SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
เรื่อง ศิลปวัฒนธรรมไทยของภาคใต้และภาคตะวันออก
จัดทาโดย
อาจารย์ ณัฐธภัคร หมื่อนอภัย
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
วิทยาลัย เทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้เด็กรุ่นหลังได้ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี อาหรา
เครื่องแต่งกาย ภาษาท้องถิ่น วรรณกรรม ศิลปะพื้นบ้าน สถาปัตยกรรม หัตกรรม
ของภาคใต้และภาคตะวันออก
ภาคตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง
อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้และอัญมณีของประเทศ
ภาคใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ทางใต้ของประเทศถัดลงไปจากบริเวณภาคตะวั
นตก (หรือภาคกลางขึ้นอยู่กับการจัดแบ่งของแต่ละหน่วยงาน) ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก
และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจดใต้ประมาณ
750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ประเพณีภาคใต้ 1
อาหารประจาภาคใต้ 16
เครื่องแต่งกายประจาภาคใต้ 23
ภาษาท้องถิ่นภาคใต้ 24
วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 29
ศิลปะพื้นบ้านของภาคใต้ 30
สถาปัตยกรรมของภาคใต้ 36
หัตกรรมท้องถิ่นของภาคใต้ 43
ประเพณีภาคตะวันออก 48
อาหารประจาภาคตะวันออก 53
เครื่องแต่งกายประจาภาคตะวันออก 54
ภาษาท้องถิ่นภาคภาคตะวันออก 55
วรรณกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก 56
ศิลปะพื้นบ้านของภาคตะวันออก 57
สถาปัตยกรรมของภาคตะวันออก 59
หัตกรรมท้องถิ่นของภาคตะวันออก 60
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีลอยเรือ
ความสาคัญ
ประเพณีลอยเรือเป็นประเพณีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษดั้งเดิมของชาวอูรักลาโวย
ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกระบี่และจังหวัดใกล้เคียง
เมื่อถึงเวลาที่กาหนดสมาชิกในชุมชนและญาติพี่น้องที่แยกย้ายถิ่นไปทามาหากิน ในแถบทะเล
และหมู่เกาะต่าง ๆในทะเลอันดามันจะพากันเดินทางกลับมายังถิ่นฐาน เพื่อประกอบพิธีนี้
พิธีกรรม
ในวันขึ้น ๑๓ ค่า ช่วงเช้าชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่จะทาพิธี ผู้หญิงจะทาขนม
ผู้ชายจะสร้างและซ่อมแซมที่พักชั่วคราว ช่วงเย็น
ทั้งหญิงและชายจะไปรวมกันที่ศาลบรรพบุรุษเพื่อนาอาหารเครื่องเซ่นไปเซ่นไหว้
บรรพบุรุษเป็นการบอกกล่าวให้มาร่วมพิธีลอยเรือ
เช้าของวันขึ้น ๑๔ ค่า ผู้ชายส่วนหนึ่งเดินทางไปตัดไม้ เพื่อนาไม้มาทาเรือผู้หญิงจะร้องราทาเพลง
ในขณะที่รอรับไม้บริเวณชายฝั่ง แล้วขบวนแห่จะแห่ไม้ไปวนรอบศาลบรรพบุรุษเพื่อนากลับมาทาเรือ
"ปลาจั๊ก" คืนวันขึ้น ๑๔ ค่า มีพิธีฉลองเรือโดยมีการรารอบเรือ
เพื่อถวายวิญญาณบรรพบุรุษโดยใช้ดนตรีและเพลงรามะนาประกอบวงหนึ่งและอีกวงจะ
เป็นการราวงแบบสมัยใหม่มีดนตรีชาโดว์ประกอบการร้องรา
โต๊ะหมอจะทาพิธีในช่วงเริ่มฉลองเรือและมีพิธีสาดน้าตอนเที่ยงคืน (เลฮฺบาเลฮฺ)
และทาพิธีอีกครั้งในช่วงเช้าตรู่วันขึ้น ๑๕ ค่า
ก่อนนาเรือไปลอยในทิศทางลมซึ่งแน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝั่ง หลังจากนั้นแยกย้ายกันนอนพักผ่อน
บ่ายวันขึ้น ๑๕ ค่า ผู้ชายส่วนหนึ่งแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพื่อทาไม้กันผีสาหรับทาพิธี
ฉลองในเวลากลางคืน โดยมีพิธีกรรมเหมือนกับพิธีฉลองเรือทุกประการ
จนกระทั่งใกล้จะสว่างโต๊ะหมอจะทาพิธีเสกน้ามนต์ทานายโชคชะตา
และสะเดาะเคราะห์ให้สมาชิกที่เข้าร่วมพิธีก่อนจะอาบน้ามนต์
และแยกย้ายกันกลับบ้านโดยนาไม้กันผีไปปักบริเวณรอบหมู่บ้านด้วย
ประเพณีลอยเรือเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษอันเกี่ยว
เนื่องกับตานานความเชื่อความเป็นมาและวิถีชีวิตทุกอย่างของชาวเลอูรักลาโวย
การจัดพิธีฉลองเรือก็เพื่อการสะเดาะเคราะห์ ส่งวิญญาณกลับสู่บ้านเมืองเดิม และการส่งสัตว์ไปไถ่บาป
เรือปลาจั๊กที่ทาขึ้นในพิธีลอยเรือ ทาจากไม้ตีนเป็ดและไม้ระกาเป็นสัญลักษณ์ของ "ยาน"
ที่จะนาวิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อีกภพหนึ่ง มีชิ้นไม้ระกาที่สลักเสลาอย่างสวยงามเป็นรูปลักษณ์ต่าง ๆ
ประดับประดาอยู่ในเรือ รูปนกเกาะหัวเรือ หมายถึง "โต๊ะบุหรง" บรรพบุรุษผู้ซึ่งสามารถห้ามลมห้ามฝน
ลายฟันปลา หมายถึง "โต๊ะบิกง" บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม ลายงูหมายถึง "โต๊ะอาโฆะเบอราไตย"
บรรพบุรุษที่เป็นงู ฯลฯ ในเรือยังมีตุ๊กตาไม้ระกาทาหน้าที่นาเคราะห์โศกโรคภัยของสมาชิกในแต่ละครอบ
ครัวเดินทางไปกับเรือและเครื่องเซ่นต่าง ๆ ที่จะให้วิญญาณบรรพบุรุษนาติดตัวไปยังถิ่นฐานเดิมที่เรียกว่า
"ฆูนุงฌึไร"
การร่ายราแบบดั้งเดิมผสมผสานกับบทเพลงเก่าแก่และดนตรีรามะนา
เป็นส่วนประกอบที่เร้าใจและเป็นการราถวายต่อบรรพบุรุษ ทุกคนที่ราเชื่อว่าจะได้บุญ
โต๊ะหมอผู้นาทั้งทางโลกและทางธรรม
เชื่อว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับพระผู้เป็นเจ้าและวิญญาณบรรพบุรุษได้
ผู้ที่ผ่านพิธีลอยเรือถือว่าจะเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศกโรคภัยไปหมดแล้ว
ชีวิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสุขและโชคดีในการทามาหากิน
งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ
ความสาคัญ
งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรม
เพื่อสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชุมชน และเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น โดยเฉพาะการขึ้นโขนชิงธง
ที่นายท้ายเรือต้องถือท้ายเรือให้ตรงเพื่อให้นายหัวเรือคว้าธงที่ทุ่นเส้น ชัยโดยการขึ้นโขนเรือ
พิธีกรรม
การแข่งเรือของอาเภอหลังสวนเริ่มมีครั้งแรกในสมัยพระยาจรูญราชโภคากร เป็นเจ้าเมืองหลังสวน
เมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีเศษ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๕(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
เป็นการลากพระชิงสายกันในแม่น้า โดยใช้เรือพายเป็นเรือดึงลากแย่งกัน วัด
หรือหมู่บ้านใดมีเรือมากฝีพายดี ก็แย่งพระไปได้ อัญเชิญพระไปประดิษฐานไว้ในวัดที่ตนต้องการ
มีงานสมโภชอย่างสนุกสนานในตอนกลางคืน รุ่งเช้าถวายสลากภัต
ต่อมาสมัยหลวงปราณีประชาชน อามาตย์เอก
ได้ดัดแปลงให้มีสัญญาณในการปล่อยเรือโดยใช้เชือกผูกหางเรือคู่ที่จะแข่ง
ให้เรือถูกพายไปจนตึงแล้วใช้มีดสับเชือกที่ผูกไว้ให้ขาด
ลักษณะของเรือที่ใช้แข่งในปัจจุบันขุดจากไม้ซุง (ตะเคียน) ทั้งต้น ยาวประมาณ ๑๘-๑๙ เมตร
มีธงประจาเรือติดอยู่ เรือแข่งจะแบ่งออกเป็น ๒ประเภท คือ ฝีพาย ๓๐ คน และฝีพาย ๓๒ คน
ฝีพายจะนั่งกันเป็นคู่ยกเว้นนายหัวกับนายท้าย
เรือแต่ละลาจะมีฆ้องหรือนกหวีดเพื่อตีหรือเป่าให้จังหวะฝีพายได้พายอย่าง พร้อมเพรียงกัน
รางวัลสาหรับการแข่งขันในสมัยก่อน เรือที่ชนะจะได้รับผ้าแถบหัวเรือ
ส่วนฝีพายจะได้รับผ้าขาวม้าคนละผืน ต่อมาเป็นการแข่งขันชิงน้ามันก๊าด เพื่อนาไปถวายวัด
เพราะเรือส่วนใหญ่เป็นเรือของวัด และตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ เป็นต้นมา
เป็นการแข่งขันเพื่อชิงโล่พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กติกาการปล่อยเรือและการเข้าเส้นชัยมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์ เช่น
ในปัจจุบันมีการแบ่งสายน้าโดยการจับสลาก กาหนดระยะทางที่แน่นอน คือ ๕๐๐ เมตร
มีเรือเข้าร่วมแข่งขันทั้งเรือในท้องถิ่นจังหวัดชุมพรเอง และเรือจากต่างจังหวัด สถานที่คือวัดด่านประชากร
ประเพณีขึ้นถ้าวัดถ้าเขาขุนกระทิง
ความสาคัญ
ประเพณีขึ้นถ้าเป็นประเพณีที่มีการสืบทอดกันมาแต่อดีต นิยมจัดขึ้นเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต
หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรด้วยมีความเชื่อว่าการทานาหรือ
กิจกรรมการเกษตรที่ประสบความสาเร็จได้เกิดจากการดลบันดาลของสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย
การขึ้นถ้าจึงเป็นพิธีกรรมใช้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ซึ่งมักเป็นพระพุทธรูปของวัดเพื่อแสดงความกตัญญูและเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ แก่ชีวิต
พิธีกรรม
เปิดให้มีการสักการะ และปิดทองพระพุทธรูปภายในถ้า โดยทางวัดจัดบริการจาหน่ายดอกไม้ ธูป เทียน
เพื่อหารายได้ให้วัด อาจมีการจัดมโหสพ เช่นมโนราห์ ควายชน การละเล่นพื้นเมือง
และร้านค้าจาหน่ายสินค้าต่าง ๆ
ถือศีลกินเจ
ช่วงเวลา
การถือศีลกินเจของชาวตรังตรงกับวันขึ้น ๑ ค่า ถึง ๙ ค่า เดือน ๙ ของจีน (ตรงกับเดือน ๑๑ ของไทย
ช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคมทุกปี) โรงศาลเจ้าทุกโรงจะกาหนดการกินเจพร้อมกัน
การประกอบพิธีกรรมจะใช้สถานที่บริเวณโรงศาลเจ้าของแต่ละแห่ง
ความสาคัญ
พิธีถือศีลกินเจจะเป็นพิธีที่มีความสาคัญดังนี้
๑. เป็นการบาเพ็ญศีล สมาทานกินเจ บริโภคแต่อาหารผักและผลไม้ เป็นการละเว้นการทาบาป
ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต รักษาศีลทาจิตใจให้บริสุทธิ์ งดการเที่ยวเตร่ ไม่ดื่มของมึนเมา
ผู้ศรัทธาที่กินเจจะสวมเสื้อผ้าสีขาวและสวดมนต์ทาสมาธิภาวนาแผ่เมตตาจิต
ขอพรให้ตนเองและครอบครัว
๒. เป็นการสะเดาะเคราะห์ปัดเป่าความชั่วร้าย โรคภัยไข้เจ็บให้ออกไปจากตัวผู้ที่ถือศีลกินเจ
๓. เกิดความสามัคคีในหมู่ผู้ที่ศรัทธาที่เข้าร่วมพิธีถือศีลกินเจ ต่างก็ยิ้มแย้มเป็นมิตรมีไมตรีต่อกัน
มีการบริจาคทรัพย์สาหรับเป็นค่าอาหารและค่าใช้จ่ายในโรงครัว เพื่อให้มีอาหารเพียงพอ
มีอาสาสมัครมาช่วยงานทางานครัวเป็นจานวนมาก
พิธีกรรม
ประเพณีถือศีลกินเจเป็นประเพณีที่มีการผสมผสานของลัทธิความเชื่อต่าง ๆ หลายลัทธิ ได้แก่ลัทธิเต๋า
ลัทธิขงจื่อ ลัทธิการนับถือเทวะ และพุทธศาสนานิกายมหายาน
การประกอบพิธีกรรม
๑. ก่อนพิธีหนึ่งวัน จะมีการทาความสะอาดศาลเจ้า รมกายาน ไม้หอม และยกเสาธงเต๊งโก ไว้หน้าศาล
เพื่ออัญเชิญดวงวิญญาณของเจ้า พอถึงเวลาเที่ยงคืนจะประกอบพิธีอัญเชิญยกอ๋องฮ่องเต้
และกิวอ๋องไตเต้มาเป็นประธานในพิธี พร้อมกับแขวนตะเกียงน้า ๙ ดวง
ซึ่งหมายถึงดวงวิญาณขององค์กิวอ๋องไตเต้ เป็นอันว่าพิธีกินเจได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว
หลังจากพิธีรับเจ้าเข้ามาเป็นประธานในศาลแล้ว ก็จะทาพิธีวางกาลังทหารรักษาการณ์ตามทิศต่าง ๆ
๒. การเตรียมการกินเจ ผู้ศรัทธาที่จะร่วมถิอศีลกินเจจะทาความสะอาดภาชนะเครื่องใช้ในการประกอบ
อาหารให้สะอาดหมดกลิ่นคาว จัดแยกเครื่องใช้ไว้เฉพาะไม่ปะปนกับเครื่องใช้ทั่วไป
บางบ้านจะนาภาชนะชุดใหม่มาประกอบอาหารและใส่อาหารเจ
บางบ้านจะรับอาหารจากโรงปรุงของศาลเจ้า
๓. พิธีกรรมตลอด ๙ วัน ของการกินเจ มีดังนี้
๓.๑ พิธีบูชาเจ้า ทาในวันแรก บูชาด้วยเครื่องเซ่นต่าง ๆ ทั้งที่ศาลเจ้า และที่บ้านของผู้ที่กินเจ
เมื่อกินเจครบสามวัน ถือว่าผู้กินเจได้ชาระร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ได้สะอาดบริสุทธิ์
๓.๒ พิธีโขกุ้น เป็นพิธีเลี้ยงทหารที่รักษาการณ์ตามทิศต่าง ๆ จะทาพิธีในวัน ๓ ค่า ๖ ค่า และ ๙ ค่า
มีอาหารและเหล้าเซ่นสังเวยเลี้ยงทหาร
๓.๓ พิธีซ้องเก็ง เป็นพิธีการสวดมนต์ พิธีนี้จะเริ่มตั้งแต่องค์กิวอ๋องไตเต้
เข้ามาประทับในศาลและจะกระทากันทุก ๆ วันวันละ ๒ ครั้ง ในตอนเช้าและตอนค่า
๓.๔ พิธีบูชาดาว จะทาในคืนวัน ๗ ค่าเพื่อขอความคุ้มครองให้แก่ผู้กินเจ ในพิธีบูชาดาว จะมีการแจกฮู้
(กระดาษยันต์) เพื่อคุ้มครองผู้กินเจ
๓.๕ พิธีแห่เจ้า (ออกเที่ยว) เป็นพิธีที่เจ้าทั้งหมดออกเยี่ยมลูกหลานตามบ้าน
เพื่อความเป็นสิริมงคลและปัดเป่าความชั่วร้าย ศาลเจ้าแต่ละโรงจะออกเยี่ยมไม่พร้อมกัน
