่ 1970
  • 5. สมัยเบบี้บูม (Baby Boom) การเปลี่ยนแปลงของ การเติบโตของเมือง สังคมอเมริกัน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
  • 6. นโยบายของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น นโยบายหลักของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น คือการ ดาเนินการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ได้ดาเนินนโยบายอย่างเป็น รูปธรรมด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้ - หลักการทรูแมน (Truman Doctrine) - แผนการมาร์แชล (Marshall Plan) - องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติคเหนือ (North Atlantic treaty Organization = Nato) - นโยบายผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente Policy)
  • 7. หลักการทรูแมน (Truman Doctrine) หลักการทรูแมนเป็นการแถลงการณ์ของประธานาธิบดีทรูแมน ทีแสดงการ ่ ต่อต้านพฤติกรรมของสหภาพโซเวียตอย่างเปิดเผยในลักษณะที่พร้อมจะ เผชิญหน้า และถือว่าเป็นการประกาศสงครามเย็นอย่างเป็นทางการของ สหรัฐอเมริกา ดังแถลงการณ์ว่า “นโยบายหลักข้อหนึ่งของสหรัฐอเมริกา คือ การสร้างสภาวะที่จะทาให้เราและชาติสามารถดาเนิน ชีวิตให้เป็นอิสระจากการใช้กาลังบังคับ” “ข้าพเจ้าเชื่อว่านโยบายของสหรัฐอเมริกาสนับ สนุนเสรีชนที่กาลังต่อต้านความพยายามครอบงา โดยชน กลุ่มน้อยต่าง ๆ ที่ติดอาวุธหรือแรงกดดันจากภายนอก”
  • 8. แผนการมาร์แชล (Marshall Plan) แผนการมาร์แชลล์เป็นแผนการที่ริเริ่มโดยนายจอร์จ ซี.มาร์แชลล์ รัฐมนตรีว่าการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ โครงการฟื้นฟูยุโรป (The European Recovery Program (E.R.P.) เป็นโครงการช่วยเหลือระยะเวลา 5 ปี เพื่อการ “ฟื้นฟู” ทางด้านเศรษฐกิจยุโรปตะวันตก สหภาพโซเวียตได้โต้ตอบโดยจัดตั้งกลุ่มร่วมมือทางเศรษฐกิจ คือ (Council for Mutual Economic Assistance :COMECON)
  • 9. องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติคเหนือ (North Atlantic treaty Organization = Nato) สหรัฐอเมริกาได้เจรจากับประเทศกลุ่มยุโรปตะวันตก ๑๑ ประเทศ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยี่ยม นอร์เวย์ เดนมาร์ก ลักเซมเบอร์ก โปรตุเกส เนเธอแลนด์ และ แคนาดา จนสามารถลงร่วมกันในสนธิสัญญาเพื่อสถาปนาองค์การสนธิสัญญา แอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต้ (North Atlantic Treaty Organization- NATO) เพื่อต่อต้านการขยายตัวทางการเมือง-การทหารของฝ่ายคอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตได้สถาปนาองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอว์ (Warsaw Treaty Organization- Warsaw Pact) ซึ่งเป็นกลุ่มพันธมิตรทางการทหารขึ้นมา ซึ่ง ประกอบด้วยประเทศในกลุ่มยุโรปตะวันออก ๗ ประเทศ ได้แก่ โปแลนด์ เยอรมัน ตะวันออก โรมาเนีย เชคโกสโลวาเกีย บัลกาเรีย ฮังการี และอัลบาเนีย
  • 10. นโยบายผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente Policy) - ประธานาธิบดีริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (Richard Milhous Nixon)ได้เดินทางไปพบผูนาจีน อดีตนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล ทังสอง ้ ้ ฝ่ายตกลงให้มีการออกแถลงการณ์เซี่ยงไฮ้ - จีนรับหลักการนิกสัน (Nixon Doctrine) - สหรัฐอเมริกากับโซเวียตร่วมลงนามในการ เจรจาจากัดอาวุธยุทธศาสตร์ครั้งที่ 1 SALT-1 (Strategic Arms Limitation Talks) ในปี 1972 และ SALT-2 ครั้งที่ 2 ในปี1979