พิธีนี้จะจัดเป็นริ้วขบวน แห่แหนไปตามถนนสายต่าง ๆ
บรรดาชาวบ้านที่จะศรัทธาจะตั้งโต๊ะเครื่องเซ่นไหว้ไว้รับพระและจุดประทัด เมื่อขบวนผ่าน
เจ้าองค์ที่เข้าประทับทรงจะแสดงอิทธิฤทธิ์อภินิหารโดยใช้ของมีคม เหล็กแหลม ทิ่มแทงตามส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย
๓.๖ พิธีลุยไฟ เพื่อแสดงอิทธิฤทธิ์ของเจ้า จึงมีการก่อกองไฟให้เป็นถ่านแดงระอุร้อน
เจ้าที่เข้าประทับคนทรงจะเข้าไปวิ่งลุยผ่านกองไฟ เพื่อแสดงให้เห็นความบริสุทธิ์และอิทธิฤทธิ์
ผู้ที่ถือศีลกินเจก็จะเข้าไปลุยไฟด้วยเพื่อให้ไฟทิพย์ชาระร่างกายให้ บริสุทธิ์
๓.๗ พิธีส่งพระ ทากันในวันสุดท้ายของการกินเจ พิธีนี้แบ่งออกเป็น ๒ ภาค
คือภาคกลางวันจะส่งเทวดาเง็กเซียนฮ่องเต้ ซึ่งทากันที่เสาธง และภาคกลางคืนจะส่งองค์กิวอ๋องไตเต้
ซึ่งจะทากันตอนเที่ยงคืน โดยผู้กินเจจะเดินไปส่งกันที่ฝั่งน้าเพราะเจ้าจะกลับสวรรค์ทางทะเล
และทันทีที่คณะส่งเจ้าออกพ้นประตูศาลไฟทุกดวงจะต้องดับสนิท แล้วปิดประตูใหญ่ รุ่งขึ้นจะลดเสาธง
เรียกทหารพร้อมกับเลี้ยงทหารและส่งกลับ เสร็จแล้วก็เปิดประตูใหญ่เมื่อได้ฤกษ์ตามวัน/เวลาที่เจ้าสั่งไว้
ประเพณีอาบน้าคนแก่
ช่วงเวลา
ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๕ เดือนเมษายน (เดือน ๕) ของทุกปี ซึ่งจะเลือกทาวันไหนก็ได้ จะเป็นตอนเช้า
หรือตอนบ่ายเป็นไปตามการนัดหมายของแต่ละครอบครัว
แต่ละบ้านโดยนัดหมายสถานที่และวันเวลาไว้ล่วงหน้าเป็นประจาทุกปี
ซึ่งอาจเป็นที่บ้านหรือที่วัดก็ได้ตามความเหมาะสม
ความสาคัญ
ประเพณีอาบน้าคนแก่เป็นวิธีการแสดงออกซึ่งความเคารพนับถือ แก่บิดามารดา และญาติคนแก่(ผู้อาวุโส)
ของตระกูล รวมทั้งผู้มีพระคุณและบุคคลที่ตนเคารพนับถือ
พิธีกรรม
๑. การขอขมา
เมื่อเชิญคนแก่ทั้งหลายนั่งในโรงพิธีเรียบร้อยแล้ว ลูกหลานและชาวบ้านที่มาร่วมพิธี
จะรวมกลุ่มยืนอยู่ด้านหน้าของคนแก่ทั้งหลาย ผู้นาในพิธีนาดอกไม้และจุดธูปเทียนพนมมือ
แล้วกล่าวขอขมา ทุกคนว่าตามดังนี้
"กายกรรมสาม วจีกรรมสี่ มโนกรรมสาม หากข้าพเจ้าทั้งหลายเกิดประมาทพลาดพลั้งแก่ท่าน ด้วยกายก็ดี
ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ต่อหน้าก็ดี ลับหลังก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ขอให้ท่านอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
และขอได้โปรดอานวยพรให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย มีความสุขความเจริญตลอดไป
และขอตั้งจิตอธิษฐานขอให้ท่านเจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดไป
๒. พิธีการอาบน้า
การอาบน้าเป็นการตักน้ามารดอาบให้คนแก่จนเปียกโชกทั้งตัว
ปัจจุบันบางหมู่บ้านได้ปรับเปลี่ยนวิธีการในการอาบน้า
มารดน้าที่มือทั้งสองของคนแก่แทนเพราะคนแก่ที่มีอายุมาก มีลูกหลานและผู้ที่เคารพนับถือมาก
พิธีการอาบน้าต้องใช้เวลานานจึงแล้วเสร็จ คนแก่เหล่านั้นอาจรู้สึกหนาวสะท้าน
ซึ่งเป็นเหตุให้เจ็บป่วยเป็นไข้ได้
ลูกหลานจะเข้าแถวตักน้าที่เตรียมไว้ในโอ่ง มารดที่มือหรือที่ตัวคนแก่
และมอบเครื่องนุ่งห่มเครื่องใช้ให้คนแก่พร้อมกับขอพร คนแก่ก็จะให้พรลูกหลาน
การอาบน้าจะทาไปตามลาดับจนครบทุกคน
เมื่อเสร็จพิธี ลูกหลานจะนาเสื้อผ้าชุดใหม่มาผลัดเปลี่ยนให้คนแก่ ทาแป้ง หวีผม แต่งตัวให้
เป็นอันเสร็จพิธีการอาบน้า
ประเพณีให้ทานไฟ
ช่วงเวลา
การให้ทานไฟ ส่วนใหญ่จะปฏิบัติในช่วงเดือนยี่ เป็นช่วงเวลาที่อากาศหนาวเย็นที่สุด
โดยชาวบ้านจะนัดหมายไปพร้อมกันในเวลาย่ารุ่ง หรือตอนเช้ามืดของวันไหนก็ได้
ความสาคัญ
การให้ทานไฟ เป็นการทาบุญเพื่อให้พระภิกษุสงฆ์เกิดความอบอุ่นในตอนเช้ามืดของคืนที่มี
อากาศหนาวเย็น โดยใช้ลานวัดเป็นที่ก่อกองไฟแล้วทาขนมถวายพระ
ประวัติความเป็นมาของประเพณีให้ทานไฟ กล่าวถึงในขุนทกนิกายชาดก เรื่อง
ความตระหนี่ถี่เหนียวของโกลิยะเศรษฐี ที่อยากกินขนมเบื้อง
แต่เสียดายเงินไม่ยอมซื้อและไม่อยากให้ลูกเมียได้กินด้วย
ภรรยาจึงทาขนมเบื้องที่บ้านชั้นเจ็ดให้เศรษฐีได้รับประทานโดยไม่ให้ผู้ใด เห็น
ขณะที่สองสามีภรรยากาลังปรุงขนมเบื้อง พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เชตวันมหาวิหาร ทรงทราบด้วยญาณ
จึงโปรดให้พระโมคคัลลานะไปแก้นิสัยของโกลิยะเศรษฐี
พระโมคคัคลานะตรงไปบนตึกชั้นเจ็ดของคฤหาสน์เศรษฐี เศรษฐีเข้าใจว่าจะมาขอขนม
จึงแสดงอาการรังเกียจและออกวาจาขับไล่
แต่พระโมคคัคลานะพยายามทรมานเศรษฐีอยู่นานจนยอมละนิสัยตระหนี่
พระโมคคัลลานะได้แสดงธรรมเรื่องประโยชน์ของการให้ จนโกลิยะเศรษฐีและภรรยาเกิดความเลื่อมใส
ได้นิมนต์มารับถวายอาหารที่บ้านตน พระโมคคัลลานะแจ้งให้นาไปถวายพระพุทธเจ้าและพระสาวก ๕๐๐
รูป ณ เชตวันมหาวิหาร โกลิยะเศรษฐีและภรรบาได้นาเข้าของเครื่องปรุงไปทาขนมเบื้องถวายพระพุทธเจ้า
และพระสาวก แต่ปรุงเท่าไหร่แป้งที่เตรียมมาเพียงเล็กน้อยก็ไม่หมด พระพุทธเจ้าจึงโปรดเทศนาสั่งสอน
ทั้งสองคนเกิดความปีติอิ่มเอิบในการบริจาคทาน เห็นแจ้งบรรลุธรรมชั้นโสดาบัน
พิธีกรรม
๑. การก่อกองไฟ ชาวบ้านจะเตรียมไม้ฟืน ถ่าน หรือเตาไฟ
สาหรับก่อให้เกิดความร้อนและความอบอุ่นแก่พระสงฆ์
บางแห่งนิยมใช้ไม้ฟืนหลายอันมาซ้อนกันเป็นเพิงก่อไฟ แล้วนิมนต์พระสงฆ์มานั่งผิงไฟ
เพื่อให้เกิดความอบอุ่นทั้งพระสงฆ์และชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียง
๒. การทาขนมถวายพระ ขนมที่เตรียมไปปรุงที่วัดในการให้ทานไฟเป็นขนมอะไรก็ได้
แต่ส่วนใหญ่จะนิยมขนมที่สามารถปรุงเสร็จในเวลาอันรวดเร็ว
ขนมส่วนมากจะปรุงโดยใช้ไฟแรงและเป็นขนมพื้นบ้าน เช่น ขนมเบื้อง ขนมครก ขนมครกข้าวเหนียว
ข้าวเกรียบปากหม้อ ขนมโค ขนมพิมพ์ ขนมจาก ชนมจู่จุน ข้าวเหนียวกวนทอด
ในปัจจุบันมีขนมและอาหารเพิ่มขึ้นอีกมากมาย เช่นน้าชากาแฟ หมี่ผัด ข้าวต้ม ข้าวเหนียวหลาม ขนมปังปิ้ง
ชาวบ้านจะปรุงขนมตามที่เตรียมเครื่องปรุงมา แล้วนาขนมที่ปรุงขึ้นมาร้อน ๆ ไปถวายพระสงฆ์
ขณะที่ทาขนมกันไป พระสงฆ์ก็ฉันไปพร้อม ๆกัน จะหยุดปรุงขนมก็ต่อเมื่อเครื่องปรุงที่เตรียมมาหมด
เมื่อพระสงฆ์ฉันอิ่มแล้ว ชาวบ้านจึงร่วมกันรับประทานกันอย่างสนุกสนาน หลังจากพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว
ก็สวดให้ศีลให้พรแก่ผู้ที่มาทาบุญเป็นอันเสร็จพิธี
ประเพณีลากพระ (ชักพระ)
ช่วงเวลา
วันลากพระ จะทากันในวันออกพรรษา คือวันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑
โดยตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวม วันรุ่งขึ้น แรม ๒ค่า เดือน ๑๑ จึงลากพระกลับวัด
ความสาคัญ
เป็นประเพณีทาบุญในวันออกพรรษา ปฏิบัติตามความเชื่อว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจาพรรษา ณ
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จกลับมายังโลกมนุษย์
พุทธศาสนิกชนไปรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าประทับบนบุษบกแล้วแห่แหน
พิธีกรรม
๑. การแต่งนมพระ
นมพระ หมายถึงพนมพระเป็นพาหนะที่ใช้บรรทุกพระลาก นิยมทา ๒ แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า
นมพระ ลากพระทางน้า เรียกว่า "เรือพระ" นมพระสร้างเป็นร้านม้า มีไม้สองท่อนรองรับข้างล่าง
ทาเป็นรูปพญานาค มีล้อ ๔ ล้ออยู่ใต้ตัวพญานาค ร้านม้าใช้ไม้ไผ่สานทาฝาผนัง ตกแต่งลวดลายระบายสีสวย
รอบ ๆประดับด้วยผ้าแพรสี ธงริ้ว ธงสามชาย ธงราว ธงยืนห้อยระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย
ทางมะพร้าว ดอกไม้สดทาอุบะห้อยระย้า มีต้มห่อด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ
ตัวพญานาคประดับกระจกแวววาวสีสวย ข้าง ๆ นมพระแขวนโพน กลอง ระฆัง ฆ้อง
ด้านหลังนมพระวางเก้าอี้ เป็นที่นั่งของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บนสุดของนมพระ
ได้รับการแต่งอย่างบรรจงดูแลเป็นพิเศษ เพราะความสง่าได้สัดส่วนของนมพระขึ้นอยู่กับยอดนม
๒. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ
พระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ที่นิยมคือ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑
พุทธบริษัทจะสรงน้าพระลากเปลี่ยนจีวร แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนนมพระ
แล้วพระสงฆ์จะเทศนาเรื่องการเสด็จไปดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า ตอนเช้ามืดในวันแรม ๑ ค่าเดือน ๑๑
ชาวบ้านจะมาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า ตักบาตรหน้าล้อ
เสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ
ในตอนนี้บางวัดจะทาพิธีทางไสยศาสตร์เพื่อให้การลากพระราบรื่น ปลอดภัย
๓. การลากพระ
ใช้เชือกแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผู้หญิงและสายผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง
เป็นเครื่องตีให้จังหวะเร้าใจในการลากพระ
คนลากจะเบียดเสียดกันสนุกสนานและประสานเสียงร้องบทลากพระเพื่อผ่อนแรง
ตัวอย่าง บทร้องที่ใช้ลากพระสร้อย :
อี้สาระพา เฮโล เฮโล
ไอ้ไหรกลมกลม หัวนมสาวสาว
ไอ้ไหรยาวยาว สาวสาวชอบใจ
ประเพณีตักบาตรธูปเทียน
ช่วงเวลา
ระยะเวลาของการประกอบพิธีตักบาตรธูปเทียนมีขึ้นในวันแรม ๑ ค่าเดือนแปด เวลาประมาณ ๑๖ นาฬิกา
ใช้ลานภายในวัดเป็นสถานที่ตักบาตรธูปเทียน
ความสาคัญ
เป็นการทาบุญด้วยธูปเทียนและดอกไม้ เนื่องในเทศกาลเข้าพรรษาเพื่อให้พระสงฆ์ที่จาพรรษา
ได้นาธูปเทียนใช้บูชาพระรัตนตรัยตลอดพรรษา ๓ เดือน
พิธีกรรม
วันประกอบพิธีตักบาตรธูปเทียน เป็นวันที่พระสงฆ์เริ่มพิธีเข้าพรรษา
พิธีการตักบาตรธูปเทียนจึงเริ่มในตอนบ่าย โดยพระภิกษุสงฆ์และสามเณร
ต่างพากันมายืนเรียงแถวในบริเวณลานวัด โดยมีย่ามคล้องแขนทุกรูป เพื่อเตรียมบิณฑบาต
เมื่อถึงเวลาบ่ายประมาณ ๑๖ นาฬิกาพุทธศาสนิกชนจะนาธูปเทียน ไม้ขีดไฟ และดอกไม้
มาใส่ย่ามถวายพระสงฆ์เป็นอันเสร็จพิธี
ประเพณีสารทเดือนสิบ
ช่วงเวลา
ระยะเวลาของการประกอบพิธีสารทเดือนสิบมีขึ้นในวันแรม ๑ ค่าถึงแรม ๑๕ ค่า เดือนสิบ
แต่วันที่ชาวนครศรีธรรมราชนิยมทาบุญคือวันแรม ๑๓-๑๕ ค่า
ความสาคัญ
เป็นความเชื่อของพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช ที่เชื่อว่าบรรพบุรุษอันได้แก่ ปู่ย่า ตายาย
และญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากทาความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี
ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศส่วนกุศลให้แต่ละปีมายังชีพ ดังนั้นในวันแรม ๑ ค่าเดือนสิบ
คนบาปทั้งหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์เพื่อมาขอ
ส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้อง และจะกลับไปนรกในวันแรม ๑๕ ค่า เดือนสิบ
ในโอกาสนี้เองลูกหลานและผู้ยังมีชีวิตอยู่จึงนาอาหารไปทาบุญที่วัด
เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที
พิธีกรรม
พิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบ มีดังนี้
๑. การจัดหฺมฺรับ
เริ่มในวันแรม ๑๓ ค่า ชาวบ้านจะเตรียมซื้ออาหารแห้ง พืชผักที่เก็บไว้ได้นาน
ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน และขนมที่เป็นสัญลักษณ์ของสารทเดือนสิบ จัดเตรียมใส่หฺมฺรับ
การจัดหฺมฺรับ คือ การบรรจุและประดับด้วยสิ่งของ อาหาร ขนมเดือนสิบลงในภาชนะที่เตรียมไว้ เช่น ถาด
กาละมัง เข่ง กระเชอ เป็นต้น ชั้นล่างสุดบรรจุอาหารแห้ง ชั้นสองเป็นพืชผักที่เก็บไว้นาน
ชั้นสามเป็นของใช้ในชีวิตประจาวัน ขั้นบนสุด ประดับขนมสัญลักษณ์เดือนสิบ ได้แก่ขนมพอง ขนมลา
ขนมบ้า ขนมดีซา ขนมแต่ละชนิดมีความหมายดังนี้
ขนมลา เป็นเสมือนเสื้อผ้าที่ให้บรรพบุรุษใช้นุ่งห่ม
ขนมพอง เป็นเสมือนแพที่ให้บรรพบุรุษข้ามห้วงมหรรณพ
ขนมกง เป็นเสมือนเครื่องประดับ ใช้ตกแต่งร่างกาย
ขนมบ้า เป็นเสมือนเมล็ดสะบ้า ไว้เล่นในวันตรุษสงกรานต์
ขนมดีซา เป็นเสมือนเงินตรา ไว้ให้ใช้สอย
๒. การยกหฺมฺรับ
ในวันแรม ๑๔ หรือ ๑๕ ค่า ชาวบ้านจะยกหฺมฺรับที่จัดเตรียมไว้ไปวัด และนาภัตตาหารไปถวายพระด้วย
โดยเลือกไปวัดที่อยู่ใกล้บ้านหรือวัดที่บรรพบุรุษของตนนิยมไป
๓. การฉลองหฺมฺรับและบังสุกุล
เมื่อนาหมฺรับไปวัดแล้ว จะมีการฉลองหฺมฺรับ และทาบุญเลี้ยงพระเสร็จแล้วจึงมีการบังสุกุล
การทาบุญวันนี้เป็นการส่งบรรพบุรุษและญาติพี่น้องให้กลับไปยังเมืองนรก
๔. การตั้งเปรต
เสร็จจากการฉลองหมฺรับและถวายภัตตาหารแล้ว
ชาวบ้านจะนาขนมอีกส่วนหนึ่งไปวางไว้ตามบริเวณลานวัด ข้างกาแพงวัด โคนไม้ใหญ่เรียกว่า ตั้งเปรต
เพื่อแผ่ส่วนกุศลเป็นทานแก่ผู้ล่วงลับที่ไม่มีญาติ หรือญาติไม่มาร่วมทาบุญให้
การชิงเปรตจะทาตอนตั้งเปรตเสร็จแล้ว เพราะเชื่อว่าถ้าหากใครได้กินของเหลือจากการเซ่นไหว้บรรพบุรุษ
จะได้รับกุศลเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง
บางวัดนิยมสร้างหลาเปรต เพื่อสะดวกแก่การตั้งเปรต บางวัดสร้างหลาเปรตไว้บนเสาสูงเพียงเสาเดียว
เกลาและชะโลมน้ามันเสาจนลื่น เมื่อเวลาชิงเปรตผู้ชนะคือผู้ที่สามารถปีนไปถึงหลาเปรตซึ่งต้องใช้ความ
พยายามอย่างมาก จึงสนุกสนานและตื่นเต้น
ประเพณีการแข่งเรือกอและด้วยฝีพาย
ช่วงเวลา
ประเพณีการแข่งเรือกอและและเรือยาวด้วยฝีพายหน้าพระที่นั่ง ได้จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี ในระหว่างวันที่
๒๑-๒๕ กันยายน ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ได้เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับแรม ณ
พระตาหนักทักษิณราชนิเวศน์
ความสาคัญ
ในการเสด็จแปรพระราชฐานทุกครั้งจะทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในจังหวัดนราธิวาสและ
จังหวัดใกล้เคียงทุกหมู่เหล่า
ทรงวางโครงการน้อยใหญ่เพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้มีความสงบสุข
ร่มเย็นด้วยพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯประชาชนชาวจังหวัดนราธิวาสต่างเห็น
พ้องต้องกันว่าสมควรจัดให้มีการแข่งขันเรือกอและอันเป็นประเพณีเก่าแก่ของ
ชาวจังหวัดนราธิวาสถวายทอดพระเนตรเพื่อเทิดพระเกียรติในพระมหากรุณาธิคุณอัน
ล้นพ้นและเป็นการฟื้นฟูประเพณีการแข่งเรือกอและด้วยฝีพาย หน้าพระที่นั่ง
และทรงมีพระบรมราชานุญาตให้จัดการแข่งขันเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๙
อีกทั้งได้พระราชทานถ้วยรางวัลแก่ทีมเรือที่ชนะการแข่งขันด้วย
ชิงเปรต
ช่วงเวลา
วันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๐ และ วันแรม ๑๕ ค่า เดือน ๑๐
ความสาคัญ
"ชิงเปรต" เป็นประเพณีของภาคใต้ที่กระทากันในวันสารท เดือน ๑๐
เป็นประเพณีสาคัญที่จัดขึ้นเพื่อทาบุญอุทิศแก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว
พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในสารานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานว่า
การชิงเปรตที่ปฏิบัติกันในประเพณีสารทเดือน ๑๐ นี้ มีลักษณะคล้ายกับการทิ้งกระจาดของจีน
แต่การทิ้งกระจาดของจีนมีเป้าหมายตรงกับการตั้งเปรต-ชิงเปรตเพียงบางส่วน เท่านั้น
กล่าวคือการทิ้งกระจาดของจีนเป็นการทิ้งทานให้แก่พวกผีไม่มีญาติ
ส่วนการชิงเปรตของไทยเป็นการอุทิศส่วนกุศลไปให้ทั้งผี(เปรต) ที่เป็นญาติพี่น้องของตนเอง
และที่ไม่มีญาติด้วย นอกจากนี้วิธีการปฏิบัติในการทิ้งกระจาดและการชิงเปรตก็แตกต่างกันด้วย
ผู้เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่าการชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรต แต่อย่างใด
ในทางตรงกันข้ามกลับถือว่าเป็นการทาบุญด้วยซ้าไป เพราะชื่อว่าบุตรหลานของเปรตตนใดชิงได้
เปรตตนนั้นย่อมได้รับส่วนนั้น
เพียงแต่ว่าผู้ชิงต้องระมัดระวังในการที่อาหารหรือขนมที่ตั้งเปรตอาจตกหลาน ลงพื้น
ซึ่งจะทาให้เกิดความสกปรกและเป็นอันตรายต่อสุขภาพเท่านั้น
พิธีกรรม
การตั้งเปรต และชิงเปรตจะกระทากันในวันที่ยกหมรับไปวัด ไม่ว่าจะเป็นวันแรม ๑ ค่า หรือ แรม ๑๕ ค่า
เดือนสิบ ก็ตาม ผู้ตั้งเปรตจะนาอาหารอีกส่วนหนึ่งไปเพื่อการตั้งเปรตด้วย
อาหารที่ใช้ตั้งเปรตนี้ส่วนมากเป็นอาหารที่บรรพบุรุษที่เป็นเปรตชอบอย่างละ นิดอย่างละหน่อย
ขนมที่ไม่ขาดคือ ขนมลา ขนมพอง ขนมบ้า ขนมเบซา(ดีซา) นอกจากขนมดังกล่าวแล้ว
ยังมีของแห้งที่ใช้เป็นเสบียงกรังก็จัดฝากไปด้วย เช่นข้าวสาร หอม กระเทียม พริก เกลือ กะปิ น้าตาล
น้าปลา กล้วย อ้อย มะพร้าว ด้าย เข็มเย็บผ้า ธูปเทียน นาลงจัดในหมรับ
โดยเอาของแห้งรองก้นและอยู่ภายใน ส่วนขนมทั้งหลายอยู่ชั้นนอก
ปิดคลุมด้วยผืนลาทาเป็นรูปเจดีย์ยอดแหลม หรือรูปอื่นแล้วแต่การประดิษฐ์ของผู้จัด ส่วนภาชนะที่ใช้
แต่เดิมนิยมใช้กระเชอหรือถาด นาหมรับ
ที่จัดแล้วไปวัด รวมกันตั้งไว้บน "ร้านเปรต" ซึ่งสร้างไว้กลางวัดยกเสาสูง ต่อมาในระยะหลัง ๆ
ร้านเปรตทาเป็นศาลา หลังคามุงจากหรือมุงกระเบื้องแล้วแต่ฐานะของวัด บางถิ่นจึงเรียก "หลาเปรต"
บนร้านเปรตจะมีสายสิญจน์วงล้อมไว้รอบและต่อยาวไปจนถึงพระสงฆ์ที่นั่งอยู่ใน วิหารที่เป็นที่ทาพิธีกรรม
โดยสวดบังสุกุลอัฐิหรือกระดาษเขียนชื่อของผู้ตาย ซึ่งบุตรหลายนามารวมกันในพิธีต่อหน้าพระสงฆ์
บุตรหลานจะกรวดน้าอุทิศส่วนบุญไปยังเปรตชนที่เป็นบรรพบุรุษ เมื่อเสร็จพิธีแล้ว เก็บสายสิญจน์ ขนมต่าง
ๆ จะถูกแบ่งออกส่วนหนึ่ง พร้อมกับของแห้งไว้ถวายพระ อีกส่วนหนึ่งให้เปรตชนที่พอมีกาลังเข้ามาเสพได้
ในขณะเดียวกันผู้ที่มาร่วมทาบุญทั้งหนุ่มสาว เฒ่าแก่และโดยเฉพาะเด็ก ๆ
จะเข้าไปรุมกันแย่งขนมที่ตั้งเปรตด้วยความสนุกสนาน เชื่อกันว่า
การแย่งขนมเปรตที่ผ่าการทาพิธีแล้วนี้จะได้กุศลแรง เป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว
และยังเชื่อกันต่อไปว่าขนมเหล่านี้ถ้านาไปหว่านในสวนในนา จะทาให้พืชผลอุดมสมบูรณ์เพิ่มผลผลิตสูง
โดยเฉพาะขนมเทียน บางแห่งนาไปติดไว้ตามต้นไม้ผลเพื่อให้มีผลดก หลังจากนั้น ก็มักมีผู้ใจบุญโปรยทาน
โดยใช้เหรียญสตางค์โดยไปที่ละมากเหรียญ ตรงไปยังฝูงชน ที่เรียกว่า "หว่านกาพรึก"
แย่งกันอย่างนุกสนาน
การแข่งโพน
ช่วงเวลา
ปลายเดือนสิบ ก่อนประเพณีชักพระ
ความสาคัญ
วัดต่าง ๆ เตรียมทาบุษบก หุ้มโพน และเริ่มการคุมโพนเพื่อเป็นการประกาศให้ชาวบ้านรู้ว่า
ทางวัดจะจัดให้มีการชักพระ ต่อมามีการโต้เถียงเกี่ยวกับเสียงโพน จึงคิดเล่นสนุกสนานมากขึ้น
มีการท้าพนันกันบ้างว่า ผู้ตีโพนคนใดเรี่ยวแรงดีที่สุด ลีลาท่าทางการตีดีที่สุด โพนวัดใดเสียงดังมากที่สุด
จึงมีการแข่งขันตีโพนกันขึ้น ในระยะ แรก ๆ เข้าใจว่า
คงตีแข่งขันภายในวัดและค่อยขยายออกมาภายนอกวัด เพิ่มจานวนโพนขึ้น จัดประเภทและมีกติกามากขึ้น
การคิดเล่นสนุกสนานเหล่านี้ ทาให้มีการแข่งโพนกันอย่างกว้างขวางในระยะหลัง
และกลายเป็นประเพณีท้องถิ่นที่สืบต่อกันมา ปัจจุบันการแข่งโพนเป็น
กิจกรรมการละเล่นที่สาคัญของจังหวัดพัทลุง
พิธีกรรม
การแข่งโพนแบ่งได้เป็น ๒ อย่าง คือ
๑. แข่งมือ ตัดสินให้ผู้ตีที่มีกาลังมือดีกว่าเป็นฝ่ายชนะ โดยให้ตีจนผู้ใดอ่อนล้าก่อนเป็ นฝ่ายแพ้
ปัจจุบันไม่นิยมเพราะทาให้เสียเวลามาก
๒. แข่งเสียง ตัดสินให้โพนที่มีเสียงดังกว่าเป็นฝ่ายชนะ
การแข่งขันจะเป็นแบบพบกันหมดหรือแพ้คัดออกก็ได้ จับสลากแข่งขันเป็นคู่ ๆ ใช้ผู้ตีฝ่ายละ ๑ คน
กรรมการ ๓ - ๕ คน ตัดสินให้คะแนน โดยอยู่ห่างจากสถานที่ตีไม่น้อยกว่า ๑๕๐ เมตร ณ สถานที่ตี
กรรมการควบคุมการตีและคุมเวลา เรียกคู่โพนเข้าประจาที่ ลองตีก่อนฝ่ายละประมาณ ๓๐ วินาที
เพื่อดูว่าโพนฝ่ายใดมีเสียงทุ้ม และโพนฝ่ายใดมีเสียงแหลม
จากนั้นเริ่มให้ทั้งคู่ตีพร้อมกันภายในเวลาที่กาหนด ซึ่งโดยมากจะใช้เวลา ๑๐ - ๑๕ นาที
ขณะที่โพนกาลังตีแข่งขันอยู่นั้น
กรรมการฟังเสียงทั้งหมดจะตั้งใจฟังเสียงโพนแล้วตัดสินให้โพนที่มีเสียงดัง กว่าเป็นฝ่ายชนะ
โดยถือเอาเสียงข้างมากของกรรมการเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน
ประเพณีการเดินเต่า
ช่วงเวลา
เวลาที่เต่าทะเลหลายชนิดขึ้นมาวางไข่บนหาด เมื่อถึงฤดูวางไข่คือประมาณ เดือน ๑๑ แรม ๑ ค่า
ราวปลายเดือนตุลาคม หรือต้นเดือนพฤศจิกายน ไปจนถึงเดือน ๔ ราว ๆต้นเดือนกุมภาพันธ์
ส่วนก่อนหรือหลังเวลาที่ว่ามานี้มีบ้างเล็กน้อย
ความสาคัญ
ประเพณีการเดินเต่า คือการเดินหาเต่าทะเลที่ขึ้นมาวางไข่บนหาดทราย
ซึ่งแหล่งที่มีการเดินเต่าทางภาคใต้นั้นมีหลายแหล่ง
โดยเฉพาะบริเวณที่มีเต่าทะเลขึ้นมาวางไข่คือบริเวณชายฝั่ง แถวฝั่งทะเลด้านตะวันตก
หรือชายฝั่งทะเลอันดามัน ได้แก่ทางตะวันตกของจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นหาดทรายที่มีความยาวโดยตลอดร่วม
๑๐๐ กิโลเมตร ซึ่งในบริเวณชายฝั่งทะเลนั้น จะมีเต่าทะเลหลายชนิดขึ้นมาวางไข่บนหาดทราย
เมื่อถึงฤดูวางไข่ ชนิดของเต่าทะเลที่ขึ้นมาวางไข่ตามชายฝั่งตะวันตกนี้มีหลายชนิด
ซึ่งชาวบ้านเรียกกันหลายชื่อได้แก่ เต่ากระ เต่าเฟือง เต่าเล็ก เต่าหางยาว เป็นต้น
ในแต่ละปีเต่าทะเลแต่ละชนิดจะขึ้นมาวางไข่ ๔ ครั้ง
การวางไข่ของเต่าทะเลนั้นมีนิสัยที่แปลกประหลาดและน่าสนใจกว่าสัตว์อื่น ๆ
ตรงที่จะขึ้นมาวางไข่ประจาที่หรือประจาหาด ทั้ง ๆที่ทะเลนั้นกว้างใหญ่ไพศาล เป็นต้นว่าเต่าทะเลตัวใด
ที่ขึ้นมาวางไข่ที่หาดไหนคราวต่อไปก็ขึ้นมาวางไข่ตรงที่หาดนั้นทุกครั้งไป เป็นประจาทุกปี
อาจยกเว้นว่าบางครั้งมันอาจขึ้นมาพบคนรบกวนก็อาจต้องเปลี่ยนไปที่หาดอื่น บริเวณใกล้ ๆ กัน
เนื่องจากลักษณะของเต่าทะเลพิศดารอย่างนี้ ชาวบ้านในสมัยก่อนจึงสามารถเก็บไข่เต่าได้
โดยอาศัยความทรงจาของเต่าให้เป็นประโยชน์ เพราะว่าเต่าทะเลแต่ละตัวหากขึ้นวางไข่ที่ใดแล้ว
หลังจากนั้นไปเป็นเวลา ๑ สัปดาห์ หรือ ๒ สัปดาห์ เต่าตัวเดิมนี้ จะขึ้นมาวางไข่อีกที่หาดเดิม
แต่ตาแหน่งที่คลานขึ้นมาวางไข่จะห่างจากที่เคยขึ้นวางไข่ครั้งก่อนราว ๑๐-๒๐ เมตร
อาจเป็นเพราะว่ามันกลัวจะไปขุดถูกหลุมไข่ที่เคยวางไว้แล้ว ก็เป็นได้
ส่วนเวลาไหนนั้นชาวบ้านจะต้องคานวณโดยการนับน้าว่าวันที่ครบกาหนดวางไข่นั้น
เป็นวันข้างขึ้นหรือแรมกี่ค่า ก็พอรู้ได้ว่าเวลาเท่าไรที่น้าขึ้นครึ่งฝั่งน้าลงครึ่งฝั่ง ซึ่งเป็นเวลาที่เต่าขึ้นวางไข่
จากนั้นก็สามารถเอาตะกร้าไปรอรับไข่เต่าได้ถูกต้องโดยไม่ต้องเดินไปเดินมา
และไม่ต้องเสียเวลาหาหลุมไข่เต่าในตอนหลัง เช่นครั้งที่ ๑ ขึ้นมาวางไข่ในแรม ๘ ค่า เดือน ๑๑
ครั้งต่อไปก็จะขึ้นวางอีกในวันแรม ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ (หลังจากครั้งก่อน ๗ วัน)
หรืออาจไม่ขึ้นมาวางไข่ในวันดังกล่าวนี้ ก็จะขึ้นมาวางไข่ในวันขึ้น ๗ ค่าเดือน ๑๒ (หลังจากครั้งก่อน ๑๔
วัน) จากปากคาของชาวบ้านที่เคยได้สัมปทานไข่เต่าหรือเรียกกันในภาษาเดิมว่า "ผูกเต่า"
บอกว่าใช้วิธีนี้ทาให้ไม่ต้องเดินให้เมื่อยเลย
อาจจนอนอยู่ที่บ้านแล้วพอถึงเวลาที่คานวณไว้ก็ค่อยเดินไปนั่งรอที่จุดนั้น ๆได้
และมักจะถูกต้องเสมอทุกคราวไป
แต่ในปัจจุบันนี้ ประเพณีการเดินเต่าไม่มีแล้ว
เพราะว่าประชาชนในท้องถิ่นได้ร่วมมือกันอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้าชายฝั่งทะเล อันดามัน ได้แก่เต่าทะเล
เป็นต้น ถ้าบุคคลใดฝ่าฝืนใน ถือเป็นการทาผิดกฎหมายถูกดาเนินคดีทางกฎหมายได้
พิธีกรรม
ประเพณีการเดินเต่าจะทากันในตอนกลางคืน ซึ่งเริ่มตั้งแต่พลบค่าจนสว่าง สาหรับคนรุ่นใหม่ๆ
นั้นหากไม่ค่อยมีความรู้ ก็อาจเดินหาตามความยาวของหาดทราย ระยะทางหลายกิโลเมตร โดยไม่เจอไข่เต่า
แม้แต่หลุมเดียว (หลุมรัง) ก็เป็นได้ แต่สาหรับคนรุ่นก่อน ๆ นั้นมีเคล็ดในการหาไข่เต่าหลายอย่าง อย่างแรก
คือเวลาที่เต่าจะขึ้นมาวางไข่ เต่าจะขึ้นมาวางไข่เมื่อไหร่นั้นให้ดูได้คือ
๑. ให้ดูดาวเต่า ดาวเต่านี้จะประกอบด้วยดาวหลายดวงซึ่งคนที่ชานาญจะมองเห็นเป็นรูปเต่า
ตาแหน่งที่ดาวเต่าเริ่มหันหัวลงทางทิศตะวันตก คือดาวเต่าเริ่มคล้อยลง (คล้าย ๆ กับดวงอาทิตย์ตั้งแต่เวลา
๑๙.๐๐ นาฬิกาเป็นต้นไป) เมื่อดาวเต่าหันหัวลงทะเลก็เป็นเวลาที่เดินเต่าได้