  • 11. บทบาทของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคต่าง ๆ การปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน (Berlin blockade) สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม ปัญหาในตะวันออกกลาง กรณีคิวบา
  • 12. การปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน (Berlin blockade) เยอรมนี เยอรมนีตะวันตก เยอรมนีตะวันออก (เสรีนิยม) สังคมนิยคอมมิวนิสต์ เบอร์ลินตะวันตก เบอร์ลินตะวันออก
  • 13. สงครามเกาหลี สงครามเกาหลี เป็นสงครามระหว่างประเทศเกาหลีเหนือกับ ประเทศเกาหลีใต้ (ค.ศ. 1950-1953) เป็นหนึ่งในสงครามตัวแทน ระหว่างช่วงสงครามเย็น ฝ่ายเกาหลีใต้ประกอบโดยสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา สหราช อาณาจักร ประเทศออสเตรเลีย และกองกาลังของประเทศอื่น ๆ โดย คาสั่งของสหประชาชาติ ฝ่ายเกาหลีเหนือมีสาธารณรัฐประชาชนจีน และสหภาพโซเวียตคอยให้ความช่วยเหลือ
  • 14. สงครามเวียดนาม สงครามเวียดนาม (Vietnam Wars, ค.ศ. 1957- 1975) เป็นสงครามระหว่างเวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ที่ สนับสนุนโดยสหรัฐอเมริกา เพื่อตัดสินว่าควรรวมเวียดนามเป็นหนึ่ง เดียวตามข้อตกลงเจนีวา ค.ศ. 1954 หรือไม่ สงครามจบลงด้วยชัยชนะ ของเวียดนามเหนือ และรวมประเทศเวียดนามทั้งสองเข้าด้วยกัน ซึ่ง ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศเวียดนาม ในประเทศ เวียดนามเองเรียกสงครามนี้ว่า สงครามปกป้องชาติจากอเมริกัน หรือ สงครามอเมริกัน
  • 15. ปัญหาในตะวันออกกลาง สหรัฐอเมริกาประกาศสนับสนุนการตั้ง ประเทศ อิสราเอลของชาวยิวโพ้นทะเลใน ดินแดนปาเลสไตน์ของชาวอาหรับ ประเทศในตะวันออกกลางไม่พอใจและประกาศสงครามกับ อิสราเอล ทาให้เกิดสงครามระหว่างยิว-อาหรับ
  • 16. กรณีคิวบา สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าสู่อเมริกา ใต้และแอฟริกา จนเกิดวิกฤติการณ์คิวบา สหรัฐอเมริกโดยการนาของประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี เอาชนะสหภาพโซเวียตได้ในที่สุด
  • 17. นโยบายต่างประเทศในช่วง หลังสงครามเย็น
  • 18. นโยบายก่อนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 นโยบายจัดระเบียบโลกใหม่ อิรัก บุก คูเวต สงครามอ่าวเปอร์เซีย สหรัฐใช้นโยบายจัดระเบียบ โลกจนได้รับชัยชนะ
  • 19. นโยบายก่อนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 (ต่อ) -นโยบายด้านการค้าระหว่างประเทศ จัดตั้งองค์กร เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น WTO, GATT,IMF เป็นต้น -นโยบายด้านสิทธิมนุษยชน เช่น การดาเนิน นโยบายแทรกแซงพม่าทางด้านเศรฐกิจกรณีละเมิดสิทธิ มนุษยชน การต่อต้านรัฐบาลจีนจากกรณีเหตุการณ์ที่จตุรัส เทียนอันเหมิน เป็นต้น
  • 20. นโยบายหลังวันที่ 11 กันยายน : ลัทธิการก่อการร้าย อาคารเวิร์ดเทรด ถูกเครื่องบินก่อการร้ายพุงชน ่ -ทาสงครามกับอัฟกานิสถาน - ส่งกองกาลังเข้าไปในอิรัก สหรัฐอเมริกาประกาศสงคราม - กล่าวหาผู้นาของบางประเทศว่า ต่อต้านลัทธิการก่อการร้าย เป็นแกนนาแห่งความชั่วร้าย