คนโบราณเชื่อว่าเต่าจะขึ้นมาวางไข่เวลานี้
๒. ให้ดูน้า หมายถึงน้าทะเลขึ้นลงนั่นเอง หากว่าน้าขึ้นครึ่งฝั่ง หรือน้าลงครึ่งฝั่ง
ก็เป็นเวลาที่เต่าทะเลจะขึ้นมาวางไข่ ไม่ปรากฏว่าเต่าทะเลขึ้นมาขณะน้าลดน้าขึ้นมา
ดังนั้น เต่าทะเลก็มีกาหนดเวลาขึ้นวางไข่ในเวลาที่ไม่ซ้ากัน ขึ้นอยู่กับว่าเป็นวันข้างขึ้นหรือข้างแรม
กี่ค่าที่ทาให้น้าขึ้นลงเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ
อาหารพื้นบ้านภาคใต้
อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ สืบเนื่องจากดินแดนภาคใต้
เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายของพ่อค้าจากอินเดีย จีนและชวาในอดีต ทาให้วัฒนธรรม
ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดียใต้
ซึ่งเป็นต้นตารับในการใช้เครื่องเทศปรุงอาหารได้เข้ามามีอิทธิพลอย่างมาก
อาหารพื้นบ้านภาคใต้ทั่วไป มีลักษณะผสมผสานระหว่างอาหารไทยพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้ เช่น
น้าบูดู ซึ่งได้มาจากการหมักปลาทะเลสดผสมกับเม็ดเกลือ และมีความคล้ายคลึงกับอาหารมาเลเซีย
อาหารของภาคใต้จึงมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอื่น ๆ
และด้วยสภาพภูมิศาสตร์อยู่ติดทะเลทั้งสองด้านมีอาหารทะเลอุดมสมบูรณ์ แต่สภาพอากาศร้อนชื้น
ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและเครื่องจิ้มจึงมีรสจัด ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น
ป้องกันการเจ็บป่วยได้อีกด้วย
เนื้อสัตว์ที่นามาปรุงเป็นอาหารส่วนมากนิยมสัตว์ทะเล เช่นปลากระบอก ปลาทู ปูทะเล กุ้ง หอย
ซึ่งหาได้ในท้องถิ่น อาหารพื้นบ้านของภาคใต้ เช่นแกงเหลือง แกงไตปลา
นิยมใส่ขมิ้นปรุงอาหารเพื่อแก้รสคาว เครื่องจิ้มคือน้าบูดู
อาหารของภาคใต้จะมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอื่นๆ แกงที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ คือ แกงเหลือง แกงไตปลา
เครื่องจิ้มก็คือ น้าบูดู และชาวใต้ยังนิยมนาน้าบูดูมาคลุกข้าวเรียกว่า
"ข้าวยา" มีรสเค็มนาและมีผักสดหลายชนิดประกอบ อาหารทะเลสดของภาคใต้มีมากมาย ได้แก่
ปลาหอยนางรม และกุ้งมังกร เป็นต้น
อาหารไทยภาคใต้
อาหารของภาคใต้จะมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอื่นๆ แกงที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ คือ แกงเหลือง แกงไตปลา
เครื่องจิ้มก็คือ น้าบูดู และชาวใต้ยังนิยมนาน้าบูดูมาคลุกข้าวเรียกว่า
"ข้าวยา" มีรสเค็มนาและมีผักสดหลายชนิดประกอบ อาหารทะเลสดของภาคใต้มีมากมาย ได้แก่
ปลาหอยนางรม และกุ้งมังกร เป็นต้น
เม็ดเหรียง เป็นคาเรียกของคนภาคใต้ มีลักษณะคล้ายถั่วงอกหัวโต แต่หัวและหางใหญ่กว่ามาก สีเขียว
เวลาจะรับประทานต้องแกะเปลือกซึ่งเป็นสีดาออกก่อน จะนาไปรับประทานสดๆ
หรือนาไปผัดกับเนื้อสัตว์ หรือนาไปดองรับประทาน
กับแกงต่างๆ หรือกับน้าพริกกะปิ หรือ กับหลนก็ได้
ลูกเนียง มีลักษณะกลม เปลือกแข็งสีเขียวคล้าเกือบดา ต้องแกะเปลือกนอก แล้วรับประทานเนื้อใน ซึ่ง
มีเปลือกอ่อนหุ้มอยู่ เปลือกอ่อนนี้จะลอกออกหรือไม่ลอกก็ได้แล้วแต่ความชอบ ใช้รับประทานสดๆ
กับน้าพริกกะปิ หลนแกงเผ็ด โดยเฉพาะแกงไตปลา ลูกเนียงที่แก่จัดใช้ทาเป็นของหวานได้
โดยนาไปต้มให้สุกแล้วใส่มะพร้าวทึนทึกขูดฝอย และน้าตาลทรายคลุกให้เข้ากัน
ฝักสะตอ มีลักษณะเป็นฝักยาว สีเขียว เวลารับประทานต้องปอกเปลือกแล้วแกะเม็ดออก
ใช้ทั้งเม็ดหรือนามาหั่น ปรุงอาหารโดยใช้ผัดกับเนื้อสัตว์หรือใส่ในแกง
นอกจากนี้ยังใช้ต้มกะทิรวมกับผักอื่นๆ หรือใช้เผาทั้งเปลือกให้สุก แล้วแกะเม็ดออกรับประทานกับน้าพริก
หรือจะใช้สดๆ โดยไม่ต้องเผาก็ได้ ถ้าต้องการเก็บไว้นานๆ ควรดองเก็บไว้
ผัดสะตอใส่กะปิ
แกงไตปลา
แกงเหลือง
ข้าวยา
น้า
พ
ริกระกา
ไก่ต้มขมิ้น
ยาบัวบก
การแต่งกายประจาภาคใต้
การแต่งกายภาคใต้ ภาคนี้มีการแต่งกายต่างกันตามเชื้อชาติ ถ้าเชื้อสายจีนจะแต่งแบบจีน ถ้าเป็นชาวมุสลิม
ก็จะแต่งคล้ายกับชาวมาเลเซีย
ปัจจุบันแหล่งทาผ้าแบบดั้งเดิมนั้นเกือบจะสูญหายไป คงพบได้เฉพาะ 4แหล่งเท่านั้นคือ ที่ตาบลพุมเรี้ยง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี , อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช , เกาะยอ จังหวัดสงขลา และตาบลนาหมื่นศรี
จังหวัดตรัง
การแต่งกายของชาวใต้
การแต่งกายนั้นแตกต่างกันในการใช้วัสดุ และรูปแบบโดยมีเอกลักษณ์ไปตามเชื้อชาติ
ของผู้คนอันหลากหลายที่เข้ามาอยู่อาศัยในดินแดนอันเก่าแก่แห่งนี้พอจาแนกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ดังนี้
1. กลุ่มเชื้อสายจีน –มาลายู เรียกชนกลุ่มนี้ว่ายะหยา หรือ ยอนย่า เป็นกลุ่มชาวจีน
เชื้อสายฮกเกี๊ยนที่มาสมรสกับชนพื้นเมืองเชื้อสายมาลายู ชาวยะหยาจึงมีการแต่งกายอันสวยงาม
ที่ผสมผสาน รูปแบบของชาวจีนและมาลายูเข้าด้วยกันอย่างงดงาม ฝ่ายหญิงใส่เสื้อฉลุลายดอกไม้
รอบคอ,เอว และปลายแขนอย่างงดงาม นิยมนุ่งผ้าซิ่นปาเต๊ะ ฝ่ายชายยังคงแต่งกาย คล้ายรูปแบบจีนดั้งเดิมอยู่
2. กลุ่มชาวไทยมุสลิม ชนดั้งเดิม ของดินแดนนี้นับถือศาสนาอิสลาม และมีเชื้อสายมาลายู
ยังคงแต่งกายตามประเพณี อันเก่าแก่ฝ่ายหญิงมีผ้าคลุมศีรษะ ใส่เสื้อผ้ามัสลิน
หรือลูกไม้ตัวยาวแบบมลายูนุ่งซิ่นปาเต๊ะ หรือ ซิ่นทอแบบมาลายู ฝ่ายชายใส่เสื้อคอตั้ง สวมกางเกงขายาว
และมีผ้าโสร่งผืนสั้น ที่เรียกว่า ผ้าซองเก็ต พันรอบเอวถ้าอยู่ บ้านหรือลาลองจะใส่โสร่ง
ลายตารางทอด้วยฝ้าย และสวมหมวกถักหรือ เย็บด้วยผ้ากามะหยี่
3. กลุ่มชาวไทยพุทธ ชนพื้นบ้าน แต่งกายคล้ายชาวไทยภาคกลาง ฝ่ายหญิงนิยมนุ่งโจงกระเบน หรือ
ผ้าซิ่นด้วย ผ้ายกอันสวยงาม ใส่เสื้อสีอ่อนคอกลม แขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายนุ่งกางเกงชาวเล หรือ
โจงกระเบนเช่นกัน สวมเสื้อผ้าฝ้ายและ มีผ้าขาวม้าผูกเอว หรือพาดบ่าเวลาออกนอกบ้านหรือไปงานพิธี
กลับหน้า
ภาษาไทยถิ่นใต้
ภาษาไทยถิ่นใต้
ภาษาไทยถิ่นใต้ เป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย
นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14จังหวัดและบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขั
นธ์ อีกทั้งบางหมู่บ้านในรัฐกลันตัน รัฐปะลิสและรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย
ภาษาไทยถิ่นใต้มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉพาะ
พูดใน: ภาคใต้ของประเทศไทย
จานวนผู้พูด: 5,000,000 คน
ตระกูลภาษา: ไท-กะได, คา-ไท, บี-ไท, ไท-แสก, ไท, ไทตะวันตกเฉียงใต้, ไทใต้, ภาษาไทยถิ่นใต้
อักษรเขียน: ไม่มีอักษรเขียน
สาเนียงย่อย
ภาษาไทยถิ่นใต้แยกออกเป็น 3กลุ่ม คือ
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก (สาเนียงนครศรีธรรมราช)
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดกันมากทางฝั่งตะวันออกของปักษ์ใต้
บริเวณจังหวัด นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี (อาเภอโคกโพธิ์, อาเภอแม่ลาน, อาเภอหนองจิก
และ อาเภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้านควนขนุน บ้านตาน้า,ในรัฐเคดาห์-บ้านทางควาย
บ้านบาลิ่ง ) ภาษาไทยถิ่นใต้ที่ใช้ในกลุ่มนี้ จะมีลักษณะของภาษาที่คล้ายคลึงกัน (ตรัง และสตูล
แม้จะตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันตก แต่สาเนียงภาษา ถือเป็นกลุ่มเดียวกับพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คือ
ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ได้ชัดเจน)
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก
ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดกระบี่ พังงาภูเก็ต
ระนอง สุราษฎร์ธานี และชุมพร ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดเหล่านี้
จะมีลักษณะเด่นที่คล้ายคลึงกัน เช่นออกเสียงคาว่า แตก เป็น แตะ ดอกไม้ เป็น เดาะไม้สามแยก เป็น
สามแยะ ฯลฯ (สาเนียงนครศรีธรรมราช กลุ่มฉวาง พิปูน ทุ่งใหญ่ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขาหลวง
ก็อยู่ในกลุ่มนี้ ส่วนจังหวัดชุมพร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี แม้จะตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันออก
แต่สาเนียงภาษาถือเป็นกลุ่มเดียวกับจังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต คือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ไม่ได้)
ภาษาถิ่นใต้สาเนียงสงขลา
ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงสงขลา ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดสงขลา
ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงเจ๊ะเห
ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงเจ๊ะเห ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดปัตตานี (เฉพาะ อาเภอยะหริ่ง อาเภอปะนาเระ
และอาเภอสายบุรี) รวมทั้งในเขตรัฐกลันตันของมาเลเซีย ในหมู่บ้านที่พูดภาษาไทย
จะใช้ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงเจ๊ะเห
ในเขตจังหวัดนราธิวาส เนื่องมีคนในจังหวัดอื่นๆ มาอาศัยหรือทางานในจังหวัดนราธิวาส
จึงนาภาษาไทยถิ่นใต้ของแต่ละจังหวัดมาพูดกันในจังหวัดนราธิวาส
ส่วนใหญ่จะเป็นคนไทยถิ่นใต้จากจังหวัดพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คนนราธิวาส
จึงมีภาษาไทย2 สาเนียง คือ ภาษาไทยถิ่นใต้ สาเนียง เจ๊ะเห และสาเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก
ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียง เจะเห มักพูดกันในกลุ่มเครือญาติ หรือตามชนบทของนราธิวาส
แต่ในเมืองมักจะพูดสาเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก
ตัวอย่างคาศัพท์
พืช ผักผลไม้
มะม่วงหิมพานต์ = กาหยู (เทียบอังกฤษ cashew) , กาหยี (ใช้มากในแถบ ภูเก็ต พังงา
คานี้เข้าใจว่าคนใต้ฝั่งตะวันตกจะรับมาจากฝรั่งโดยตรง ) , ยาร่วง, ย่าโห้ย, ย่าหวัน, หัวครก
(ใช้มากแถบพัทลุง สงขลา) , ม่วงเล็ดล่อ, ท้ายล่อ
ชมพู่ = ชมโพ่แก้ว, น้าดอกไม้, ชมโพ่น้าดอกไม้
ฝรั่ง = ชมโพ่ยาหมู่หย้ามู้(คานี้มาจาก jambu ในภาษามลายู )
ฟักทอง = น้าเต้า
ฟัก = ขี้พร้า
ขมิ้น = ขี้หมิ้น
ตะไคร้ = ไคร
พริก = ดีปลี โลกแผ็ด ลูกเผ็ด
ข้าวโพด = คง (คานี้มาจาก jagong ในภาษามลายู )
มะละกอ = ลอกอ
สับปะรด = หย่านัด (คานี้ ใช้ทั่วไปทั้งภาคใต้ บางครั้งจะออกเสียงเป็นหย่าน-หัด; คา
นี้เข้าใจว่าคนใต้รับมาจากฝรั่งโดยตรง โดยฝรั่ง รับมาจากภาษาอินเดียนแดงแถบบราซิล
ซึ่งเรียกพันธุ์ไม้ชนิดนี้ว่า อนานัส เมื่อถ่ายทอดเสียงมาถึงปักษ์ใต้ จึงกลายเป็น หย่านัด) มะ-
หลิ (คานี้ใช้มากในเขตจังหวัดพัทลุง อาเภอรัตภูมิ อาเภอสทิงพระ และอาเภอระโนด
ของจังหวัดสงขลา)
ดอกมะลิ = ดอกมะเละ (เสียง อิ แปลงเป็นเสียง เอะ)
แตงโม = แตงจีน
ตาลึง = ผักหมึง
รสสุคนธ์ = เถากะปด (ประจวบคีรีขันธ์), ย่านปด, ปดคาย
หม้อข้าวหม้อแกงลิง = หม้อลิง
ละมุด = ซ่าว้า (คานี้ใช้เฉพาะในเขตสงขลาสตูล พัทลุง มาจาก sawa ในภาษามลายู) หม่าซี้กู๊
(ใช้เฉพาะเขตพังงาตะกั่วป่า)
ผลไม้ที่มีคาว่า"มะ" นาหน้า (บางคา) จะเปลี่ยนเป็น "ลูก" เช่นมะม่วง-ลูกม่วง, มะนาว-ลูกนาว, มะขาม-
ลูกขาม, มะเขือ-ลูกเขือ เป็นต้น
ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวมักมีคาว่า "ส้ม" นาหน้า เช่น มะขาม-ส้มขาม, มะนาว-ส้มนาว เป็นต้น
คาทั่วไป
เป็นไงบ้าง/อย่างไรบ้าง = พรือมัง, พันพรือม, พันพรือมัง (สงขลา จะออกเสียงว่า ผรื่อ เช่นว่าผรื่อ =
ว่าอย่างไร)
ตอนนี้ ปัจจุบัน = หวางนี่ (คานี้ใช้ในภาษาถิ่นใต้ทั่วไป) , แหละนี่ (คานี้จะใช้เฉพาะในเขตอาเภอจะนะ
อาเภอนาทวี อาเภอเทพา อาเภอสะบ้าย้อย ของจังหวัดสงขลา และอาเภอโคกโพธิ์
จังหวัดปัตตานี)
โง่ =โม่, โบ่
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้

More Related Content

What's hot

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์Moll Kim
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 

What's hot (20)

วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 

Viewers also liked

ประเพณีและวัฒนธรรม Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม  Tarประเพณีและวัฒนธรรม  Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม TarDos Zaa
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้tonsocial
 
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3tanarak
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okPatpong Lohapibool
 
Nvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haur
Nvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haurNvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haur
Nvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haureakaratkk
 
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideasคำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing IdeasWorawisut Pinyoyang
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3Prachyanun Nilsook
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
ปกรายงานแห่นางแมว
ปกรายงานแห่นางแมวปกรายงานแห่นางแมว
ปกรายงานแห่นางแมวPam2203
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (20)

ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
ประเพณีและวัฒนธรรม Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม  Tarประเพณีและวัฒนธรรม  Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม Tar
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
 
Nvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haur
Nvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haurNvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haur
Nvd x msaz3ilsttzn5sp7qrj4ev63dklaw9tubqi7hbkojx0o5djn1grqxmb8haur
 
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideasคำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
คำนำและคำนิยม หนังสือ Marketing Ideas
 
Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ปกรายงานแห่นางแมว
ปกรายงานแห่นางแมวปกรายงานแห่นางแมว
ปกรายงานแห่นางแมว
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to ประเพณีภาคใต้

ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3aoysumatta
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวArinrada Jabthong
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาRujruj
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวArinrada Jabthong
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...Earn Supeerapat
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templateMai Lovelove
 
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6Nothern Eez
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงSasimapornnan
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 
ม.1 ประวัติ SB บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdf
ม.1 ประวัติ  SB  บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdfม.1 ประวัติ  SB  บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdf
ม.1 ประวัติ SB บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdfAchawin2063
 
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxKamontip Jiruksa
 

Similar to ประเพณีภาคใต้ (20)

ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนา
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-template
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
 
112547
112547112547
112547
 
ม.1 ประวัติ SB บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdf
ม.1 ประวัติ  SB  บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdfม.1 ประวัติ  SB  บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdf
ม.1 ประวัติ SB บทที่ 4 แหล่งอารยธรรม (T.OxiJane).pdf
 
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
 

ประเพณีภาคใต้

  • 1. เรื่อง ศิลปวัฒนธรรมไทยของภาคใต้และภาคตะวันออก จัดทาโดย อาจารย์ ณัฐธภัคร หมื่อนอภัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัย เทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ คานา รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้เด็กรุ่นหลังได้ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี อาหรา เครื่องแต่งกาย ภาษาท้องถิ่น วรรณกรรม ศิลปะพื้นบ้าน สถาปัตยกรรม หัตกรรม ของภาคใต้และภาคตะวันออก ภาคตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้และอัญมณีของประเทศ ภาคใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ทางใต้ของประเทศถัดลงไปจากบริเวณภาคตะวั นตก (หรือภาคกลางขึ้นอยู่กับการจัดแบ่งของแต่ละหน่วยงาน) ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า ประเพณีภาคใต้ 1 อาหารประจาภาคใต้ 16 เครื่องแต่งกายประจาภาคใต้ 23 ภาษาท้องถิ่นภาคใต้ 24 วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 29 ศิลปะพื้นบ้านของภาคใต้ 30 สถาปัตยกรรมของภาคใต้ 36 หัตกรรมท้องถิ่นของภาคใต้ 43 ประเพณีภาคตะวันออก 48 อาหารประจาภาคตะวันออก 53 เครื่องแต่งกายประจาภาคตะวันออก 54 ภาษาท้องถิ่นภาคภาคตะวันออก 55 วรรณกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก 56 ศิลปะพื้นบ้านของภาคตะวันออก 57 สถาปัตยกรรมของภาคตะวันออก 59 หัตกรรมท้องถิ่นของภาคตะวันออก 60
  • 3. ประเพณีภาคใต้ ประเพณีลอยเรือ ความสาคัญ ประเพณีลอยเรือเป็นประเพณีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษดั้งเดิมของชาวอูรักลาโวย ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกระบี่และจังหวัดใกล้เคียง เมื่อถึงเวลาที่กาหนดสมาชิกในชุมชนและญาติพี่น้องที่แยกย้ายถิ่นไปทามาหากิน ในแถบทะเล และหมู่เกาะต่าง ๆในทะเลอันดามันจะพากันเดินทางกลับมายังถิ่นฐาน เพื่อประกอบพิธีนี้ พิธีกรรม ในวันขึ้น ๑๓ ค่า ช่วงเช้าชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่จะทาพิธี ผู้หญิงจะทาขนม ผู้ชายจะสร้างและซ่อมแซมที่พักชั่วคราว ช่วงเย็น ทั้งหญิงและชายจะไปรวมกันที่ศาลบรรพบุรุษเพื่อนาอาหารเครื่องเซ่นไปเซ่นไหว้ บรรพบุรุษเป็นการบอกกล่าวให้มาร่วมพิธีลอยเรือ เช้าของวันขึ้น ๑๔ ค่า ผู้ชายส่วนหนึ่งเดินทางไปตัดไม้ เพื่อนาไม้มาทาเรือผู้หญิงจะร้องราทาเพลง ในขณะที่รอรับไม้บริเวณชายฝั่ง แล้วขบวนแห่จะแห่ไม้ไปวนรอบศาลบรรพบุรุษเพื่อนากลับมาทาเรือ "ปลาจั๊ก" คืนวันขึ้น ๑๔ ค่า มีพิธีฉลองเรือโดยมีการรารอบเรือ เพื่อถวายวิญญาณบรรพบุรุษโดยใช้ดนตรีและเพลงรามะนาประกอบวงหนึ่งและอีกวงจะ เป็นการราวงแบบสมัยใหม่มีดนตรีชาโดว์ประกอบการร้องรา โต๊ะหมอจะทาพิธีในช่วงเริ่มฉลองเรือและมีพิธีสาดน้าตอนเที่ยงคืน (เลฮฺบาเลฮฺ) และทาพิธีอีกครั้งในช่วงเช้าตรู่วันขึ้น ๑๕ ค่า ก่อนนาเรือไปลอยในทิศทางลมซึ่งแน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝั่ง หลังจากนั้นแยกย้ายกันนอนพักผ่อน บ่ายวันขึ้น ๑๕ ค่า ผู้ชายส่วนหนึ่งแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพื่อทาไม้กันผีสาหรับทาพิธี ฉลองในเวลากลางคืน โดยมีพิธีกรรมเหมือนกับพิธีฉลองเรือทุกประการ จนกระทั่งใกล้จะสว่างโต๊ะหมอจะทาพิธีเสกน้ามนต์ทานายโชคชะตา
  • 4. และสะเดาะเคราะห์ให้สมาชิกที่เข้าร่วมพิธีก่อนจะอาบน้ามนต์ และแยกย้ายกันกลับบ้านโดยนาไม้กันผีไปปักบริเวณรอบหมู่บ้านด้วย ประเพณีลอยเรือเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษอันเกี่ยว เนื่องกับตานานความเชื่อความเป็นมาและวิถีชีวิตทุกอย่างของชาวเลอูรักลาโวย การจัดพิธีฉลองเรือก็เพื่อการสะเดาะเคราะห์ ส่งวิญญาณกลับสู่บ้านเมืองเดิม และการส่งสัตว์ไปไถ่บาป เรือปลาจั๊กที่ทาขึ้นในพิธีลอยเรือ ทาจากไม้ตีนเป็ดและไม้ระกาเป็นสัญลักษณ์ของ "ยาน" ที่จะนาวิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อีกภพหนึ่ง มีชิ้นไม้ระกาที่สลักเสลาอย่างสวยงามเป็นรูปลักษณ์ต่าง ๆ ประดับประดาอยู่ในเรือ รูปนกเกาะหัวเรือ หมายถึง "โต๊ะบุหรง" บรรพบุรุษผู้ซึ่งสามารถห้ามลมห้ามฝน ลายฟันปลา หมายถึง "โต๊ะบิกง" บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม ลายงูหมายถึง "โต๊ะอาโฆะเบอราไตย" บรรพบุรุษที่เป็นงู ฯลฯ ในเรือยังมีตุ๊กตาไม้ระกาทาหน้าที่นาเคราะห์โศกโรคภัยของสมาชิกในแต่ละครอบ ครัวเดินทางไปกับเรือและเครื่องเซ่นต่าง ๆ ที่จะให้วิญญาณบรรพบุรุษนาติดตัวไปยังถิ่นฐานเดิมที่เรียกว่า "ฆูนุงฌึไร" การร่ายราแบบดั้งเดิมผสมผสานกับบทเพลงเก่าแก่และดนตรีรามะนา เป็นส่วนประกอบที่เร้าใจและเป็นการราถวายต่อบรรพบุรุษ ทุกคนที่ราเชื่อว่าจะได้บุญ โต๊ะหมอผู้นาทั้งทางโลกและทางธรรม เชื่อว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับพระผู้เป็นเจ้าและวิญญาณบรรพบุรุษได้ ผู้ที่ผ่านพิธีลอยเรือถือว่าจะเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศกโรคภัยไปหมดแล้ว ชีวิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสุขและโชคดีในการทามาหากิน งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ ความสาคัญ งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชุมชน และเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น โดยเฉพาะการขึ้นโขนชิงธง ที่นายท้ายเรือต้องถือท้ายเรือให้ตรงเพื่อให้นายหัวเรือคว้าธงที่ทุ่นเส้น ชัยโดยการขึ้นโขนเรือ พิธีกรรม การแข่งเรือของอาเภอหลังสวนเริ่มมีครั้งแรกในสมัยพระยาจรูญราชโภคากร เป็นเจ้าเมืองหลังสวน เมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีเศษ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๕(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
  • 5. เป็นการลากพระชิงสายกันในแม่น้า โดยใช้เรือพายเป็นเรือดึงลากแย่งกัน วัด หรือหมู่บ้านใดมีเรือมากฝีพายดี ก็แย่งพระไปได้ อัญเชิญพระไปประดิษฐานไว้ในวัดที่ตนต้องการ มีงานสมโภชอย่างสนุกสนานในตอนกลางคืน รุ่งเช้าถวายสลากภัต ต่อมาสมัยหลวงปราณีประชาชน อามาตย์เอก ได้ดัดแปลงให้มีสัญญาณในการปล่อยเรือโดยใช้เชือกผูกหางเรือคู่ที่จะแข่ง ให้เรือถูกพายไปจนตึงแล้วใช้มีดสับเชือกที่ผูกไว้ให้ขาด ลักษณะของเรือที่ใช้แข่งในปัจจุบันขุดจากไม้ซุง (ตะเคียน) ทั้งต้น ยาวประมาณ ๑๘-๑๙ เมตร มีธงประจาเรือติดอยู่ เรือแข่งจะแบ่งออกเป็น ๒ประเภท คือ ฝีพาย ๓๐ คน และฝีพาย ๓๒ คน ฝีพายจะนั่งกันเป็นคู่ยกเว้นนายหัวกับนายท้าย เรือแต่ละลาจะมีฆ้องหรือนกหวีดเพื่อตีหรือเป่าให้จังหวะฝีพายได้พายอย่าง พร้อมเพรียงกัน รางวัลสาหรับการแข่งขันในสมัยก่อน เรือที่ชนะจะได้รับผ้าแถบหัวเรือ ส่วนฝีพายจะได้รับผ้าขาวม้าคนละผืน ต่อมาเป็นการแข่งขันชิงน้ามันก๊าด เพื่อนาไปถวายวัด เพราะเรือส่วนใหญ่เป็นเรือของวัด และตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ เป็นต้นมา เป็นการแข่งขันเพื่อชิงโล่พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กติกาการปล่อยเรือและการเข้าเส้นชัยมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์ เช่น ในปัจจุบันมีการแบ่งสายน้าโดยการจับสลาก กาหนดระยะทางที่แน่นอน คือ ๕๐๐ เมตร มีเรือเข้าร่วมแข่งขันทั้งเรือในท้องถิ่นจังหวัดชุมพรเอง และเรือจากต่างจังหวัด สถานที่คือวัดด่านประชากร ประเพณีขึ้นถ้าวัดถ้าเขาขุนกระทิง ความสาคัญ ประเพณีขึ้นถ้าเป็นประเพณีที่มีการสืบทอดกันมาแต่อดีต นิยมจัดขึ้นเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรด้วยมีความเชื่อว่าการทานาหรือ กิจกรรมการเกษตรที่ประสบความสาเร็จได้เกิดจากการดลบันดาลของสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย การขึ้นถ้าจึงเป็นพิธีกรรมใช้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมักเป็นพระพุทธรูปของวัดเพื่อแสดงความกตัญญูและเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ แก่ชีวิต พิธีกรรม
  • 6. เปิดให้มีการสักการะ และปิดทองพระพุทธรูปภายในถ้า โดยทางวัดจัดบริการจาหน่ายดอกไม้ ธูป เทียน เพื่อหารายได้ให้วัด อาจมีการจัดมโหสพ เช่นมโนราห์ ควายชน การละเล่นพื้นเมือง และร้านค้าจาหน่ายสินค้าต่าง ๆ ถือศีลกินเจ ช่วงเวลา การถือศีลกินเจของชาวตรังตรงกับวันขึ้น ๑ ค่า ถึง ๙ ค่า เดือน ๙ ของจีน (ตรงกับเดือน ๑๑ ของไทย ช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคมทุกปี) โรงศาลเจ้าทุกโรงจะกาหนดการกินเจพร้อมกัน การประกอบพิธีกรรมจะใช้สถานที่บริเวณโรงศาลเจ้าของแต่ละแห่ง ความสาคัญ พิธีถือศีลกินเจจะเป็นพิธีที่มีความสาคัญดังนี้ ๑. เป็นการบาเพ็ญศีล สมาทานกินเจ บริโภคแต่อาหารผักและผลไม้ เป็นการละเว้นการทาบาป ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต รักษาศีลทาจิตใจให้บริสุทธิ์ งดการเที่ยวเตร่ ไม่ดื่มของมึนเมา ผู้ศรัทธาที่กินเจจะสวมเสื้อผ้าสีขาวและสวดมนต์ทาสมาธิภาวนาแผ่เมตตาจิต ขอพรให้ตนเองและครอบครัว ๒. เป็นการสะเดาะเคราะห์ปัดเป่าความชั่วร้าย โรคภัยไข้เจ็บให้ออกไปจากตัวผู้ที่ถือศีลกินเจ ๓. เกิดความสามัคคีในหมู่ผู้ที่ศรัทธาที่เข้าร่วมพิธีถือศีลกินเจ ต่างก็ยิ้มแย้มเป็นมิตรมีไมตรีต่อกัน มีการบริจาคทรัพย์สาหรับเป็นค่าอาหารและค่าใช้จ่ายในโรงครัว เพื่อให้มีอาหารเพียงพอ มีอาสาสมัครมาช่วยงานทางานครัวเป็นจานวนมาก พิธีกรรม ประเพณีถือศีลกินเจเป็นประเพณีที่มีการผสมผสานของลัทธิความเชื่อต่าง ๆ หลายลัทธิ ได้แก่ลัทธิเต๋า ลัทธิขงจื่อ ลัทธิการนับถือเทวะ และพุทธศาสนานิกายมหายาน การประกอบพิธีกรรม ๑. ก่อนพิธีหนึ่งวัน จะมีการทาความสะอาดศาลเจ้า รมกายาน ไม้หอม และยกเสาธงเต๊งโก ไว้หน้าศาล เพื่ออัญเชิญดวงวิญญาณของเจ้า พอถึงเวลาเที่ยงคืนจะประกอบพิธีอัญเชิญยกอ๋องฮ่องเต้ และกิวอ๋องไตเต้มาเป็นประธานในพิธี พร้อมกับแขวนตะเกียงน้า ๙ ดวง ซึ่งหมายถึงดวงวิญาณขององค์กิวอ๋องไตเต้ เป็นอันว่าพิธีกินเจได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว หลังจากพิธีรับเจ้าเข้ามาเป็นประธานในศาลแล้ว ก็จะทาพิธีวางกาลังทหารรักษาการณ์ตามทิศต่าง ๆ
  • 7. ๒. การเตรียมการกินเจ ผู้ศรัทธาที่จะร่วมถิอศีลกินเจจะทาความสะอาดภาชนะเครื่องใช้ในการประกอบ อาหารให้สะอาดหมดกลิ่นคาว จัดแยกเครื่องใช้ไว้เฉพาะไม่ปะปนกับเครื่องใช้ทั่วไป บางบ้านจะนาภาชนะชุดใหม่มาประกอบอาหารและใส่อาหารเจ บางบ้านจะรับอาหารจากโรงปรุงของศาลเจ้า ๓. พิธีกรรมตลอด ๙ วัน ของการกินเจ มีดังนี้ ๓.๑ พิธีบูชาเจ้า ทาในวันแรก บูชาด้วยเครื่องเซ่นต่าง ๆ ทั้งที่ศาลเจ้า และที่บ้านของผู้ที่กินเจ เมื่อกินเจครบสามวัน ถือว่าผู้กินเจได้ชาระร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ได้สะอาดบริสุทธิ์ ๓.๒ พิธีโขกุ้น เป็นพิธีเลี้ยงทหารที่รักษาการณ์ตามทิศต่าง ๆ จะทาพิธีในวัน ๓ ค่า ๖ ค่า และ ๙ ค่า มีอาหารและเหล้าเซ่นสังเวยเลี้ยงทหาร ๓.๓ พิธีซ้องเก็ง เป็นพิธีการสวดมนต์ พิธีนี้จะเริ่มตั้งแต่องค์กิวอ๋องไตเต้ เข้ามาประทับในศาลและจะกระทากันทุก ๆ วันวันละ ๒ ครั้ง ในตอนเช้าและตอนค่า ๓.๔ พิธีบูชาดาว จะทาในคืนวัน ๗ ค่าเพื่อขอความคุ้มครองให้แก่ผู้กินเจ ในพิธีบูชาดาว จะมีการแจกฮู้ (กระดาษยันต์) เพื่อคุ้มครองผู้กินเจ ๓.๕ พิธีแห่เจ้า (ออกเที่ยว) เป็นพิธีที่เจ้าทั้งหมดออกเยี่ยมลูกหลานตามบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคลและปัดเป่าความชั่วร้าย ศาลเจ้าแต่ละโรงจะออกเยี่ยมไม่พร้อมกัน พิธีนี้จะจัดเป็นริ้วขบวน แห่แหนไปตามถนนสายต่าง ๆ บรรดาชาวบ้านที่จะศรัทธาจะตั้งโต๊ะเครื่องเซ่นไหว้ไว้รับพระและจุดประทัด เมื่อขบวนผ่าน เจ้าองค์ที่เข้าประทับทรงจะแสดงอิทธิฤทธิ์อภินิหารโดยใช้ของมีคม เหล็กแหลม ทิ่มแทงตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ๓.๖ พิธีลุยไฟ เพื่อแสดงอิทธิฤทธิ์ของเจ้า จึงมีการก่อกองไฟให้เป็นถ่านแดงระอุร้อน เจ้าที่เข้าประทับคนทรงจะเข้าไปวิ่งลุยผ่านกองไฟ เพื่อแสดงให้เห็นความบริสุทธิ์และอิทธิฤทธิ์ ผู้ที่ถือศีลกินเจก็จะเข้าไปลุยไฟด้วยเพื่อให้ไฟทิพย์ชาระร่างกายให้ บริสุทธิ์ ๓.๗ พิธีส่งพระ ทากันในวันสุดท้ายของการกินเจ พิธีนี้แบ่งออกเป็น ๒ ภาค คือภาคกลางวันจะส่งเทวดาเง็กเซียนฮ่องเต้ ซึ่งทากันที่เสาธง และภาคกลางคืนจะส่งองค์กิวอ๋องไตเต้ ซึ่งจะทากันตอนเที่ยงคืน โดยผู้กินเจจะเดินไปส่งกันที่ฝั่งน้าเพราะเจ้าจะกลับสวรรค์ทางทะเล และทันทีที่คณะส่งเจ้าออกพ้นประตูศาลไฟทุกดวงจะต้องดับสนิท แล้วปิดประตูใหญ่ รุ่งขึ้นจะลดเสาธง เรียกทหารพร้อมกับเลี้ยงทหารและส่งกลับ เสร็จแล้วก็เปิดประตูใหญ่เมื่อได้ฤกษ์ตามวัน/เวลาที่เจ้าสั่งไว้
  • 8. ประเพณีอาบน้าคนแก่ ช่วงเวลา ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๕ เดือนเมษายน (เดือน ๕) ของทุกปี ซึ่งจะเลือกทาวันไหนก็ได้ จะเป็นตอนเช้า หรือตอนบ่ายเป็นไปตามการนัดหมายของแต่ละครอบครัว แต่ละบ้านโดยนัดหมายสถานที่และวันเวลาไว้ล่วงหน้าเป็นประจาทุกปี ซึ่งอาจเป็นที่บ้านหรือที่วัดก็ได้ตามความเหมาะสม ความสาคัญ ประเพณีอาบน้าคนแก่เป็นวิธีการแสดงออกซึ่งความเคารพนับถือ แก่บิดามารดา และญาติคนแก่(ผู้อาวุโส) ของตระกูล รวมทั้งผู้มีพระคุณและบุคคลที่ตนเคารพนับถือ พิธีกรรม ๑. การขอขมา เมื่อเชิญคนแก่ทั้งหลายนั่งในโรงพิธีเรียบร้อยแล้ว ลูกหลานและชาวบ้านที่มาร่วมพิธี จะรวมกลุ่มยืนอยู่ด้านหน้าของคนแก่ทั้งหลาย ผู้นาในพิธีนาดอกไม้และจุดธูปเทียนพนมมือ แล้วกล่าวขอขมา ทุกคนว่าตามดังนี้ "กายกรรมสาม วจีกรรมสี่ มโนกรรมสาม หากข้าพเจ้าทั้งหลายเกิดประมาทพลาดพลั้งแก่ท่าน ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ต่อหน้าก็ดี ลับหลังก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ขอให้ท่านอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด และขอได้โปรดอานวยพรให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย มีความสุขความเจริญตลอดไป และขอตั้งจิตอธิษฐานขอให้ท่านเจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดไป ๒. พิธีการอาบน้า การอาบน้าเป็นการตักน้ามารดอาบให้คนแก่จนเปียกโชกทั้งตัว ปัจจุบันบางหมู่บ้านได้ปรับเปลี่ยนวิธีการในการอาบน้า มารดน้าที่มือทั้งสองของคนแก่แทนเพราะคนแก่ที่มีอายุมาก มีลูกหลานและผู้ที่เคารพนับถือมาก พิธีการอาบน้าต้องใช้เวลานานจึงแล้วเสร็จ คนแก่เหล่านั้นอาจรู้สึกหนาวสะท้าน ซึ่งเป็นเหตุให้เจ็บป่วยเป็นไข้ได้ ลูกหลานจะเข้าแถวตักน้าที่เตรียมไว้ในโอ่ง มารดที่มือหรือที่ตัวคนแก่ และมอบเครื่องนุ่งห่มเครื่องใช้ให้คนแก่พร้อมกับขอพร คนแก่ก็จะให้พรลูกหลาน การอาบน้าจะทาไปตามลาดับจนครบทุกคน
  • 9. เมื่อเสร็จพิธี ลูกหลานจะนาเสื้อผ้าชุดใหม่มาผลัดเปลี่ยนให้คนแก่ ทาแป้ง หวีผม แต่งตัวให้ เป็นอันเสร็จพิธีการอาบน้า ประเพณีให้ทานไฟ ช่วงเวลา การให้ทานไฟ ส่วนใหญ่จะปฏิบัติในช่วงเดือนยี่ เป็นช่วงเวลาที่อากาศหนาวเย็นที่สุด โดยชาวบ้านจะนัดหมายไปพร้อมกันในเวลาย่ารุ่ง หรือตอนเช้ามืดของวันไหนก็ได้ ความสาคัญ การให้ทานไฟ เป็นการทาบุญเพื่อให้พระภิกษุสงฆ์เกิดความอบอุ่นในตอนเช้ามืดของคืนที่มี อากาศหนาวเย็น โดยใช้ลานวัดเป็นที่ก่อกองไฟแล้วทาขนมถวายพระ ประวัติความเป็นมาของประเพณีให้ทานไฟ กล่าวถึงในขุนทกนิกายชาดก เรื่อง ความตระหนี่ถี่เหนียวของโกลิยะเศรษฐี ที่อยากกินขนมเบื้อง แต่เสียดายเงินไม่ยอมซื้อและไม่อยากให้ลูกเมียได้กินด้วย ภรรยาจึงทาขนมเบื้องที่บ้านชั้นเจ็ดให้เศรษฐีได้รับประทานโดยไม่ให้ผู้ใด เห็น ขณะที่สองสามีภรรยากาลังปรุงขนมเบื้อง พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เชตวันมหาวิหาร ทรงทราบด้วยญาณ จึงโปรดให้พระโมคคัลลานะไปแก้นิสัยของโกลิยะเศรษฐี พระโมคคัคลานะตรงไปบนตึกชั้นเจ็ดของคฤหาสน์เศรษฐี เศรษฐีเข้าใจว่าจะมาขอขนม จึงแสดงอาการรังเกียจและออกวาจาขับไล่ แต่พระโมคคัคลานะพยายามทรมานเศรษฐีอยู่นานจนยอมละนิสัยตระหนี่ พระโมคคัลลานะได้แสดงธรรมเรื่องประโยชน์ของการให้ จนโกลิยะเศรษฐีและภรรยาเกิดความเลื่อมใส ได้นิมนต์มารับถวายอาหารที่บ้านตน พระโมคคัลลานะแจ้งให้นาไปถวายพระพุทธเจ้าและพระสาวก ๕๐๐ รูป ณ เชตวันมหาวิหาร โกลิยะเศรษฐีและภรรบาได้นาเข้าของเครื่องปรุงไปทาขนมเบื้องถวายพระพุทธเจ้า และพระสาวก แต่ปรุงเท่าไหร่แป้งที่เตรียมมาเพียงเล็กน้อยก็ไม่หมด พระพุทธเจ้าจึงโปรดเทศนาสั่งสอน ทั้งสองคนเกิดความปีติอิ่มเอิบในการบริจาคทาน เห็นแจ้งบรรลุธรรมชั้นโสดาบัน พิธีกรรม ๑. การก่อกองไฟ ชาวบ้านจะเตรียมไม้ฟืน ถ่าน หรือเตาไฟ สาหรับก่อให้เกิดความร้อนและความอบอุ่นแก่พระสงฆ์ บางแห่งนิยมใช้ไม้ฟืนหลายอันมาซ้อนกันเป็นเพิงก่อไฟ แล้วนิมนต์พระสงฆ์มานั่งผิงไฟ
  • 10. เพื่อให้เกิดความอบอุ่นทั้งพระสงฆ์และชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ๒. การทาขนมถวายพระ ขนมที่เตรียมไปปรุงที่วัดในการให้ทานไฟเป็นขนมอะไรก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะนิยมขนมที่สามารถปรุงเสร็จในเวลาอันรวดเร็ว ขนมส่วนมากจะปรุงโดยใช้ไฟแรงและเป็นขนมพื้นบ้าน เช่น ขนมเบื้อง ขนมครก ขนมครกข้าวเหนียว ข้าวเกรียบปากหม้อ ขนมโค ขนมพิมพ์ ขนมจาก ชนมจู่จุน ข้าวเหนียวกวนทอด ในปัจจุบันมีขนมและอาหารเพิ่มขึ้นอีกมากมาย เช่นน้าชากาแฟ หมี่ผัด ข้าวต้ม ข้าวเหนียวหลาม ขนมปังปิ้ง ชาวบ้านจะปรุงขนมตามที่เตรียมเครื่องปรุงมา แล้วนาขนมที่ปรุงขึ้นมาร้อน ๆ ไปถวายพระสงฆ์ ขณะที่ทาขนมกันไป พระสงฆ์ก็ฉันไปพร้อม ๆกัน จะหยุดปรุงขนมก็ต่อเมื่อเครื่องปรุงที่เตรียมมาหมด เมื่อพระสงฆ์ฉันอิ่มแล้ว ชาวบ้านจึงร่วมกันรับประทานกันอย่างสนุกสนาน หลังจากพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว ก็สวดให้ศีลให้พรแก่ผู้ที่มาทาบุญเป็นอันเสร็จพิธี ประเพณีลากพระ (ชักพระ) ช่วงเวลา วันลากพระ จะทากันในวันออกพรรษา คือวันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ โดยตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวม วันรุ่งขึ้น แรม ๒ค่า เดือน ๑๑ จึงลากพระกลับวัด ความสาคัญ เป็นประเพณีทาบุญในวันออกพรรษา ปฏิบัติตามความเชื่อว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจาพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนไปรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าประทับบนบุษบกแล้วแห่แหน พิธีกรรม ๑. การแต่งนมพระ นมพระ หมายถึงพนมพระเป็นพาหนะที่ใช้บรรทุกพระลาก นิยมทา ๒ แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า นมพระ ลากพระทางน้า เรียกว่า "เรือพระ" นมพระสร้างเป็นร้านม้า มีไม้สองท่อนรองรับข้างล่าง ทาเป็นรูปพญานาค มีล้อ ๔ ล้ออยู่ใต้ตัวพญานาค ร้านม้าใช้ไม้ไผ่สานทาฝาผนัง ตกแต่งลวดลายระบายสีสวย รอบ ๆประดับด้วยผ้าแพรสี ธงริ้ว ธงสามชาย ธงราว ธงยืนห้อยระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้สดทาอุบะห้อยระย้า มีต้มห่อด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ ตัวพญานาคประดับกระจกแวววาวสีสวย ข้าง ๆ นมพระแขวนโพน กลอง ระฆัง ฆ้อง
  • 11. ด้านหลังนมพระวางเก้าอี้ เป็นที่นั่งของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บนสุดของนมพระ ได้รับการแต่งอย่างบรรจงดูแลเป็นพิเศษ เพราะความสง่าได้สัดส่วนของนมพระขึ้นอยู่กับยอดนม ๒. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ พระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ที่นิยมคือ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ พุทธบริษัทจะสรงน้าพระลากเปลี่ยนจีวร แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนนมพระ แล้วพระสงฆ์จะเทศนาเรื่องการเสด็จไปดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า ตอนเช้ามืดในวันแรม ๑ ค่าเดือน ๑๑ ชาวบ้านจะมาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า ตักบาตรหน้าล้อ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ ในตอนนี้บางวัดจะทาพิธีทางไสยศาสตร์เพื่อให้การลากพระราบรื่น ปลอดภัย ๓. การลากพระ ใช้เชือกแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผู้หญิงและสายผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง เป็นเครื่องตีให้จังหวะเร้าใจในการลากพระ คนลากจะเบียดเสียดกันสนุกสนานและประสานเสียงร้องบทลากพระเพื่อผ่อนแรง ตัวอย่าง บทร้องที่ใช้ลากพระสร้อย : อี้สาระพา เฮโล เฮโล ไอ้ไหรกลมกลม หัวนมสาวสาว ไอ้ไหรยาวยาว สาวสาวชอบใจ ประเพณีตักบาตรธูปเทียน ช่วงเวลา
  • 12. ระยะเวลาของการประกอบพิธีตักบาตรธูปเทียนมีขึ้นในวันแรม ๑ ค่าเดือนแปด เวลาประมาณ ๑๖ นาฬิกา ใช้ลานภายในวัดเป็นสถานที่ตักบาตรธูปเทียน ความสาคัญ เป็นการทาบุญด้วยธูปเทียนและดอกไม้ เนื่องในเทศกาลเข้าพรรษาเพื่อให้พระสงฆ์ที่จาพรรษา ได้นาธูปเทียนใช้บูชาพระรัตนตรัยตลอดพรรษา ๓ เดือน พิธีกรรม วันประกอบพิธีตักบาตรธูปเทียน เป็นวันที่พระสงฆ์เริ่มพิธีเข้าพรรษา พิธีการตักบาตรธูปเทียนจึงเริ่มในตอนบ่าย โดยพระภิกษุสงฆ์และสามเณร ต่างพากันมายืนเรียงแถวในบริเวณลานวัด โดยมีย่ามคล้องแขนทุกรูป เพื่อเตรียมบิณฑบาต เมื่อถึงเวลาบ่ายประมาณ ๑๖ นาฬิกาพุทธศาสนิกชนจะนาธูปเทียน ไม้ขีดไฟ และดอกไม้ มาใส่ย่ามถวายพระสงฆ์เป็นอันเสร็จพิธี ประเพณีสารทเดือนสิบ ช่วงเวลา ระยะเวลาของการประกอบพิธีสารทเดือนสิบมีขึ้นในวันแรม ๑ ค่าถึงแรม ๑๕ ค่า เดือนสิบ แต่วันที่ชาวนครศรีธรรมราชนิยมทาบุญคือวันแรม ๑๓-๑๕ ค่า ความสาคัญ เป็นความเชื่อของพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช ที่เชื่อว่าบรรพบุรุษอันได้แก่ ปู่ย่า ตายาย และญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากทาความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศส่วนกุศลให้แต่ละปีมายังชีพ ดังนั้นในวันแรม ๑ ค่าเดือนสิบ คนบาปทั้งหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์เพื่อมาขอ ส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้อง และจะกลับไปนรกในวันแรม ๑๕ ค่า เดือนสิบ ในโอกาสนี้เองลูกหลานและผู้ยังมีชีวิตอยู่จึงนาอาหารไปทาบุญที่วัด เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที พิธีกรรม พิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบ มีดังนี้ ๑. การจัดหฺมฺรับ
  • 13. เริ่มในวันแรม ๑๓ ค่า ชาวบ้านจะเตรียมซื้ออาหารแห้ง พืชผักที่เก็บไว้ได้นาน ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน และขนมที่เป็นสัญลักษณ์ของสารทเดือนสิบ จัดเตรียมใส่หฺมฺรับ การจัดหฺมฺรับ คือ การบรรจุและประดับด้วยสิ่งของ อาหาร ขนมเดือนสิบลงในภาชนะที่เตรียมไว้ เช่น ถาด กาละมัง เข่ง กระเชอ เป็นต้น ชั้นล่างสุดบรรจุอาหารแห้ง ชั้นสองเป็นพืชผักที่เก็บไว้นาน ชั้นสามเป็นของใช้ในชีวิตประจาวัน ขั้นบนสุด ประดับขนมสัญลักษณ์เดือนสิบ ได้แก่ขนมพอง ขนมลา ขนมบ้า ขนมดีซา ขนมแต่ละชนิดมีความหมายดังนี้ ขนมลา เป็นเสมือนเสื้อผ้าที่ให้บรรพบุรุษใช้นุ่งห่ม ขนมพอง เป็นเสมือนแพที่ให้บรรพบุรุษข้ามห้วงมหรรณพ ขนมกง เป็นเสมือนเครื่องประดับ ใช้ตกแต่งร่างกาย ขนมบ้า เป็นเสมือนเมล็ดสะบ้า ไว้เล่นในวันตรุษสงกรานต์ ขนมดีซา เป็นเสมือนเงินตรา ไว้ให้ใช้สอย ๒. การยกหฺมฺรับ ในวันแรม ๑๔ หรือ ๑๕ ค่า ชาวบ้านจะยกหฺมฺรับที่จัดเตรียมไว้ไปวัด และนาภัตตาหารไปถวายพระด้วย โดยเลือกไปวัดที่อยู่ใกล้บ้านหรือวัดที่บรรพบุรุษของตนนิยมไป ๓. การฉลองหฺมฺรับและบังสุกุล เมื่อนาหมฺรับไปวัดแล้ว จะมีการฉลองหฺมฺรับ และทาบุญเลี้ยงพระเสร็จแล้วจึงมีการบังสุกุล การทาบุญวันนี้เป็นการส่งบรรพบุรุษและญาติพี่น้องให้กลับไปยังเมืองนรก ๔. การตั้งเปรต เสร็จจากการฉลองหมฺรับและถวายภัตตาหารแล้ว ชาวบ้านจะนาขนมอีกส่วนหนึ่งไปวางไว้ตามบริเวณลานวัด ข้างกาแพงวัด โคนไม้ใหญ่เรียกว่า ตั้งเปรต เพื่อแผ่ส่วนกุศลเป็นทานแก่ผู้ล่วงลับที่ไม่มีญาติ หรือญาติไม่มาร่วมทาบุญให้ การชิงเปรตจะทาตอนตั้งเปรตเสร็จแล้ว เพราะเชื่อว่าถ้าหากใครได้กินของเหลือจากการเซ่นไหว้บรรพบุรุษ จะได้รับกุศลเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง บางวัดนิยมสร้างหลาเปรต เพื่อสะดวกแก่การตั้งเปรต บางวัดสร้างหลาเปรตไว้บนเสาสูงเพียงเสาเดียว เกลาและชะโลมน้ามันเสาจนลื่น เมื่อเวลาชิงเปรตผู้ชนะคือผู้ที่สามารถปีนไปถึงหลาเปรตซึ่งต้องใช้ความ พยายามอย่างมาก จึงสนุกสนานและตื่นเต้น
  • 14. ประเพณีการแข่งเรือกอและด้วยฝีพาย ช่วงเวลา ประเพณีการแข่งเรือกอและและเรือยาวด้วยฝีพายหน้าพระที่นั่ง ได้จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี ในระหว่างวันที่ ๒๑-๒๕ กันยายน ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ได้เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับแรม ณ พระตาหนักทักษิณราชนิเวศน์ ความสาคัญ ในการเสด็จแปรพระราชฐานทุกครั้งจะทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในจังหวัดนราธิวาสและ จังหวัดใกล้เคียงทุกหมู่เหล่า ทรงวางโครงการน้อยใหญ่เพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้มีความสงบสุข ร่มเย็นด้วยพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯประชาชนชาวจังหวัดนราธิวาสต่างเห็น พ้องต้องกันว่าสมควรจัดให้มีการแข่งขันเรือกอและอันเป็นประเพณีเก่าแก่ของ ชาวจังหวัดนราธิวาสถวายทอดพระเนตรเพื่อเทิดพระเกียรติในพระมหากรุณาธิคุณอัน ล้นพ้นและเป็นการฟื้นฟูประเพณีการแข่งเรือกอและด้วยฝีพาย หน้าพระที่นั่ง และทรงมีพระบรมราชานุญาตให้จัดการแข่งขันเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๙ อีกทั้งได้พระราชทานถ้วยรางวัลแก่ทีมเรือที่ชนะการแข่งขันด้วย ชิงเปรต ช่วงเวลา วันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๐ และ วันแรม ๑๕ ค่า เดือน ๑๐ ความสาคัญ "ชิงเปรต" เป็นประเพณีของภาคใต้ที่กระทากันในวันสารท เดือน ๑๐ เป็นประเพณีสาคัญที่จัดขึ้นเพื่อทาบุญอุทิศแก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในสารานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานว่า การชิงเปรตที่ปฏิบัติกันในประเพณีสารทเดือน ๑๐ นี้ มีลักษณะคล้ายกับการทิ้งกระจาดของจีน แต่การทิ้งกระจาดของจีนมีเป้าหมายตรงกับการตั้งเปรต-ชิงเปรตเพียงบางส่วน เท่านั้น
  • 15. กล่าวคือการทิ้งกระจาดของจีนเป็นการทิ้งทานให้แก่พวกผีไม่มีญาติ ส่วนการชิงเปรตของไทยเป็นการอุทิศส่วนกุศลไปให้ทั้งผี(เปรต) ที่เป็นญาติพี่น้องของตนเอง และที่ไม่มีญาติด้วย นอกจากนี้วิธีการปฏิบัติในการทิ้งกระจาดและการชิงเปรตก็แตกต่างกันด้วย ผู้เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่าการชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรต แต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามกลับถือว่าเป็นการทาบุญด้วยซ้าไป เพราะชื่อว่าบุตรหลานของเปรตตนใดชิงได้ เปรตตนนั้นย่อมได้รับส่วนนั้น เพียงแต่ว่าผู้ชิงต้องระมัดระวังในการที่อาหารหรือขนมที่ตั้งเปรตอาจตกหลาน ลงพื้น ซึ่งจะทาให้เกิดความสกปรกและเป็นอันตรายต่อสุขภาพเท่านั้น พิธีกรรม การตั้งเปรต และชิงเปรตจะกระทากันในวันที่ยกหมรับไปวัด ไม่ว่าจะเป็นวันแรม ๑ ค่า หรือ แรม ๑๕ ค่า เดือนสิบ ก็ตาม ผู้ตั้งเปรตจะนาอาหารอีกส่วนหนึ่งไปเพื่อการตั้งเปรตด้วย อาหารที่ใช้ตั้งเปรตนี้ส่วนมากเป็นอาหารที่บรรพบุรุษที่เป็นเปรตชอบอย่างละ นิดอย่างละหน่อย ขนมที่ไม่ขาดคือ ขนมลา ขนมพอง ขนมบ้า ขนมเบซา(ดีซา) นอกจากขนมดังกล่าวแล้ว ยังมีของแห้งที่ใช้เป็นเสบียงกรังก็จัดฝากไปด้วย เช่นข้าวสาร หอม กระเทียม พริก เกลือ กะปิ น้าตาล น้าปลา กล้วย อ้อย มะพร้าว ด้าย เข็มเย็บผ้า ธูปเทียน นาลงจัดในหมรับ โดยเอาของแห้งรองก้นและอยู่ภายใน ส่วนขนมทั้งหลายอยู่ชั้นนอก ปิดคลุมด้วยผืนลาทาเป็นรูปเจดีย์ยอดแหลม หรือรูปอื่นแล้วแต่การประดิษฐ์ของผู้จัด ส่วนภาชนะที่ใช้ แต่เดิมนิยมใช้กระเชอหรือถาด นาหมรับ ที่จัดแล้วไปวัด รวมกันตั้งไว้บน "ร้านเปรต" ซึ่งสร้างไว้กลางวัดยกเสาสูง ต่อมาในระยะหลัง ๆ ร้านเปรตทาเป็นศาลา หลังคามุงจากหรือมุงกระเบื้องแล้วแต่ฐานะของวัด บางถิ่นจึงเรียก "หลาเปรต" บนร้านเปรตจะมีสายสิญจน์วงล้อมไว้รอบและต่อยาวไปจนถึงพระสงฆ์ที่นั่งอยู่ใน วิหารที่เป็นที่ทาพิธีกรรม โดยสวดบังสุกุลอัฐิหรือกระดาษเขียนชื่อของผู้ตาย ซึ่งบุตรหลายนามารวมกันในพิธีต่อหน้าพระสงฆ์ บุตรหลานจะกรวดน้าอุทิศส่วนบุญไปยังเปรตชนที่เป็นบรรพบุรุษ เมื่อเสร็จพิธีแล้ว เก็บสายสิญจน์ ขนมต่าง ๆ จะถูกแบ่งออกส่วนหนึ่ง พร้อมกับของแห้งไว้ถวายพระ อีกส่วนหนึ่งให้เปรตชนที่พอมีกาลังเข้ามาเสพได้ ในขณะเดียวกันผู้ที่มาร่วมทาบุญทั้งหนุ่มสาว เฒ่าแก่และโดยเฉพาะเด็ก ๆ จะเข้าไปรุมกันแย่งขนมที่ตั้งเปรตด้วยความสนุกสนาน เชื่อกันว่า การแย่งขนมเปรตที่ผ่าการทาพิธีแล้วนี้จะได้กุศลแรง เป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว และยังเชื่อกันต่อไปว่าขนมเหล่านี้ถ้านาไปหว่านในสวนในนา จะทาให้พืชผลอุดมสมบูรณ์เพิ่มผลผลิตสูง
  • 16. โดยเฉพาะขนมเทียน บางแห่งนาไปติดไว้ตามต้นไม้ผลเพื่อให้มีผลดก หลังจากนั้น ก็มักมีผู้ใจบุญโปรยทาน โดยใช้เหรียญสตางค์โดยไปที่ละมากเหรียญ ตรงไปยังฝูงชน ที่เรียกว่า "หว่านกาพรึก" แย่งกันอย่างนุกสนาน การแข่งโพน ช่วงเวลา ปลายเดือนสิบ ก่อนประเพณีชักพระ ความสาคัญ วัดต่าง ๆ เตรียมทาบุษบก หุ้มโพน และเริ่มการคุมโพนเพื่อเป็นการประกาศให้ชาวบ้านรู้ว่า ทางวัดจะจัดให้มีการชักพระ ต่อมามีการโต้เถียงเกี่ยวกับเสียงโพน จึงคิดเล่นสนุกสนานมากขึ้น มีการท้าพนันกันบ้างว่า ผู้ตีโพนคนใดเรี่ยวแรงดีที่สุด ลีลาท่าทางการตีดีที่สุด โพนวัดใดเสียงดังมากที่สุด จึงมีการแข่งขันตีโพนกันขึ้น ในระยะ แรก ๆ เข้าใจว่า คงตีแข่งขันภายในวัดและค่อยขยายออกมาภายนอกวัด เพิ่มจานวนโพนขึ้น จัดประเภทและมีกติกามากขึ้น การคิดเล่นสนุกสนานเหล่านี้ ทาให้มีการแข่งโพนกันอย่างกว้างขวางในระยะหลัง และกลายเป็นประเพณีท้องถิ่นที่สืบต่อกันมา ปัจจุบันการแข่งโพนเป็น กิจกรรมการละเล่นที่สาคัญของจังหวัดพัทลุง พิธีกรรม การแข่งโพนแบ่งได้เป็น ๒ อย่าง คือ ๑. แข่งมือ ตัดสินให้ผู้ตีที่มีกาลังมือดีกว่าเป็นฝ่ายชนะ โดยให้ตีจนผู้ใดอ่อนล้าก่อนเป็ นฝ่ายแพ้ ปัจจุบันไม่นิยมเพราะทาให้เสียเวลามาก ๒. แข่งเสียง ตัดสินให้โพนที่มีเสียงดังกว่าเป็นฝ่ายชนะ การแข่งขันจะเป็นแบบพบกันหมดหรือแพ้คัดออกก็ได้ จับสลากแข่งขันเป็นคู่ ๆ ใช้ผู้ตีฝ่ายละ ๑ คน กรรมการ ๓ - ๕ คน ตัดสินให้คะแนน โดยอยู่ห่างจากสถานที่ตีไม่น้อยกว่า ๑๕๐ เมตร ณ สถานที่ตี กรรมการควบคุมการตีและคุมเวลา เรียกคู่โพนเข้าประจาที่ ลองตีก่อนฝ่ายละประมาณ ๓๐ วินาที
  • 17. เพื่อดูว่าโพนฝ่ายใดมีเสียงทุ้ม และโพนฝ่ายใดมีเสียงแหลม จากนั้นเริ่มให้ทั้งคู่ตีพร้อมกันภายในเวลาที่กาหนด ซึ่งโดยมากจะใช้เวลา ๑๐ - ๑๕ นาที ขณะที่โพนกาลังตีแข่งขันอยู่นั้น กรรมการฟังเสียงทั้งหมดจะตั้งใจฟังเสียงโพนแล้วตัดสินให้โพนที่มีเสียงดัง กว่าเป็นฝ่ายชนะ โดยถือเอาเสียงข้างมากของกรรมการเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ประเพณีการเดินเต่า ช่วงเวลา เวลาที่เต่าทะเลหลายชนิดขึ้นมาวางไข่บนหาด เมื่อถึงฤดูวางไข่คือประมาณ เดือน ๑๑ แรม ๑ ค่า ราวปลายเดือนตุลาคม หรือต้นเดือนพฤศจิกายน ไปจนถึงเดือน ๔ ราว ๆต้นเดือนกุมภาพันธ์ ส่วนก่อนหรือหลังเวลาที่ว่ามานี้มีบ้างเล็กน้อย ความสาคัญ ประเพณีการเดินเต่า คือการเดินหาเต่าทะเลที่ขึ้นมาวางไข่บนหาดทราย ซึ่งแหล่งที่มีการเดินเต่าทางภาคใต้นั้นมีหลายแหล่ง โดยเฉพาะบริเวณที่มีเต่าทะเลขึ้นมาวางไข่คือบริเวณชายฝั่ง แถวฝั่งทะเลด้านตะวันตก หรือชายฝั่งทะเลอันดามัน ได้แก่ทางตะวันตกของจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นหาดทรายที่มีความยาวโดยตลอดร่วม ๑๐๐ กิโลเมตร ซึ่งในบริเวณชายฝั่งทะเลนั้น จะมีเต่าทะเลหลายชนิดขึ้นมาวางไข่บนหาดทราย เมื่อถึงฤดูวางไข่ ชนิดของเต่าทะเลที่ขึ้นมาวางไข่ตามชายฝั่งตะวันตกนี้มีหลายชนิด ซึ่งชาวบ้านเรียกกันหลายชื่อได้แก่ เต่ากระ เต่าเฟือง เต่าเล็ก เต่าหางยาว เป็นต้น ในแต่ละปีเต่าทะเลแต่ละชนิดจะขึ้นมาวางไข่ ๔ ครั้ง การวางไข่ของเต่าทะเลนั้นมีนิสัยที่แปลกประหลาดและน่าสนใจกว่าสัตว์อื่น ๆ ตรงที่จะขึ้นมาวางไข่ประจาที่หรือประจาหาด ทั้ง ๆที่ทะเลนั้นกว้างใหญ่ไพศาล เป็นต้นว่าเต่าทะเลตัวใด ที่ขึ้นมาวางไข่ที่หาดไหนคราวต่อไปก็ขึ้นมาวางไข่ตรงที่หาดนั้นทุกครั้งไป เป็นประจาทุกปี อาจยกเว้นว่าบางครั้งมันอาจขึ้นมาพบคนรบกวนก็อาจต้องเปลี่ยนไปที่หาดอื่น บริเวณใกล้ ๆ กัน
  • 18. เนื่องจากลักษณะของเต่าทะเลพิศดารอย่างนี้ ชาวบ้านในสมัยก่อนจึงสามารถเก็บไข่เต่าได้ โดยอาศัยความทรงจาของเต่าให้เป็นประโยชน์ เพราะว่าเต่าทะเลแต่ละตัวหากขึ้นวางไข่ที่ใดแล้ว หลังจากนั้นไปเป็นเวลา ๑ สัปดาห์ หรือ ๒ สัปดาห์ เต่าตัวเดิมนี้ จะขึ้นมาวางไข่อีกที่หาดเดิม แต่ตาแหน่งที่คลานขึ้นมาวางไข่จะห่างจากที่เคยขึ้นวางไข่ครั้งก่อนราว ๑๐-๒๐ เมตร อาจเป็นเพราะว่ามันกลัวจะไปขุดถูกหลุมไข่ที่เคยวางไว้แล้ว ก็เป็นได้ ส่วนเวลาไหนนั้นชาวบ้านจะต้องคานวณโดยการนับน้าว่าวันที่ครบกาหนดวางไข่นั้น เป็นวันข้างขึ้นหรือแรมกี่ค่า ก็พอรู้ได้ว่าเวลาเท่าไรที่น้าขึ้นครึ่งฝั่งน้าลงครึ่งฝั่ง ซึ่งเป็นเวลาที่เต่าขึ้นวางไข่ จากนั้นก็สามารถเอาตะกร้าไปรอรับไข่เต่าได้ถูกต้องโดยไม่ต้องเดินไปเดินมา และไม่ต้องเสียเวลาหาหลุมไข่เต่าในตอนหลัง เช่นครั้งที่ ๑ ขึ้นมาวางไข่ในแรม ๘ ค่า เดือน ๑๑ ครั้งต่อไปก็จะขึ้นวางอีกในวันแรม ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ (หลังจากครั้งก่อน ๗ วัน) หรืออาจไม่ขึ้นมาวางไข่ในวันดังกล่าวนี้ ก็จะขึ้นมาวางไข่ในวันขึ้น ๗ ค่าเดือน ๑๒ (หลังจากครั้งก่อน ๑๔ วัน) จากปากคาของชาวบ้านที่เคยได้สัมปทานไข่เต่าหรือเรียกกันในภาษาเดิมว่า "ผูกเต่า" บอกว่าใช้วิธีนี้ทาให้ไม่ต้องเดินให้เมื่อยเลย อาจจนอนอยู่ที่บ้านแล้วพอถึงเวลาที่คานวณไว้ก็ค่อยเดินไปนั่งรอที่จุดนั้น ๆได้ และมักจะถูกต้องเสมอทุกคราวไป แต่ในปัจจุบันนี้ ประเพณีการเดินเต่าไม่มีแล้ว เพราะว่าประชาชนในท้องถิ่นได้ร่วมมือกันอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้าชายฝั่งทะเล อันดามัน ได้แก่เต่าทะเล เป็นต้น ถ้าบุคคลใดฝ่าฝืนใน ถือเป็นการทาผิดกฎหมายถูกดาเนินคดีทางกฎหมายได้ พิธีกรรม ประเพณีการเดินเต่าจะทากันในตอนกลางคืน ซึ่งเริ่มตั้งแต่พลบค่าจนสว่าง สาหรับคนรุ่นใหม่ๆ นั้นหากไม่ค่อยมีความรู้ ก็อาจเดินหาตามความยาวของหาดทราย ระยะทางหลายกิโลเมตร โดยไม่เจอไข่เต่า แม้แต่หลุมเดียว (หลุมรัง) ก็เป็นได้ แต่สาหรับคนรุ่นก่อน ๆ นั้นมีเคล็ดในการหาไข่เต่าหลายอย่าง อย่างแรก คือเวลาที่เต่าจะขึ้นมาวางไข่ เต่าจะขึ้นมาวางไข่เมื่อไหร่นั้นให้ดูได้คือ ๑. ให้ดูดาวเต่า ดาวเต่านี้จะประกอบด้วยดาวหลายดวงซึ่งคนที่ชานาญจะมองเห็นเป็นรูปเต่า ตาแหน่งที่ดาวเต่าเริ่มหันหัวลงทางทิศตะวันตก คือดาวเต่าเริ่มคล้อยลง (คล้าย ๆ กับดวงอาทิตย์ตั้งแต่เวลา ๑๙.๐๐ นาฬิกาเป็นต้นไป) เมื่อดาวเต่าหันหัวลงทะเลก็เป็นเวลาที่เดินเต่าได้ คนโบราณเชื่อว่าเต่าจะขึ้นมาวางไข่เวลานี้
  • 19. ๒. ให้ดูน้า หมายถึงน้าทะเลขึ้นลงนั่นเอง หากว่าน้าขึ้นครึ่งฝั่ง หรือน้าลงครึ่งฝั่ง ก็เป็นเวลาที่เต่าทะเลจะขึ้นมาวางไข่ ไม่ปรากฏว่าเต่าทะเลขึ้นมาขณะน้าลดน้าขึ้นมา ดังนั้น เต่าทะเลก็มีกาหนดเวลาขึ้นวางไข่ในเวลาที่ไม่ซ้ากัน ขึ้นอยู่กับว่าเป็นวันข้างขึ้นหรือข้างแรม กี่ค่าที่ทาให้น้าขึ้นลงเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ อาหารพื้นบ้านภาคใต้ อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ สืบเนื่องจากดินแดนภาคใต้ เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายของพ่อค้าจากอินเดีย จีนและชวาในอดีต ทาให้วัฒนธรรม ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดียใต้ ซึ่งเป็นต้นตารับในการใช้เครื่องเทศปรุงอาหารได้เข้ามามีอิทธิพลอย่างมาก อาหารพื้นบ้านภาคใต้ทั่วไป มีลักษณะผสมผสานระหว่างอาหารไทยพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้ เช่น น้าบูดู ซึ่งได้มาจากการหมักปลาทะเลสดผสมกับเม็ดเกลือ และมีความคล้ายคลึงกับอาหารมาเลเซีย อาหารของภาคใต้จึงมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอื่น ๆ และด้วยสภาพภูมิศาสตร์อยู่ติดทะเลทั้งสองด้านมีอาหารทะเลอุดมสมบูรณ์ แต่สภาพอากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและเครื่องจิ้มจึงมีรสจัด ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ป้องกันการเจ็บป่วยได้อีกด้วย เนื้อสัตว์ที่นามาปรุงเป็นอาหารส่วนมากนิยมสัตว์ทะเล เช่นปลากระบอก ปลาทู ปูทะเล กุ้ง หอย ซึ่งหาได้ในท้องถิ่น อาหารพื้นบ้านของภาคใต้ เช่นแกงเหลือง แกงไตปลา นิยมใส่ขมิ้นปรุงอาหารเพื่อแก้รสคาว เครื่องจิ้มคือน้าบูดู
  • 20. อาหารของภาคใต้จะมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอื่นๆ แกงที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ คือ แกงเหลือง แกงไตปลา เครื่องจิ้มก็คือ น้าบูดู และชาวใต้ยังนิยมนาน้าบูดูมาคลุกข้าวเรียกว่า "ข้าวยา" มีรสเค็มนาและมีผักสดหลายชนิดประกอบ อาหารทะเลสดของภาคใต้มีมากมาย ได้แก่ ปลาหอยนางรม และกุ้งมังกร เป็นต้น อาหารไทยภาคใต้ อาหารของภาคใต้จะมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอื่นๆ แกงที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ คือ แกงเหลือง แกงไตปลา เครื่องจิ้มก็คือ น้าบูดู และชาวใต้ยังนิยมนาน้าบูดูมาคลุกข้าวเรียกว่า "ข้าวยา" มีรสเค็มนาและมีผักสดหลายชนิดประกอบ อาหารทะเลสดของภาคใต้มีมากมาย ได้แก่ ปลาหอยนางรม และกุ้งมังกร เป็นต้น เม็ดเหรียง เป็นคาเรียกของคนภาคใต้ มีลักษณะคล้ายถั่วงอกหัวโต แต่หัวและหางใหญ่กว่ามาก สีเขียว เวลาจะรับประทานต้องแกะเปลือกซึ่งเป็นสีดาออกก่อน จะนาไปรับประทานสดๆ หรือนาไปผัดกับเนื้อสัตว์ หรือนาไปดองรับประทาน กับแกงต่างๆ หรือกับน้าพริกกะปิ หรือ กับหลนก็ได้ ลูกเนียง มีลักษณะกลม เปลือกแข็งสีเขียวคล้าเกือบดา ต้องแกะเปลือกนอก แล้วรับประทานเนื้อใน ซึ่ง มีเปลือกอ่อนหุ้มอยู่ เปลือกอ่อนนี้จะลอกออกหรือไม่ลอกก็ได้แล้วแต่ความชอบ ใช้รับประทานสดๆ
  • 21. กับน้าพริกกะปิ หลนแกงเผ็ด โดยเฉพาะแกงไตปลา ลูกเนียงที่แก่จัดใช้ทาเป็นของหวานได้ โดยนาไปต้มให้สุกแล้วใส่มะพร้าวทึนทึกขูดฝอย และน้าตาลทรายคลุกให้เข้ากัน ฝักสะตอ มีลักษณะเป็นฝักยาว สีเขียว เวลารับประทานต้องปอกเปลือกแล้วแกะเม็ดออก ใช้ทั้งเม็ดหรือนามาหั่น ปรุงอาหารโดยใช้ผัดกับเนื้อสัตว์หรือใส่ในแกง นอกจากนี้ยังใช้ต้มกะทิรวมกับผักอื่นๆ หรือใช้เผาทั้งเปลือกให้สุก แล้วแกะเม็ดออกรับประทานกับน้าพริก หรือจะใช้สดๆ โดยไม่ต้องเผาก็ได้ ถ้าต้องการเก็บไว้นานๆ ควรดองเก็บไว้ ผัดสะตอใส่กะปิ
  • 26. การแต่งกายประจาภาคใต้ การแต่งกายภาคใต้ ภาคนี้มีการแต่งกายต่างกันตามเชื้อชาติ ถ้าเชื้อสายจีนจะแต่งแบบจีน ถ้าเป็นชาวมุสลิม ก็จะแต่งคล้ายกับชาวมาเลเซีย ปัจจุบันแหล่งทาผ้าแบบดั้งเดิมนั้นเกือบจะสูญหายไป คงพบได้เฉพาะ 4แหล่งเท่านั้นคือ ที่ตาบลพุมเรี้ยง จังหวัดสุราษฎร์ธานี , อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช , เกาะยอ จังหวัดสงขลา และตาบลนาหมื่นศรี จังหวัดตรัง การแต่งกายของชาวใต้ การแต่งกายนั้นแตกต่างกันในการใช้วัสดุ และรูปแบบโดยมีเอกลักษณ์ไปตามเชื้อชาติ ของผู้คนอันหลากหลายที่เข้ามาอยู่อาศัยในดินแดนอันเก่าแก่แห่งนี้พอจาแนกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ดังนี้ 1. กลุ่มเชื้อสายจีน –มาลายู เรียกชนกลุ่มนี้ว่ายะหยา หรือ ยอนย่า เป็นกลุ่มชาวจีน เชื้อสายฮกเกี๊ยนที่มาสมรสกับชนพื้นเมืองเชื้อสายมาลายู ชาวยะหยาจึงมีการแต่งกายอันสวยงาม ที่ผสมผสาน รูปแบบของชาวจีนและมาลายูเข้าด้วยกันอย่างงดงาม ฝ่ายหญิงใส่เสื้อฉลุลายดอกไม้ รอบคอ,เอว และปลายแขนอย่างงดงาม นิยมนุ่งผ้าซิ่นปาเต๊ะ ฝ่ายชายยังคงแต่งกาย คล้ายรูปแบบจีนดั้งเดิมอยู่
  • 27. 2. กลุ่มชาวไทยมุสลิม ชนดั้งเดิม ของดินแดนนี้นับถือศาสนาอิสลาม และมีเชื้อสายมาลายู ยังคงแต่งกายตามประเพณี อันเก่าแก่ฝ่ายหญิงมีผ้าคลุมศีรษะ ใส่เสื้อผ้ามัสลิน หรือลูกไม้ตัวยาวแบบมลายูนุ่งซิ่นปาเต๊ะ หรือ ซิ่นทอแบบมาลายู ฝ่ายชายใส่เสื้อคอตั้ง สวมกางเกงขายาว และมีผ้าโสร่งผืนสั้น ที่เรียกว่า ผ้าซองเก็ต พันรอบเอวถ้าอยู่ บ้านหรือลาลองจะใส่โสร่ง ลายตารางทอด้วยฝ้าย และสวมหมวกถักหรือ เย็บด้วยผ้ากามะหยี่ 3. กลุ่มชาวไทยพุทธ ชนพื้นบ้าน แต่งกายคล้ายชาวไทยภาคกลาง ฝ่ายหญิงนิยมนุ่งโจงกระเบน หรือ ผ้าซิ่นด้วย ผ้ายกอันสวยงาม ใส่เสื้อสีอ่อนคอกลม แขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายนุ่งกางเกงชาวเล หรือ โจงกระเบนเช่นกัน สวมเสื้อผ้าฝ้ายและ มีผ้าขาวม้าผูกเอว หรือพาดบ่าเวลาออกนอกบ้านหรือไปงานพิธี กลับหน้า ภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษาไทยถิ่นใต้ เป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14จังหวัดและบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขั นธ์ อีกทั้งบางหมู่บ้านในรัฐกลันตัน รัฐปะลิสและรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย ภาษาไทยถิ่นใต้มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉพาะ พูดใน: ภาคใต้ของประเทศไทย จานวนผู้พูด: 5,000,000 คน ตระกูลภาษา: ไท-กะได, คา-ไท, บี-ไท, ไท-แสก, ไท, ไทตะวันตกเฉียงใต้, ไทใต้, ภาษาไทยถิ่นใต้ อักษรเขียน: ไม่มีอักษรเขียน สาเนียงย่อย ภาษาไทยถิ่นใต้แยกออกเป็น 3กลุ่ม คือ ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก (สาเนียงนครศรีธรรมราช) ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดกันมากทางฝั่งตะวันออกของปักษ์ใต้ บริเวณจังหวัด นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี (อาเภอโคกโพธิ์, อาเภอแม่ลาน, อาเภอหนองจิก และ อาเภอเมือง) ตรัง สตูล (และในรัฐปะลิส-หมู่บ้านควนขนุน บ้านตาน้า,ในรัฐเคดาห์-บ้านทางควาย บ้านบาลิ่ง ) ภาษาไทยถิ่นใต้ที่ใช้ในกลุ่มนี้ จะมีลักษณะของภาษาที่คล้ายคลึงกัน (ตรัง และสตูล
  • 28. แม้จะตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันตก แต่สาเนียงภาษา ถือเป็นกลุ่มเดียวกับพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ได้ชัดเจน) ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดกระบี่ พังงาภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี และชุมพร ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดเหล่านี้ จะมีลักษณะเด่นที่คล้ายคลึงกัน เช่นออกเสียงคาว่า แตก เป็น แตะ ดอกไม้ เป็น เดาะไม้สามแยก เป็น สามแยะ ฯลฯ (สาเนียงนครศรีธรรมราช กลุ่มฉวาง พิปูน ทุ่งใหญ่ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขาหลวง ก็อยู่ในกลุ่มนี้ ส่วนจังหวัดชุมพร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี แม้จะตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันออก แต่สาเนียงภาษาถือเป็นกลุ่มเดียวกับจังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต คือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ไม่ได้) ภาษาถิ่นใต้สาเนียงสงขลา ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงสงขลา ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดสงขลา ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงเจ๊ะเห ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงเจ๊ะเห ได้แก่ภาษาไทยถิ่นใต้ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี (เฉพาะ อาเภอยะหริ่ง อาเภอปะนาเระ และอาเภอสายบุรี) รวมทั้งในเขตรัฐกลันตันของมาเลเซีย ในหมู่บ้านที่พูดภาษาไทย จะใช้ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียงเจ๊ะเห ในเขตจังหวัดนราธิวาส เนื่องมีคนในจังหวัดอื่นๆ มาอาศัยหรือทางานในจังหวัดนราธิวาส จึงนาภาษาไทยถิ่นใต้ของแต่ละจังหวัดมาพูดกันในจังหวัดนราธิวาส ส่วนใหญ่จะเป็นคนไทยถิ่นใต้จากจังหวัดพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช คนนราธิวาส จึงมีภาษาไทย2 สาเนียง คือ ภาษาไทยถิ่นใต้ สาเนียง เจ๊ะเห และสาเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก ภาษาไทยถิ่นใต้สาเนียง เจะเห มักพูดกันในกลุ่มเครือญาติ หรือตามชนบทของนราธิวาส แต่ในเมืองมักจะพูดสาเนียงภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก ตัวอย่างคาศัพท์ พืช ผักผลไม้ มะม่วงหิมพานต์ = กาหยู (เทียบอังกฤษ cashew) , กาหยี (ใช้มากในแถบ ภูเก็ต พังงา คานี้เข้าใจว่าคนใต้ฝั่งตะวันตกจะรับมาจากฝรั่งโดยตรง ) , ยาร่วง, ย่าโห้ย, ย่าหวัน, หัวครก (ใช้มากแถบพัทลุง สงขลา) , ม่วงเล็ดล่อ, ท้ายล่อ ชมพู่ = ชมโพ่แก้ว, น้าดอกไม้, ชมโพ่น้าดอกไม้
  • 29. ฝรั่ง = ชมโพ่ยาหมู่หย้ามู้(คานี้มาจาก jambu ในภาษามลายู ) ฟักทอง = น้าเต้า ฟัก = ขี้พร้า ขมิ้น = ขี้หมิ้น ตะไคร้ = ไคร พริก = ดีปลี โลกแผ็ด ลูกเผ็ด ข้าวโพด = คง (คานี้มาจาก jagong ในภาษามลายู ) มะละกอ = ลอกอ สับปะรด = หย่านัด (คานี้ ใช้ทั่วไปทั้งภาคใต้ บางครั้งจะออกเสียงเป็นหย่าน-หัด; คา นี้เข้าใจว่าคนใต้รับมาจากฝรั่งโดยตรง โดยฝรั่ง รับมาจากภาษาอินเดียนแดงแถบบราซิล ซึ่งเรียกพันธุ์ไม้ชนิดนี้ว่า อนานัส เมื่อถ่ายทอดเสียงมาถึงปักษ์ใต้ จึงกลายเป็น หย่านัด) มะ- หลิ (คานี้ใช้มากในเขตจังหวัดพัทลุง อาเภอรัตภูมิ อาเภอสทิงพระ และอาเภอระโนด ของจังหวัดสงขลา) ดอกมะลิ = ดอกมะเละ (เสียง อิ แปลงเป็นเสียง เอะ) แตงโม = แตงจีน ตาลึง = ผักหมึง รสสุคนธ์ = เถากะปด (ประจวบคีรีขันธ์), ย่านปด, ปดคาย หม้อข้าวหม้อแกงลิง = หม้อลิง ละมุด = ซ่าว้า (คานี้ใช้เฉพาะในเขตสงขลาสตูล พัทลุง มาจาก sawa ในภาษามลายู) หม่าซี้กู๊ (ใช้เฉพาะเขตพังงาตะกั่วป่า) ผลไม้ที่มีคาว่า"มะ" นาหน้า (บางคา) จะเปลี่ยนเป็น "ลูก" เช่นมะม่วง-ลูกม่วง, มะนาว-ลูกนาว, มะขาม- ลูกขาม, มะเขือ-ลูกเขือ เป็นต้น ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวมักมีคาว่า "ส้ม" นาหน้า เช่น มะขาม-ส้มขาม, มะนาว-ส้มนาว เป็นต้น คาทั่วไป เป็นไงบ้าง/อย่างไรบ้าง = พรือมัง, พันพรือม, พันพรือมัง (สงขลา จะออกเสียงว่า ผรื่อ เช่นว่าผรื่อ = ว่าอย่างไร) ตอนนี้ ปัจจุบัน = หวางนี่ (คานี้ใช้ในภาษาถิ่นใต้ทั่วไป) , แหละนี่ (คานี้จะใช้เฉพาะในเขตอาเภอจะนะ อาเภอนาทวี อาเภอเทพา อาเภอสะบ้าย้อย ของจังหวัดสงขลา และอาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี) โง่ =โม่, โบ่